วันเวลาปัจจุบัน 05 พ.ค. 2025, 23:07  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


รวมกระทู้จากบอร์ดเก่า http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=2



กลับไปยังกระทู้  [ 13 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 พ.ย. 2009, 23:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




013.jpg
013.jpg [ 37.89 KiB | เปิดดู 3142 ครั้ง ]
อานันตริกสมาธิญาณ



อานันตริกสมาธิญาณเป็นญาน อย่างไร ฯ



ปัญญาในการตัดอาสวะขาดเพราะความบริสุทธิ์แห่งสมาธิ อันเป็นเหตุไม่ฟุ้งซ่าน เป็นอานันตริกสมาธิญาณ


เอกัคคตาจิตอันไม่ฟุ้งซ่านด้วยสามารถแห่งเนกขัมมะเป็นสมาธิญาณ
เกิดขึ้นด้วยสามารถแห่งสมาธินั้น
อาสวะทั้งหลายย่อมสิ้นไปด้วยญาณนั้น
สมถะมีก่อน ญาณมีภายหลัง ด้วยประการดังนี้
ความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ย่อมมีได้ด้วยญาณนั้น

เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า…..
.....ปัญญาในการตัดอาสวะขาด เพราะความบริสุทธิ์แห่งสมาธิอันเป็นเหตุไม่ฟุ้งซ่าน เป็นอานันตริกสมาธิญาณ ฯ

เจริญในธรรมครับ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 พ.ย. 2009, 20:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


คำว่า อาสวา ความว่า อาสวะเหล่านั้นเป็นไฉน?

อาสวะ เหล่านั้น คือ…… กามาสวะ ภวาสวะ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ




ขยายความ...........


อาสวะ ๔ เป็นไฉน ?????

…..อาสวะ ๔ ได้แก่ ………….


๑. กามาสวะ (อาสวะคือกาม)
๒. ภวาสวะ (อาวสวะคือภพ)
๓. ทิฏฐาสวะ (อาสวะคือทิฏฐิ)
๔. อวิชชาสวะ (อาสวะคืออวิชชา)


เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 พ.ย. 2009, 20:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กามาสวะ (อาสวะคือกาม)


กามาสวะ เป็นไฉน…….

…..ความพอใจในกาม
…..ความยินดีในกาม
…..ความเพลิดเพลินในกาม
…..ความ ปรารถนาในกาม
…..ความเยื่อใยในกาม
…..ความเร่าร้อนในกาม
…..ความสยบในกาม
…..ความ หมกมุ่นในกาม


เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 พ.ย. 2009, 20:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ภวาสวะ (อาสวะคือภพ)

ภวาสวะ เป็นไฉน…….

…..ความพอใจในภพ
…..ความยินดีในภพ
…..ความเพลิดเพลินในภพ
…..ความ ปรารถนาในภพ
…..ความเยื่อใยในภพ
…..ความเร่าร้อนในภพ
…..ความสยบในภพ
…..ความ หมกมุ่นในภพ

เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 พ.ย. 2009, 20:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ทิฏฐาสวะ (อาสวะคือทิฏฐิ)

ทิฏฐาสวะ เป็นไฉน

…..ภวทิฏฐิ ความเห็นว่าเกิด เป็นไฉน
…..ความเห็นว่า อัตตาและโลกจักมี
…..วิภวทิฏฐิ ความเห็นว่าไม่เกิด เป็นไฉน
…..ความเห็นว่า อัตตาจักไม่มีและโลกจักไม่มี
…..สัสสตทิฏฐิ ความเห็นว่าเที่ยง เป็นไฉน
…..ความเห็นว่า อัตตาเที่ยงและโลกเที่ยง
…..อุจเฉททิฏฐิ ความเห็นว่าขาดสูญ เป็นไฉน
…..ความเห็นว่า อัตตาจักขาดสูญและโลกจักขาดสูญ
…..อันตวาทิฏฐิ ความเห็นว่ามีที่สุด เป็นไฉน
…..ความเห็นว่า อัตตามีที่สุด และโลกมีที่สุด
…..อนันตวาทิฏฐิ ความเห็นว่าไม่มีที่สุด เป็นไฉน
…..ความเห็นว่า อัตตาไม่มีที่สุด และโลกไม่มีที่สุด
…..ปุพพันตานุทิฏฐิ ความเห็นปรารภส่วนอดีต เป็นไฉน
…..ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ปรารภ ส่วนอดีตเกิดขึ้น
…..อปรันตานุทิฏฐิ ความเห็นปรารภส่วนอนาคต
…..ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ปรารภ ส่วนอนาคตเกิดขึ้น

ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ฯลฯ การถือเอาโดยวิปลาส อันใด มีลักษณะเช่นว่านี้ นี้เรียกว่า ทิฏฐาสวะ
มิจฉาทิฏฐิ แม้ทั้งหมดก็เรียกว่า ทิฏฐาสวะ

เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 พ.ย. 2009, 20:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อวิชชาสวะ (อาสวะคืออวิชชา)

อวิชชาสวะ เป็นไฉน………


…..ความไม่รู้ในทุกข์
…..ความไม่รู้ในทุกขสมุทัย
…..ความไม่รู้ในทุกขนิโรธ
…..ความไม่รู้ในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
…..ความไม่รู้ในส่วนอดีต
…..ความไม่รู้ส่วนอนาคต
…..ความไม่รู้ทั้งส่วนอดีตทั้งส่วนอนาคต
…..ความไม่รู้ในธรรมทั้งหลาย ที่อาศัยกันจึงเกิดมีขึ้นตามหลักอิทัปปัจจยตา

ลิ่ม คือ อวิชชา

อกุศลมูลคือโมหะ นี้เรียกว่า อวิชชาสวะ

เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 พ.ย. 2009, 20:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อาสวะเหล่านี้ย่อมสิ้นไป ณ ที่ไหน………..

ทิฏฐาสวะทั้งสิ้น ….อันเป็นเหตุให้สัตว์ไปสู่อบาย ย่อมสิ้น ไปด้วยโสดาปัตติมรรค
กามาสวะ …..อันเป็นเหตุให้สัตว์ไปสู่อบาย ย่อมสิ้น ไปด้วยโสดาปัตติมรรค
ภวาสวะ …..อันเป็นเหตุให้สัตว์ไปสู่อบาย ย่อมสิ้น ไปด้วยโสดาปัตติมรรค
อวิชชาสวะ …..อันเป็นเหตุให้สัตว์ไปสู่อบาย ย่อมสิ้น ไปด้วยโสดาปัตติมรรค
อาสวะเหล่านี้ย่อมสิ้นไปในขณะแห่ง " โสดาปัตติมรรค"นี้

กามาสวะส่วนหยาบ
ภวาสวะ …..อันตั้งอยู่ร่วมกันกับกามาสวะนั้น ย่อมสิ้นไปด้วยสกทาคามิมรรค
อวิชชาสวะ …..อันตั้งอยู่ร่วมกันกับกามาสวะนั้น ย่อมสิ้นไปด้วยสกทาคามิมรรค
อาสวะเหล่านี้ย่อมสิ้นไปในขณะแห่ง " สกทาคามิมรรค"นี้

กามาสวะทั้งสิ้น
ภวาสวะ …….อันตั้งอยู่ร่วมกันกับกามาสวะนั้น ย่อมสิ้นไปด้วยอนาคามิมรรค
อวิชชาสวะ ……อันตั้งอยู่ร่วมกันกับกามาสวะนั้น ย่อมสิ้นไปด้วยอนาคามิมรรค
อาสวะเหล่านี้ย่อมสิ้นไปในขณะแห่ง " อนาคามิมรรค"นี้

ภวาสวะทั้งสิ้น……..ย่อมสิ้นไปด้วยอรหัตตมรรค
อวิชชาสวะทั้งสิ้น…..ย่อมสิ้นไปด้วยอรหัตตมรรค
อาสวะเหล่านี้ย่อมสิ้นไปในขณะแห่ง" อรหัตตมรรค "นี้

เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 พ.ย. 2009, 16:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เอกัคคตาจิตอันไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสมาธิ แต่ละอย่างๆ ดังนี้ …………

…..ด้วยสามารถแห่งความไม่พยาบาท
…..ด้วยสามารถแห่งความไม่เบียดเบียน
…..ด้วยสามารถแห่งการออกจากกาม
…..ด้วยสามารถแห่งการออกจากเรือน
…..ด้วยสามารถแห่งอาโลกสัญญา
…..ด้วยสามารถแห่งความไม่ฟุ้งซ่าน
…..ด้วยสามารถแห่งการกำหนดธรรม
…..ด้วยสามารถแห่งญาณ
…..ด้วยสามารถแห่งความปราโมทย์



เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 พ.ย. 2009, 16:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เอกัคคตาจิตอันไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสมาธิ แต่ละอย่างๆ ดังนี้ ……(ต่อ)

…..ด้วยสามารถแห่งปฐมฌาน
…..ด้วยสามารถแห่งทุติยฌาน
…..ด้วยสามารถแห่งตติยฌาน
…..ด้วยสามารถแห่งจตุตถฌาน
…..ด้วยสามารถแห่งอากาสานัญจายตนสมาบัติ
…..ด้วยสามารถแห่งวิญญาณัญจายตนสมาบัติ
…..ด้วยสามารถ แห่งอากิญจัญญายตนสมาบัติ
…..ด้วยสามารถแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ



เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 พ.ย. 2009, 16:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เอกัคคตาจิตอันไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสมาธิ แต่ละอย่างๆ ดังนี้

…..ด้วยสามารถแห่งปฐวีกสิณ
…..ด้วยสามารถแห่งอาโปกสิณ
…..ด้วยสามารถแห่งเตโชกสิณ
…..ด้วยสามารถแห่งวาโยกสิณ
…..ด้วยสามารถแห่งนีลกสิณ
…..ด้วยสามารถแห่งปีตกสิณ
…..ด้วยสามารถแห่งโลหิตกสิณ
…..ด้วยสามารถแห่งโอทาตกสิณ
…..ด้วยสามารถ แห่งอากาสกสิณ
…..ด้วยสามารถแห่งวิญญาณกสิณ



เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 พ.ย. 2009, 16:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เอกัคคตาจิตอันไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสมาธิ แต่ละอย่างๆ ดังนี้ …(ต่อ)…

…..ด้วยสามารถแห่งพุทธานุสสติ
…..ด้วยสามารถแห่งธรรมานุสสติ
…..ด้วยสามารถแห่งสังฆานุสสติ
…..ด้วยสามารถแห่งสีลานุสสติ
…..ด้วยสามารถแห่งจาคานุสสติ
…..ด้วยสามารถแห่งเทวตานุสสติ
…..ด้วยสามารถแห่งอานาปานสติ
…..ด้วยสามารถแห่งมรณสติ
…..ด้วยสามารถแห่งกายคตาสติ
…..ด้วยสามารถแห่งอุปสมานุสสติ


เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 พ.ย. 2009, 16:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เอกัคคตาจิตอันไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสมาธิ แต่ละอย่างๆ ดังนี้ …(ต่อ)…

…..ด้วยสามารถแห่งอุทธุมาตกสัญญา
…..ด้วยสามารถแห่งวินีลกสัญญา
…..ด้วยสามารถแห่งวิปุพพกสัญญา
…..ด้วยสามารถ แห่งวิฉิททกสัญญา
…..ด้วยสามารถแห่งวิกขายิตกสัญญา
…..ด้วยสามารถแห่งวิกขิตตกสัญญา
…..ด้วยสามารถแห่งหตวิกขิตตกสัญญา
…..ด้วยสามารถแห่งโลหิตกสัญญา
…..ด้วยสามารถแห่งปุฬุวกสัญญา
…..ด้วยสามารถแห่งอัฏฐิกสัญญา



เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 พ.ย. 2009, 16:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เอกัคคตาจิตอันไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสมาธิ แต่ละอย่างๆ ดังนี้

…..ด้วยสามารถแห่งการหายใจออกยาว
…..ด้วยสามารถแห่งการหายใจเข้ายาว
…..ด้วยสามารถแห่งการหายใจออกสั้น
…..ด้วยสามารถแห่งการหายใจเข้าสั้น
…..ด้วยสามารถแห่งความเป็นผู้รู้แจ้งกองลมทั้งปวงหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งความ เป็นผู้รู้แจ้งกองลมทั้งปวงหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งความระงับกายสังขารหาย ใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งความระงับกายสังขารหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งความรู้แจ้งปีติหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งความรู้แจ้งปีติหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งความรู้แจ้งสุขหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งความรู้แจ้งสุขหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งความรู้แจ้งจิตตสังขารหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งความรู้แจ้งจิตตสังขารหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งความระงับจิตตสังขารหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งความระงับจิตตสังขารหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งความรู้แจ้งจิตหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งความรู้แจ้งจิตหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งความทำจิตให้บันเทิงหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งความทำจิตให้บันเทิงหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งความตั้งจิตไว้หายใจออก
…..ด้วยสามารถ แห่งความตั้งจิตไว้หายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งความเปลื้องจิตหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งความเปลื้องจิตหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งการพิจารณาเห็นความไม่เที่ยงหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งการพิจารณาเห็นความไม่เที่ยงหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งการพิจารณาเห็นความคลายกำหนัดหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งการพิจารณาเห็นความคลายกำหนัดหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งการพิจารณาเห็นความดับหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งการพิจารณาเห็นความดับหายใจเข้า
…..ด้วยสามารถแห่งการพิจารณาเห็นความสละคืนหายใจออก
…..ด้วยสามารถแห่งการพิจารณาเห็นความสละคืนหายใจเข้า

ญาณย่อมเกิดขึ้นด้วยสามารถ แห่งสมาธินั้น
อาสวะทั้งหลายย่อมสิ้นไปด้วยญาณนั้น
สมถะมีก่อน ญาณมีภาย หลัง

ด้วยประการดังนี้ ความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลายย่อมมีได้ด้วยญาณนั้น
เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาในการตัดอาสวะขาดเพราะความบริสุทธิ์ แห่งสมาธิอันเป็นเหตุไม่ฟุ้งซ่าน เป็นอานันตริกสมาธิญาณ

เจริญในธรรมครับ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 13 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร