วันเวลาปัจจุบัน 16 ก.ค. 2025, 21:50  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


“อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย”



กลับไปยังกระทู้  [ 3 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ก.พ. 2023, 14:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8576


 ข้อมูลส่วนตัว




Lotus-PNG-HD.png
Lotus-PNG-HD.png [ 390.49 KiB | เปิดดู 885 ครั้ง ]
(คาถานี้ถามถึงความดับของรูปนาม พร้อมทั้งสติและปัญญาที่หยั่งเห็นรูปนามตามความเป็น
จริงว่า สภาวธรรมทั้งหมดนั้นดับไปในสภาวะใด สรุปความว่าคาถานี้ถามถึงพระนิพพานที่เป็นสภาวะ
ดับรูปนามทั้งหมด จัดเป็นปัญหาเดียว เพราะถามถึงสิ่งเดียวคือพระนิพพาน]

"ยเมตํ ปญหํ อปุจฺฉิ อชิต ตํ วทามิ เต
ยตฺถ นามญฺจ รูปญฺจ อเสสํ อุปรุชุฌติ
วิญฺญาณสุส นิโรเธน เอตฺเถตํ อุปรุชฺฌตี"ติ.

[พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า] ดูกรอชิตะ เธอถามปัญหาว่า รูปนาม
ย่อมดับไปโดยสิ้นเชิง ณ ที่ใด เราจะบอกสภาวะที่ดับของรูปนามนั้นแก่
เธอ รูปนามนั้นย่อมดับไป ณ ที่นั้น เพราะความดับแห่งวิญญาณ"

(คำว่า เอตฺถ (ณ ที่นั้น) มิไช่แสคงว่าพระนิพพานเป็นภูมิอย่างหนึ่งในภูมิ ๓๑ แต่มุ่งแสดง
ว่ารูปนามทั้งหมดย่อมดับไปในขณะที่วิญญาณดับ กล่าวคือ วิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดรูปนาม เมื่อ
วิญญาณดับ รูปนามก็คับ เมื่อไม่มีปฏิสนธิวิญญาณ รูปนามในภพอื่นย่อมเกิดขึ้นไม่ได้ ดัง
พจน์ว่า วิญฺญาณปจฺจยา นามรูปํ (นามรูปย่อมมีเพราะวิญญาณเป็นปัจจัย)

ความจริงแล้วปฏิสนธิวิญญาณเหมือนเมล็ดพืช กรรมเหมือนนา ส่วนตัณหาที่พอใจในภพ
เหมือนความชุ่มชื้น ทั้งสามอย่างนี้เป็นเหตุให้เหล่าสัตว์ถือปฏิสนธิในกพต่างๆ ตังพระพุทธพจน์ใน
อังคุตตรนิกายว่า
อิติ โข อานนฺท กมฺมํ เขตฺตํ. วิญฺญาณํ พีชํ. ตณฺหา เสุนโห."
"ดูกรอานนท์ เหตุนี้แล ดูกรอานนท์ เหตุนี้แล กรรมจึงชื่อว่าเป็นไร่นา วิญญาณชื่อว่าเป็น
เมล็ดพืช ตัณหาชื่อว่าเป็นความชุ่มชื้นๆ

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ก.พ. 2023, 15:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8576


 ข้อมูลส่วนตัว


"อชิตมาณพนี้ย่อมถามอนุสนธิ (ข้อความที่กำลังถามอยู่) (อันสืบเนื่องมาจากปัญหา
ก่อน
ถามว่า : เมื่อถามอนุสนธิ ชื่อว่าย่อมถามอะไร
ตอบว่า : ถามความดับกิเลสที่ไม่มีขันธ์เหลืออยู่
อนึ่ง สัจจะ ๓ คือ ทุกข์ สมุทัย และมรรค เป็นสังขตธรรม (ธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่ง)
และมีสภาพคับไป ส่วนนิโรธเป็นอสังขตธรรม (ธรรมที่ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง)
ในสัจจะเหล่านั้น สมุทัยย่อมถูกละในภูมิธรรม ๒ ประการ คือ ทัสสนภูมิ [โสดา-
ปัตติมรรด] และภาวนาภูมิ (มรรคเบื้องบน ๓]
สังโยชน์ ๓ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และสีลัพพดปรามาส ย่อมถูกละด้วยโสดา-
ปัตติมรรค
สังโยชน์ ๗ คือ กามฉันทะ พยาบาท รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และ
อวิชชาที่เหลือ ย่อมถูกละด้วยมรรดเบื้องบน ๓
สังโยชน์ ๑๐. เหล่านี้อันเป็นส่วนเบื้องต่ำ ๕ (ปรากฎในกามภูมิเป็นส่วนเบื้องบน ๕
(ปรากฎในรูปภูมิและอรูปภูมิ] มีอยู่ในโลกธาตุ ๓ [กามธาตุ รูปธาตุ และอรูปธาตุ"
(ข้อความนี้แสดงถึงปฏิปทาแห่งการบรรลุอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ซึ่งเป็นสภาพตับรูปนาม
ทั้งหมดว่าคืออริยสัจ ๔ จำแนกเป็น
๑. สังขดธรรม ธรรมที่ถูกปรุงแต่งโคยปัจจัยในอดีตคืออวิชชา สังขาร เป็นตัน
และปัจจัยในปัจจุบันคือกรรม จิต อุตุ และอาหาร ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย และมรรค

เนติปกรณ์
น. ๑๑๑

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ก.พ. 2023, 15:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8576


 ข้อมูลส่วนตัว




Lotus-PNG-HD.png
Lotus-PNG-HD.png [ 511.74 KiB | เปิดดู 874 ครั้ง ]
๒. อสังขตธรรม ธรรมที่ไม่ถูกปังจัยในอดีตและปังจุบันปรุงแต่ง คือ นิโรธ
ในบรรดาอริยสัง ๔ เหลานี้ สมุทยสัจเป็นธรามที่ควรละ (ปหาตัพพธรรม) จำแนกเป็น ๒
ประเภท คือ
๑. สมุทยสัจที่ควรละด้วยโสตาปัตติมรรค คือ ตัณหาที่ให้ไปเกิดในอบายภูมิ ละได้ด้วยโสตา-
ปัตติมรรค พระโสดาบันผู้ละตัณทานี้ให้จึงไมไปเกิดในอบายภูมิ
๒. สมุทยสัจที่ควรละด้วยมรรดเบื้องบน ๓ คือ
ก. ตันหาหยาบที่เป็นการเสพเมถุน ละได้ด้วยสกทาคามิมรรค พระสกทาคามีผู้ละตัณหา
นี้แล้วจึงไม่เสพเมถุน
ข. ตัณหาละเอียดที่เป็นความพอใจในกามราคะ ละได้ด้วยอนาคามิมรรค พระอนาคามิ
ผู้ละคัณหานี้แล้วจึงไปเกิดในพรหมโลกชั้นสุทธาวาสเป็นส่วนใหญ่ ไม่ไปเกิดไนกามาวจะภูมิ
ค. ตัณหาละเอียดที่เป็นความพอใจใหรูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทชัจจะ และอวิชชา
ละไค้ตัวยอรหัตตมรรค พระอรหันต์จึงไม่เกิดอีก เพราะละความพอใจในภพทั้งปวง

คำว่า สังโยชน์ แปลตามศัพท์ว่า เครื่องผูกไว้เสมอ" หมายถึง ผูกเหล่าสัตว์ไว้ในกหพงมอ
มิให้พ้นไปจากภพได้ โดย สํ อุปสรรคใน ส่โยชน มีความหมายว่า สพฺพทา (ในกาลทั้งปวง, เสมอ)

ดังคัมภีร์เนตติฎีกาอธิบายว่า
ส์โยชนวเสนาติ สพุพทา โยชนวเสน พนธนวเสน "
คำว่า สัโยชนวเสน แปลว่า โดยการผูกไว้ในเสมอ"
สังโยชน์ ๑๐ ซึ่งผูกเหล่าสัตว์ไว้ในกพ ๓ คือ กามาพ รูปภพ และอรูปกพ ละได้ด้วยมรรค
๒ ประเภท คือ
๑. โสดาปัตติมรรค ละสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และลีลัพพดปรามาส
๒. มรรคเบื้องบน ๓ ละกามฉันทะ พยาบาท รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ

สังโยชน์เหล่านี้จำแนกเป็น ๒ ประเภท คือ
๑. โอรัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ คือ ทำให้เกิดไนภูมิเบื้องต่ำคือกามกูมิ
หรือพึงละด้วยมรรคเบื้องต่ำ ๓ ได้แก่ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส กามราคะ และปฏิฆะ
๒. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องสูง คือ ทำให้เกิดไนภูมิเบื้องสูงคือรูปภูมิและ
อรูปภูมิ หรือพึงละด้วยอหัตตมรรค ได้แก่ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชธา
และอวิชชา]

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 3 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร