วันเวลาปัจจุบัน 15 ต.ค. 2024, 06:51  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 1 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2011, 20:43 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 1
สมาชิก ระดับ 1
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ธ.ค. 2011, 11:43
โพสต์: 11


 ข้อมูลส่วนตัว


รูปภาพ

http://www.trilakbooks.com/product/451596/จาริกบุญ-จารึกธรรม-จาริกนมัสการและแสดงธรรมกถาณสังเวชนียสถาน.html


เผยแพร่โดย ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ http://www.trilakbooks.com โทร.087-696-7771

จาริกบุญ จารึกธรรมจาริกนมัสการและแสดงธรรมกถา ณ สังเวชนียสถานโดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)

หนังสือทรงคุณค่า โดย ท่านพระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต) แห่งวัดญาณเวศกวัน พิมพ์ครั้งล่าสุด กรกฎาคม 2554 จำนวน


ขนาด 27*20.5 เซนติเมตร

ปกแข็งเย็บกี่

ปั๊มทองทั้งปก

กระดาษ ถนอมสายตา สีครีม กรีนรีด

จำนวน 560 หน้า

ภาพประกอบ สี่สี
สารบัญ ภายในเล่ม

นำจาริกในงานพิมพ์

สารบัญ

ลำดับกาลสังเขป

.............................................................................

จาริกบุญ จารึกธรรม

๑. ย้อนทางเข้าสู่แดนพุทธภูมิ

มองผ่านๆ ข้ามพุทธกาล สู่ยุคอโศก

ชมพูทวีปในพุทธกาล

วัชชีสูญอำนาจ มคธขึ้นเป็นศูนย์อำนาจ

ถ้าไม่ประมาท ก็ไม่เสื่อม

มคธผ่านยุคอโศก

ทรัพย์และอำนาจ สู่ความหมายและคุณค่าใหม่

มาถึงถิ่นพระเจ้าอโศกแล้วต้องรู้ไว้

ศิลาจารึกอโศก เป็นพระเจ้าอโศกมหาราชแน่หรือ

อโศกมหาราช อโศกธรรม

ธรรมวิชัย หลักการใหญ่ที่นำเข้าสู่พุทธธรรม

อโศกธรรม หรือคหัฐวินัย

ดูพุทธพจน์ แล้วอ่านธรรมโองการเทียบ

เทียบกันแล้ว ควรสรุปได้

ความกล้าหาญในทางสันติ

เลิกบูชายัญ เพียงเป็นฐาน สู่ความงอกงามในธรรม



๒. เฝ้าพระพุทธเจ้าถึงที่ประทับ

ราชคฤห์ ศูนย์กลางการเผยแพร่พระพุทธศาสนา

ศรัทะา และปัญญา นำเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า

ธรรมเป็นอิสระจากคน คนถึงธรรม เป็นอิสระจากสังขาร



เอาธรรมไปเป็นหลักประกันชีวิตและสังคมไว้ ให้เจริญอย่างเดียวไม่มีเสื่อม



๓. ความยิ่งใหญ่ที่ทำให้ทั้งเจริญและเสื่อม

พระพุทธศาสนาเกิดขึ้นมาก็เพื่อการศึกษาแก่มวลชน

วัดในพระพุทธศาสนา ต้นกำเนิดมหาวิทยาลัยของโลก

นาลันทา กับความเสื่อมสูญของพระพุทธศาสนาจากอินเดีย

อวสานมาถึง เมื่อทัพมุสลิมเตอร์กลงดาบสุดท้าย

ร่องรอยที่เหลืออยู่ และเค้าการฟื้นฟู หลังหมดสิ้นไปแล้ว

พระพุทธศาสนา ในมือของพุทธบริษัท



๔. หัวใจธรรม จากจุดศูนย์กลาง

ราชคฤห์ ศูนย์อำนาจการเมือง เรื่องที่ร้อน

มาฆบูชา กับหัวใจพระพุทธศาสนา

จากราชคฤห์นั้น เวฬุวันแผ่ความร่มเย็นแห่งมาฆบูชา

สาระของโอวาทปาฏิโมกข์

มาฆบูชา ขึ้นมาเป็นวันสำคัญในพระพุทธศาสนา

หัวใจเดียว แต่มี สี่ห้อง

วิธีอริยสัจ ได้ผลชะงัด ตั้งแต่สอนนักเรียนจนถึงปลุกระดมคน

ละชั่วทำดี ยังไม่พอ ต้องต่อด้วยไม่มีกิเลสเหลืออยู่ในใจ



มาฆบูชา กับ วาเลนไทน์

ความรัก วัดระดับการพัฒนาของคน

ถึงความรักจะดี ก็ไม่พอที่จะเลี้ยงลูกและอภิบาลโลก

มนุษย์กับมนุษย์รักกัน แต่มนุษย์ทุกคนต้องอยู่ให้ดีกับธรรม

ให้รักกับรู้ มาเข้าคู่ดูแล กัน ทั้งโลกจนถึงลูก จะสัขสันต์แท้จริง

มาฆบูชา พัฒนาความรักแห่งวาเลนไน์ และให้ดุลแห่งธรรม



๕. โพธิพฤกษ์ โพธิญาณ

ตรัสรู้ธรรม คือ รู้เรื่องธรรมดา

ตรัสรู้แล้ว จะประกาศธรรมแสนยาก

คนเปิดปากปิดหู ไม่อยากฟังว่าตัวต้องทำอะไร

จากเทพสู่ธรรม ธรรมกำหนดกรรม กรรมเรียกร้องสิกขา



มนุษย์ประเสริฐเพราะเป็นสัตว์ที่ฝึกได้

พระรัตนตรัย ต้องรู้จักใช้ให้เป็นสรณะ

พระรัตนตรัยเป็นยอดสรณะ ที่โยงเราไปยังปัญญา ซึ่งเห็นอริยสัจ

ถ้าคนไม่ประสานกับธรรม

ก็ไม่มีทางแก้ปัญหาชีวิตและสังคม



๖. จุดเรื่อมต้นของแผ่นดินธรรม

ฝนตกใหญ่ ทำให้เวลาน้อย

เรียนได้เพียงที่ทาง และถ้อยคำ

ธรรมจักร ๒ ความหมาย

วัดที่เหลือแต่ซาก

หลักศิลาจารึกอโศก แห่งที่เลื่องชื่อ

เจาบัณฑีสถูป

ธัมมราชิกสถูป

ธัมเมกขสถูป

อิสิปตนมฤคทายวัน ทำไมเป็น สารนาถ

พาราณสี ชื่อนี้ทำไมยืนยงนัก



๗.รักแผ่นดินไทย ให้เป็นแผ่นดินธรรม หน้า 219



๘. ถ้าสังเวช เป็น ก็จะได้เห็นธรรมกาย หน้า 251



๙.ที่ประกาศอิสรภาพของมนุษย์ หน้า 283



๑๐ ทางสายกลาง เพื่อชีวิตสังคมที่สุขสมบูรณ์ หน้า 357



๑๑.รักษาธรรม คือรักษาความเป็นไทย หน้า 427



บทเรียนที่มักถูกลืม

นารายอวตาร

ศิวะอวตาร

ปุษย มิตร- มิหิรกุละ -ศาสางกะ โค่นในระหว่าง

ทัพมุสลิมเตอร์ก ล้างปิดรายการ หน้า 482
รูปภาพ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 1 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 0 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร