วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 18:48  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 70 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ย. 2019, 17:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
คคห.กราบพระสามครั้งก็เป็นวิธีหนึ่ง อีกวิธีหนึ่ง ซึ่งลึกลงไปถึงตัวจิตใจเลย โดยใช้พระพุทธรูปนั้นเป็นสิ่งให้จิตยึดให้จิตเกาะ

อ้างคำพูด:
"คนไม่มีศิลป์ทำเพชรให้เป็นขยะ คนมีศิลปะทำขยะให้เป็นเพชร" ... "คนโลภ ใช้พุทธศิลป์ได้เพียงแค่อุปกรณ์หาทรัพย์ คนมีปัญญาถึงระดับ ใช้พุทธศิลป์เป็นอุปกรณ์ดำเนินถึงพระนฤพาน"


รูปภาพ


ตามหลักนี้

ฌานสมาบัติทั้งหลาย นอกจากจะเป็นพื้นฐานที่ดีในการปฏิบัติเพื่อบรรลุนิพพานแล้ว บางครั้งท่านยังเรียกเป็นนิพพานโดยปริยาย คือ โดยอ้อม หรือโดยความหมายบางแง่บางด้านอีกด้วย เช่น มีพุทธพจน์ตรัสเรียก ฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ และสัญญาเวทยิตนิโรธ แต่ละอย่างๆ ว่าเป็นตทังคนิพพาน บ้าง ทิฏฐธรรมนิพพาน บ้าง สันทิฏฐิกนิพพาน บ้าง เช่น ข้อความในบาลีว่า

"ภิกษุผู้สงบจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม ฯลฯ เข้าถึงปฐมฌาน แม้เท่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า เป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยปริยาย ฯลฯ

"ภิกษุก้าวล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึงสัญญาเวทยิตนิโรธอยู่ เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอก็หมดสิ้นไป แม้เพียงเท่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า เป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยนิปริยาย "

ผู้ที่กำลังเจริญวิปัสสนา มองเห็นขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีอันจะต้องผันแปรไปเป็นธรรมดา ละความโศกเศร้าเป็นต้นเสียได้ หมดความร่านรนกระวนกระวาย อยู่เป็นสุข ท่านก็เรียกว่าเป็นผู้ตทังคนิพพาน

มีพุทธพจน์น่าสนใจแห่งหนึ่ง ตรัสว่า คนที่ถูกราคะ โทสะ โมหะ ครอบงำ ย่อมคิดในทางที่จะทำตนเองให้ลำบากเดือดร้อนบ้าง ทำคนอื่นให้ลำบากเดือดร้อนบ้าง ทำทั้งตนเองและผู้อื่นให้ลำบากเดือด ร้อนทั้งสองฝ่ายบ้าง ย่อมเสวยทุกขโทมนัสทางใจบ้าง ครั้นเขาละราคะ โทสะ โมหะ ได้แล้ว เขาก็ไม่คิดในทางที่จะทำตนเองหรือทำผู้อื่น หรือทั้งสองฝ่ายให้ลำบากเดือดร้อน ไม่ต้องเสวยทุกขโทมนัสทางใจ อย่างนี้แหละเป็นสันทิฏฐิกนิพพาน
เมื่อใดบุคคลผู้นี้เสวยภาวะปลอดราคะสิ้นเชิง ภาวะปลอดโทสะสิ้นเชิง ภาวะปลอดโมหะสิ้นเชิง อย่างนี้แล คือ นิพพานที่เป็นสันทิฏฐิกะ อกาลิกะ เอหิปัสสิกะ โอปนยิกะ ปัจจัตตัง เวทิตัพพัง วิญญูหิ (ซึ่งวิญญูชน พึงทราบจำเพาะตน) *
(องฺ.ติก.20,495/202)



การฝึกโดยใช้พระพุทธรูปเป็นตัวนำจิตให้เกิดสมาธิถึงระดับนั้น เทียบเพ่งกสิณได้เลย เพียงเปลี่ยนคำบริกรรมตามสภาพที่ใช้ ในที่นี้ ใช้พุทธรูป ก็ "พุทธรูปัง กสิณัง.ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ" เบื้องต้นลืมตาภาวนาในใจอย่างนั้น ร้อยหน พันหน หมื่นหน แสนหน ล้านหน หลายๆล้านหน ว่าไป จนจำติดตา ติดใจ หลับตาเห็นเช่นนั้น แล้วเปลี่ยนเป็นหลับตาเพ่งรูปในใจนั้น ร้อยหน...หลายๆล้านหน ว่าไป จนสามารถนึกย่อภาพนั้นให้เล็กก็ได้ ขยายให้ใหญ่โตก็ได้ สำเร็จแล้ว

แค่นี้อย่าคิดว่าง่ายนะ ของกล้วยๆนะ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ย. 2019, 23:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คคห.กราบพระสามครั้งก็เป็นวิธีหนึ่ง อีกวิธีหนึ่ง ซึ่งลึกลงไปถึงตัวจิตใจเลย โดยใช้พระพุทธรูปนั้นเป็นสิ่งให้จิตยึดให้จิตเกาะ

อ้างคำพูด:
"คนไม่มีศิลป์ทำเพชรให้เป็นขยะ คนมีศิลปะทำขยะให้เป็นเพชร" ... "คนโลภ ใช้พุทธศิลป์ได้เพียงแค่อุปกรณ์หาทรัพย์ คนมีปัญญาถึงระดับ ใช้พุทธศิลป์เป็นอุปกรณ์ดำเนินถึงพระนฤพาน"


รูปภาพ


ตามหลักนี้

ฌานสมาบัติทั้งหลาย นอกจากจะเป็นพื้นฐานที่ดีในการปฏิบัติเพื่อบรรลุนิพพานแล้ว บางครั้งท่านยังเรียกเป็นนิพพานโดยปริยาย คือ โดยอ้อม หรือโดยความหมายบางแง่บางด้านอีกด้วย เช่น มีพุทธพจน์ตรัสเรียก ฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ และสัญญาเวทยิตนิโรธ แต่ละอย่างๆ ว่าเป็นตทังคนิพพาน บ้าง ทิฏฐธรรมนิพพาน บ้าง สันทิฏฐิกนิพพาน บ้าง เช่น ข้อความในบาลีว่า

"ภิกษุผู้สงบจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม ฯลฯ เข้าถึงปฐมฌาน แม้เท่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า เป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยปริยาย ฯลฯ

"ภิกษุก้าวล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึงสัญญาเวทยิตนิโรธอยู่ เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอก็หมดสิ้นไป แม้เพียงเท่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า เป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยนิปริยาย "

ผู้ที่กำลังเจริญวิปัสสนา มองเห็นขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีอันจะต้องผันแปรไปเป็นธรรมดา ละความโศกเศร้าเป็นต้นเสียได้ หมดความร่านรนกระวนกระวาย อยู่เป็นสุข ท่านก็เรียกว่าเป็นผู้ตทังคนิพพาน

มีพุทธพจน์น่าสนใจแห่งหนึ่ง ตรัสว่า คนที่ถูกราคะ โทสะ โมหะ ครอบงำ ย่อมคิดในทางที่จะทำตนเองให้ลำบากเดือดร้อนบ้าง ทำคนอื่นให้ลำบากเดือดร้อนบ้าง ทำทั้งตนเองและผู้อื่นให้ลำบากเดือด ร้อนทั้งสองฝ่ายบ้าง ย่อมเสวยทุกขโทมนัสทางใจบ้าง ครั้นเขาละราคะ โทสะ โมหะ ได้แล้ว เขาก็ไม่คิดในทางที่จะทำตนเองหรือทำผู้อื่น หรือทั้งสองฝ่ายให้ลำบากเดือดร้อน ไม่ต้องเสวยทุกขโทมนัสทางใจ อย่างนี้แหละเป็นสันทิฏฐิกนิพพาน
เมื่อใดบุคคลผู้นี้เสวยภาวะปลอดราคะสิ้นเชิง ภาวะปลอดโทสะสิ้นเชิง ภาวะปลอดโมหะสิ้นเชิง อย่างนี้แล คือ นิพพานที่เป็นสันทิฏฐิกะ อกาลิกะ เอหิปัสสิกะ โอปนยิกะ ปัจจัตตัง เวทิตัพพัง วิญญูหิ (ซึ่งวิญญูชน พึงทราบจำเพาะตน) *
(องฺ.ติก.20,495/202)



การฝึกโดยใช้พระพุทธรูปเป็นตัวนำจิตให้เกิดสมาธิถึงระดับนั้น เทียบเพ่งกสิณได้เลย เพียงเปลี่ยนคำบริกรรมตามสภาพที่ใช้ ในที่นี้ ใช้พุทธรูป ก็ "พุทธรูปัง กสิณัง.ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ" เบื้องต้นลืมตาภาวนาในใจอย่างนั้น ร้อยหน พันหน หมื่นหน แสนหน ล้านหน หลายๆล้านหน ว่าไป จนจำติดตา ติดใจ หลับตาเห็นเช่นนั้น แล้วเปลี่ยนเป็นหลับตาเพ่งรูปในใจนั้น ร้อยหน...หลายๆล้านหน ว่าไป จนสามารถนึกย่อภาพนั้นให้เล็กก็ได้ ขยายให้ใหญ่โตก็ได้ สำเร็จแล้ว

แค่นี้อย่าคิดว่าง่ายนะ ของกล้วยๆนะ :b32:


คริคริ

ทำขยาย เล็กใหญ่
ด้วยความรู้สึก นึกคิด



tongue


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ก.ย. 2019, 05:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คคห.กราบพระสามครั้งก็เป็นวิธีหนึ่ง อีกวิธีหนึ่ง ซึ่งลึกลงไปถึงตัวจิตใจเลย โดยใช้พระพุทธรูปนั้นเป็นสิ่งให้จิตยึดให้จิตเกาะ

อ้างคำพูด:
"คนไม่มีศิลป์ทำเพชรให้เป็นขยะ คนมีศิลปะทำขยะให้เป็นเพชร" ... "คนโลภ ใช้พุทธศิลป์ได้เพียงแค่อุปกรณ์หาทรัพย์ คนมีปัญญาถึงระดับ ใช้พุทธศิลป์เป็นอุปกรณ์ดำเนินถึงพระนฤพาน"


http://static.weloveshopping.com/shop/a ... dleaf1.jpg

ตามหลักนี้

ฌานสมาบัติทั้งหลาย นอกจากจะเป็นพื้นฐานที่ดีในการปฏิบัติเพื่อบรรลุนิพพานแล้ว บางครั้งท่านยังเรียกเป็นนิพพานโดยปริยาย คือ โดยอ้อม หรือโดยความหมายบางแง่บางด้านอีกด้วย เช่น มีพุทธพจน์ตรัสเรียก ฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ และสัญญาเวทยิตนิโรธ แต่ละอย่างๆ ว่าเป็นตทังคนิพพาน บ้าง ทิฏฐธรรมนิพพาน บ้าง สันทิฏฐิกนิพพาน บ้าง เช่น ข้อความในบาลีว่า

"ภิกษุผู้สงบจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม ฯลฯ เข้าถึงปฐมฌาน แม้เท่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า เป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยปริยาย ฯลฯ

"ภิกษุก้าวล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึงสัญญาเวทยิตนิโรธอยู่ เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอก็หมดสิ้นไป แม้เพียงเท่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า เป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยนิปริยาย "

ผู้ที่กำลังเจริญวิปัสสนา มองเห็นขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีอันจะต้องผันแปรไปเป็นธรรมดา ละความโศกเศร้าเป็นต้นเสียได้ หมดความร่านรนกระวนกระวาย อยู่เป็นสุข ท่านก็เรียกว่าเป็นผู้ตทังคนิพพาน

มีพุทธพจน์น่าสนใจแห่งหนึ่ง ตรัสว่า คนที่ถูกราคะ โทสะ โมหะ ครอบงำ ย่อมคิดในทางที่จะทำตนเองให้ลำบากเดือดร้อนบ้าง ทำคนอื่นให้ลำบากเดือดร้อนบ้าง ทำทั้งตนเองและผู้อื่นให้ลำบากเดือด ร้อนทั้งสองฝ่ายบ้าง ย่อมเสวยทุกขโทมนัสทางใจบ้าง ครั้นเขาละราคะ โทสะ โมหะ ได้แล้ว เขาก็ไม่คิดในทางที่จะทำตนเองหรือทำผู้อื่น หรือทั้งสองฝ่ายให้ลำบากเดือดร้อน ไม่ต้องเสวยทุกขโทมนัสทางใจ อย่างนี้แหละเป็นสันทิฏฐิกนิพพาน
เมื่อใดบุคคลผู้นี้เสวยภาวะปลอดราคะสิ้นเชิง ภาวะปลอดโทสะสิ้นเชิง ภาวะปลอดโมหะสิ้นเชิง อย่างนี้แล คือ นิพพานที่เป็นสันทิฏฐิกะ อกาลิกะ เอหิปัสสิกะ โอปนยิกะ ปัจจัตตัง เวทิตัพพัง วิญญูหิ (ซึ่งวิญญูชน พึงทราบจำเพาะตน) *
(องฺ.ติก.20,495/202)



การฝึกโดยใช้พระพุทธรูปเป็นตัวนำจิตให้เกิดสมาธิถึงระดับนั้น เทียบเพ่งกสิณได้เลย เพียงเปลี่ยนคำบริกรรมตามสภาพที่ใช้ ในที่นี้ ใช้พุทธรูป ก็ "พุทธรูปัง กสิณัง.ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ" เบื้องต้นลืมตาภาวนาในใจอย่างนั้น ร้อยหน พันหน หมื่นหน แสนหน ล้านหน หลายๆล้านหน ว่าไป จนจำติดตา ติดใจ หลับตาเห็นเช่นนั้น แล้วเปลี่ยนเป็นหลับตาเพ่งรูปในใจนั้น ร้อยหน...หลายๆล้านหน ว่าไป จนสามารถนึกย่อภาพนั้นให้เล็กก็ได้ ขยายให้ใหญ่โตก็ได้ สำเร็จแล้ว

แค่นี้อย่าคิดว่าง่ายนะ ของกล้วยๆนะ :b32:


คริคริ

ทำขยาย เล็กใหญ่
ด้วยความรู้สึก นึกคิด



tongue


นั่นแหละอำนาจจิต อำนาจความรู้สึกนึกคิด :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ก.ย. 2019, 05:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


คคห.นี้ คลุมหมดทุกด้าน สาธุ ๓ ครั้งให้เลย ข้อ 1 ข้อเดียวก็คุ้มแล้ว

https://www.facebook.com/permalink.php? ... 6634803864


@ วิปลาส @
@ “ พระพุทธรูป “ • หรือ• “ พระพุทธปฏิมากร “ • คือ • รูปเปรียบ หรือ รูปเคารพ พุทธสัญลักษณ์ แทนองค์พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า • หลังจากพุทธปรินิพพาน ล่วงเลยมานานแล้ว • สร้างขึ้นตาม ลักษณะมหาบุรุษ 32 ประการ ที่ปรากฏใน มหาปุริสลักษณะ •
@ “ •พระพุทธรูป “ มิใช่การทำให้เหมือนพระพุทธเจ้า • แต่สร้างขึ้นมา “ เพื่อน้อมรำลึกถึง “ พระพุทธคุณ “ : พระพุทธจริยา แห่งพระองค์ • ผู้ทรงเป็น “ พระบรมศาสดา “ เอกของโลก ( อเทวนิยม) • ทรงบำเพ็ญพุทธกิจ สั่งสอนเวไนยนิกร •ในครั้งพุทธกาล • เพื่อสักการะบูชา แทนพระองค์ • อันเป็น “ บุคคลาธิษฐาน “ • นำไปสู่ “ ธรรมาธิษฐาน “ • น้อมนำใจยึดเหนี่ยว พัฒนา ยกระดับจิตใจให้ • ปฏิบัติตามพระองค์ • ตลอดจนเป็น พุทธศิลป์ สิ่งจรรโลงสืบทอดอายุพระพุทธศาสนา สืบต่อกันมาหลายยุคสมัย จวบจนปัจจุบันกาล

@ “ ป า ง “ ในนัยยะหนึ่ง หมายถึง “ ครั้ง “ : หรือ : “ เมื่อนั้น “ : หรือ : “ ครั้งนั้น “ • คือ : เป็นการบอกเล่า : เมื่อนำมากำหนดใช้กับ “ ปางพระพุทธรูป “ • ซึ่งเป็น “ รูปเคารพพุทธสัญลักษณ์ สมมุติแทนองค์พระพุทธเจ้า : (อุเทสิกเจดีย์ ) @

@ พระพุทธรูปปาง ต่าง ๆ • จึงหมายถึง • “ พระพุทธองค์ เมื่อครั้ง : เสด็จประทับอยู่ ณ สถานที่นั้น : ทรงบำเพ็ญ หรือ ทรงกระทำพุทธกิจ อย่างนั้น มีพระกริยาอย่างนั้น “ นั้นเอง

@ การสร้างพระพุทธรูปปางต่าง ๆ ขึ้นมา ในแต่ละยุคสมัย • จึง “ นิยมสร้าง ตามแบบอย่างของพระอิริยาบถต่าง ๆ ของ พระพุทธเจ้า ตามเหตุการณ์ที่ทรง บำเพ็ญพระพุทธจริยา 3 (โลกัตถจริยา - ญาตัตถจริยา - พุทธัตถจริยา ) • ตามที่ปรากฏใน “ พุทธประวัติ “

@ คำว่า “ ป า ง “ นอกจากจะหมายถึง • กริยา ท่าทาง ของพระพุทธรูปที่แสดงพระอิริยาบถต่างๆ แล้ว • ยังหมายรวมถึง พระพุทธจริยาของพระองค์ ด้วย

@ “ ม ทุ ร า “ • เป็น ภาษาสันสกฤต • มีความหมายเมื่อนำมาใช้กับ “ งานพุทธศิลป์ “ • ว่า • “ เป็นการแสดงความหมายด้วยพระหัตถ์ : หรือ : การแสดงท่วงท่าด้วยมือ : หรือ : การแสดงปางด้วยพระหัตถ์ เรียกว่า “ ม ทุ ร า “ ซึ่ง มีด้วยกัน 6 ท่า. เป็นต้น

@ กรณี “ • ผลงานศิลปะ “ พระพุทธรูปอุลตร้าแมน “ ที่ กำลังก่อให้เกิดปัญหา แตกแยก ร้าวฉานทางความคิดอยู่ ในสังคมอยู่ในขณะนี้ • คือ วิกฤตที่น่าจับตา. • จึงขออนุญาต แสดงความคิดเห็น เพื่อประเทืองปัญญา • ในฐานะ เป็น • “ ค รู “ • คนหนึ่งของสังคมไทย ดังนี้

( 1.) • “ พระพุทธเจ้า “ • ทรงชนะพญามาร ทั้งปวง ด้วย • (“ ธ ร ร ม ม า วุ ธ “ ) • พระพุทธองค์ มิได้ทรงใช้ •. “ อาวุธวิเศษ “ ใด ๆ หรือ “ กริยา ท่าทาง หรือ ใช้กำลัง เข้าต่อสู้.ใดๆ เลย • ในการปราบมาร ทั้งปวง เฉกเช่น • “ ยอดมนุษย์ “ • “ อุลตร้าแมน “ • หรือ • “ แบทแมน “ • “ สไปเดอร์แมน “ เลยแม้แต่น้อย •
@ หากศึกษาให้กระจ่างแจ้ง แล้วจะพบเห็นได้ว่า • เป็นการ จินตนาการ สร้างผลงานการวาด • ที่ ปราศจากความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง อย่างแท้จริง

( 2) • “ พระพุทธเจ้า “ • ทรงได้รับการยกย่อง ว่า • เป็น ครูของมนุษย์และเทวดา • เพราะทรงบำเพ็ญ “ โลกัตถจริยา “ : หรือ: “ พุทธกิจ 5 “ หรือ “ เบญจกิจจา “ • ดังปรากฏในบทสรรเสริญพระพุทธคุณ 56 ประการ • วรรคสุดท้ายของบท อิติปิโส • คำว่า “ สัตถา เทวามนุสสานัง พุทโธภควาติ •
ผิดกับ • “ ยอดมนุษย์วิเศษ • อุลตร้าแมน หรือ สไปเดอร์แมน หรือ แบทแมน • ล้วนแล้วแต่เป็น • ( ก า ร์ ตู น ) • ที่ถูกสร้างขึ้นมา เขียนขึ้นมา ด้วยกันทั้งสิ้น • ไม่มีตัวตน ไม่ใช่ พระมหาบุรุษ ที่มีตัวตน ชัดเจน เฉกเช่น พระสมณโคดม
เป็นการบัง ควร หรือ • ที่ จะนำ การ์ตูน : มาเปรียบเปรย เปรียบเทียบ กับ พระพุทธองค์. ผู้เป็น พระบรมศาสดา เอกของโลก ( อเทวนิยม ) • ตรงนี้คือ ภูมิรู้ - ภูมิธรรม - ภูมิปัญญา • อันเป็น “ พื้นฐานแห่ง • ความคิด • หรือ • จินตามยปัญญา • ต้องไม่มืดบอด •และ เป็น • มิจฉาทิฐิ • ( ความเห็นผิด ) เป็นที่ตั้ง จึง คิด ผิด ( ดำริ) • พูดผิด • ทำผิด

(3 ). ภาพวาด. : พระพุทธรูปอุลตร้าแมน • ที่ วาด พระพุทธรูป อัลตร้าแมน • ทำกริยา ท่าทาง ในการต่อสู้ • ในรูปแบบท่าทางงต่างๆ. ตามจินตนาการ ของศิลปินผู้วาดรังสรรค์ชิ้นงาน • มัน บ่งบอก หรือ สะท้อน ถึง • “ พระพุทธจริยา “ • ที่ พระพุทธเจ้าผู้ทรงเป็นพระบรมศาสดา ทรงบำเพ็ญหรือทรงกระทำ ปรากฏในตอนใด ส่วนใดของ พุทธประวัติ หรือ บ่งบอกถึง• “ พระพุทธคุณ “ • ในข้อใด
อย่างไร
ประการ สำคัญยิ่ง • พระพุทธองค์ • ทรง บวช (งดเว้น ออกจากสิ่งที่ ฆราวาส ปฏิบัติ ) • ถือสมณเพศ แสวงหาโมกขธรรม จนตรัสรู้ • ทรงนุ่งห่ม • ด้วย • ผ้าสามผืน •
เหตุไฉนภาพวาดศิลปะ ชุดนี้ • จึง วาดเอาชุดอุลตร้าแมน ( สวมชุดเสื้อแขนยาว สวมกางเกงขายาว ) • แล้ววาด พระเศียรพระพุทธรูป ต่อเติมประยุกต์ลงไป • ซึ่ง ชุดเสื้อผ้า กางเกง อุลตร้าแมน • มิใช่ ชุดในวิสัยของ สมณเพศ •
พระพุทธรูป ในแต่ ละยุคสมัย ของชาวพุทธ ยังคงรูปแบบของ. • จีวร ผ้าห่ม ไว้อย่างชัดเจนยิ่งนัก • ประติมากรแต่ละยุคสมัย ก็จะรังสรรค์ รายละเอียดของ ริ้วจีวร ที่ อาจจะแตกต่างกันไปบ้าง เป็น อัตลักษณ์ของตนและสื่อยุคสมัย • แต่ไม่มี พระพุทธรูป ยุคสมัยใด. เลยเถิด• สวมกางเกงขายาว เสื้อแขนยาว. เฉกเช่น ภาพที่ เขียนชุดนี้. • นี้หรือ คือ • สุนทรียศาสตร์ ในศิลปะ • ต้องมีความถูกต้อง ทั้งในคติโลกและคติธรรมด้วย • มิเช่นนั้นจะกลายเป็น • องค์ความรู้ที่ผิดๆ. บิดเบือน บิดเบี้ยว จากภาพ ได้ในกาลต่อไป ยังให้เกิดความสับสนแก่สังคมได้. ในความฟั่นเฟือนเช่นนี้ ซึ่งเป็น การไม่บังควร ยิ่ง นัก
ตรงนี้ “ ศิลปิน • ผู้สร้าง ผลงานศิลปตามจินตนาการ หรือ ประยุกต์ศิลป์ • ต้อง ตอบคำถามให้ได้. และ ชัดเจน ด้วย • ในฐานะ เป็น • “ ช า ว พุ.ท ธ • สร้างสรรค์ หรือ ทำลาย • มันเสมือนเส้นด้ายครับ กรณีนี้
ศาสนาพุทธ. เป็น • วิถีทางแห่งปัญญา • มิใช่ จินตนาการ แบบมืดบอด ครับ

( 4 ) . วิกฤตนี้ : สะท้อน หรือ บ่งบอกว่า • สังคมไทย • คนเริ่ม แยกแยะ ไม่ออก • ว่า “ อะ ไ ร ค ว ร “ • อะ ไ ร ไ ม่ ค ว ร “ • อะไรคือ คุณงามความดี ที่ บรรพชน สร้างสม สืบสาน สืบทอดจนมาถึง พวกเราในทุกวันนี้.
อะไร คือ ของสูง • อะไร คือ สิ่งที่ เทิดทูนบูชา • แยกแยะไม่ออก • จนเกินเลย ขอบเขตความดีงาม ไปอย่างน่าเสียดาย. วิถีไทยที่แห้งเหือดหายไป

( 4 ). “ วิปลาส “ คือ ความรู้เห็นที่คลาดเคลื่อนหรือความรู้เข้าใจอันผิดเพี้ยนจากความเป็นจริงพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานก็• ให้ความหมายของคำว่า “ วิปลาส “ ไว้ว่า • "คลาดเคลื่อนไปจากธรรมดาสามัญ" •
วิปลาสในทางพระพุทธศาสนานั้นมี 3 ลักษณะคือ
1. สัญญาวิปลาส คือสัญญาคลาดเคลื่อน, หมายรู้ผิดพลาดจากความเป็นจริง เช่น คนตกใจเห็นเชือกเป็นงู
2. จิตตวิปลาส คือจิตคลาดเคลื่อน, ความคิดผิดพลาดจากความเป็นจริง เช่น คนบ้าคิดเอาหญ้าเป็นอาหาร
3. ทิฏฐิวิปลาส คือทิฏฐิคลาดเคลื่อน, ความเห็นผิดพลาดจากความเป็นจริง โดยเฉพาะเชื่อถือไปตามสัญญาวิปลาส หรือจิตตวิปลาสนั้น เช่น มีสัญญาวิปลาสเห็นเชือกเป็นงู แล้วเกิดทิฏฐิวิปลาส เชื่อหรือลงความเห็นว่าที่บริเวณนั้นมีงูชุม หรือมีจิตตวิลาสว่าทุกสิ่งที่เกิดขึ้นต้องมีผู้สร้าง จึงเกิดทิฏฐิวิปลาสว่า แผ่นดินไหวเพราะเทพเจ้าบันดาล
@ วิปลาสทั้ง 3 ลักษณะนี้ แต่ละลักษณะ มีทั้งสิ้น 4 ประเภท คือ

วิปลาสในสิ่งที่ไม่เที่ยง ว่าเที่ยง
วิปลาสในสิ่งที่เป็นทุกข์ ว่าเป็นสุข
วิปลาสในสิ่งที่ไม่เป็นตัวตน ว่าเป็นตัวตน
วิปลาสใน • “ สิ่งที่ไม่งาม ว่างาม “ • ดังคำว่าของเหม็นบางชนิดออกฤทธิ์เป็นของหอม โลกนี้วิจิตรสวยงามดุจราชรถ
จินตนาการ ของบุคคล • จะต้องไม่ • ก้าวล่วง • หรือ • กระทบ • ศรัทธา • ของ ผู้อื่น • และ • คนส่วนใหญ่
คือ วิถีพุทธ วิถีไทย

( 5 ). พระพุทธศาสนา เป็น พื้นฐานของศิลปะวัฒนธรรมและวิถีชีวิตอันดีงามของชาวไทยมายาวนาน กว่า 2,000 ปี • ปู่ย่าตายาย กลัว บาปกลัวกรรม ที่ อาจจะไปก้าวล่วง ละเมิด หรือ จาบจ้วง พระรัตนตรัย ในห้วงหนึ่งห้วงใดได้ •จึงเป็นคตินิยม. ที่จะกล่าวบทขอขมาพระรัตนตรัยในเวลากราบพระ ว่า

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง พุทโธ ปฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ
ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระพุทธเจ้า ขอพระพุทธเจ้า จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น เพื่อการสำรวมระวัง ในพระพุทธเจ้า ในกาลต่อไป

@ คุณงามความดี. ที่ บรรพชน สร้างสม ถ่ายทอดมา ดีงามเฉกเช่นนี้. แห้งเหือด เจือจาง หายไปจาก. เม็ดเลือด คนไทยรุ่นใหม่บางคนไปเสียดอกกระมัง • ถึงพากันมองข้ามไปอย่างหน้าเสียดายยิ่ง. อนิจจัง อนิจจา • ทุกคนในสังคมต้องช่วยกัน แก้ไข ร่วมกัน ครับ @

@ หมอน • ใช้หนุนศรีษะ : หนุนหัว
@ คงไม่มีใคร เอา หมอน ใบนี้ ไป รองก้น หรือ รองเท้า
@ คนโบราณ : มี “ ขันล้างหน้า “: ใช้ล้างหน้าโดยเฉพาะ
@ ไม่มีใคร วิปลาส. : นำ “ ขันล้างหน้า” • ไปใช้ ล้างก้น
@ กระดูกพ่อแม่ ใส่โกศ ตั้งในที่สูง บูชาระลึกคุณ
@ คงไม่มีลูกคนไหน วิปลาส นำไปตั้งในที่ ต่ำกับพื้น หรือ หลังตู้กับข้าว ในครัว คือ กตัญญูตาธรรม
@ รูปพ่อแม่. วาดสวย ถ่ายงาม ใส่กรอบติดในที่สูง ประกาศคุณท่าน
@ คงไม่มีใครอุตริ หรือ. อุบาทว์. นำภาพพ่อแม่ ไปเพ็นท์ เป็นงานศิลป์ ลงในที่ต่ำ เบื้องล่าง
@ คุณงาม ความดีของสังคมไทย ที่ บรรพชน บ่มเพาะปลูกฝัง สั่งสอน ลูกหลานมา • ให้รู้จัก ที่สูง ที่ต่ำ • อะไรคือสิ่งที่ควรบูชา ไม่ควรก้าวล่วง• อะไรควร อะไรไม่บังควร • บัณฑิต ผู้เจริญ ย่อมรู้ดี และไม่พึงกระทำ

# โยนิโสมนสิการ • ใ้ช้ปัญญาพิจารณาให้แยบคาย #

@ ขอเป็น. ส ติ. หรือ. เ บ ร ค ร ถ ให้ สังคม • @

พุทธคารวตา

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ก.ย. 2019, 21:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คคห.กราบพระสามครั้งก็เป็นวิธีหนึ่ง อีกวิธีหนึ่ง ซึ่งลึกลงไปถึงตัวจิตใจเลย โดยใช้พระพุทธรูปนั้นเป็นสิ่งให้จิตยึดให้จิตเกาะ

อ้างคำพูด:
"คนไม่มีศิลป์ทำเพชรให้เป็นขยะ คนมีศิลปะทำขยะให้เป็นเพชร" ... "คนโลภ ใช้พุทธศิลป์ได้เพียงแค่อุปกรณ์หาทรัพย์ คนมีปัญญาถึงระดับ ใช้พุทธศิลป์เป็นอุปกรณ์ดำเนินถึงพระนฤพาน"


http://static.weloveshopping.com/shop/a ... dleaf1.jpg

ตามหลักนี้

ฌานสมาบัติทั้งหลาย นอกจากจะเป็นพื้นฐานที่ดีในการปฏิบัติเพื่อบรรลุนิพพานแล้ว บางครั้งท่านยังเรียกเป็นนิพพานโดยปริยาย คือ โดยอ้อม หรือโดยความหมายบางแง่บางด้านอีกด้วย เช่น มีพุทธพจน์ตรัสเรียก ฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ และสัญญาเวทยิตนิโรธ แต่ละอย่างๆ ว่าเป็นตทังคนิพพาน บ้าง ทิฏฐธรรมนิพพาน บ้าง สันทิฏฐิกนิพพาน บ้าง เช่น ข้อความในบาลีว่า

"ภิกษุผู้สงบจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม ฯลฯ เข้าถึงปฐมฌาน แม้เท่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า เป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยปริยาย ฯลฯ

"ภิกษุก้าวล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึงสัญญาเวทยิตนิโรธอยู่ เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอก็หมดสิ้นไป แม้เพียงเท่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า เป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยนิปริยาย "

ผู้ที่กำลังเจริญวิปัสสนา มองเห็นขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีอันจะต้องผันแปรไปเป็นธรรมดา ละความโศกเศร้าเป็นต้นเสียได้ หมดความร่านรนกระวนกระวาย อยู่เป็นสุข ท่านก็เรียกว่าเป็นผู้ตทังคนิพพาน

มีพุทธพจน์น่าสนใจแห่งหนึ่ง ตรัสว่า คนที่ถูกราคะ โทสะ โมหะ ครอบงำ ย่อมคิดในทางที่จะทำตนเองให้ลำบากเดือดร้อนบ้าง ทำคนอื่นให้ลำบากเดือดร้อนบ้าง ทำทั้งตนเองและผู้อื่นให้ลำบากเดือด ร้อนทั้งสองฝ่ายบ้าง ย่อมเสวยทุกขโทมนัสทางใจบ้าง ครั้นเขาละราคะ โทสะ โมหะ ได้แล้ว เขาก็ไม่คิดในทางที่จะทำตนเองหรือทำผู้อื่น หรือทั้งสองฝ่ายให้ลำบากเดือดร้อน ไม่ต้องเสวยทุกขโทมนัสทางใจ อย่างนี้แหละเป็นสันทิฏฐิกนิพพาน
เมื่อใดบุคคลผู้นี้เสวยภาวะปลอดราคะสิ้นเชิง ภาวะปลอดโทสะสิ้นเชิง ภาวะปลอดโมหะสิ้นเชิง อย่างนี้แล คือ นิพพานที่เป็นสันทิฏฐิกะ อกาลิกะ เอหิปัสสิกะ โอปนยิกะ ปัจจัตตัง เวทิตัพพัง วิญญูหิ (ซึ่งวิญญูชน พึงทราบจำเพาะตน) *
(องฺ.ติก.20,495/202)



การฝึกโดยใช้พระพุทธรูปเป็นตัวนำจิตให้เกิดสมาธิถึงระดับนั้น เทียบเพ่งกสิณได้เลย เพียงเปลี่ยนคำบริกรรมตามสภาพที่ใช้ ในที่นี้ ใช้พุทธรูป ก็ "พุทธรูปัง กสิณัง.ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ" เบื้องต้นลืมตาภาวนาในใจอย่างนั้น ร้อยหน พันหน หมื่นหน แสนหน ล้านหน หลายๆล้านหน ว่าไป จนจำติดตา ติดใจ หลับตาเห็นเช่นนั้น แล้วเปลี่ยนเป็นหลับตาเพ่งรูปในใจนั้น ร้อยหน...หลายๆล้านหน ว่าไป จนสามารถนึกย่อภาพนั้นให้เล็กก็ได้ ขยายให้ใหญ่โตก็ได้ สำเร็จแล้ว

แค่นี้อย่าคิดว่าง่ายนะ ของกล้วยๆนะ :b32:


คริคริ

ทำขยาย เล็กใหญ่
ด้วยความรู้สึก นึกคิด



tongue


นั่นแหละอำนาจจิต อำนาจความรู้สึกนึกคิด :b1:


คริคริ
เพราะลุงกรัชกาย ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม
เรยไม่รู้ว่า

นั่นมันอำนาจความรู้สึกนึกคิด เป็น เจตสิก
ที่ปรุงแต่งจิตค่ะ

tongue


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ก.ย. 2019, 08:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คคห.กราบพระสามครั้งก็เป็นวิธีหนึ่ง อีกวิธีหนึ่ง ซึ่งลึกลงไปถึงตัวจิตใจเลย โดยใช้พระพุทธรูปนั้นเป็นสิ่งให้จิตยึดให้จิตเกาะ

อ้างคำพูด:
"คนไม่มีศิลป์ทำเพชรให้เป็นขยะ คนมีศิลปะทำขยะให้เป็นเพชร" ... "คนโลภ ใช้พุทธศิลป์ได้เพียงแค่อุปกรณ์หาทรัพย์ คนมีปัญญาถึงระดับ ใช้พุทธศิลป์เป็นอุปกรณ์ดำเนินถึงพระนฤพาน"


http://static.weloveshopping.com/shop/a ... dleaf1.jpg

ตามหลักนี้

ฌานสมาบัติทั้งหลาย นอกจากจะเป็นพื้นฐานที่ดีในการปฏิบัติเพื่อบรรลุนิพพานแล้ว บางครั้งท่านยังเรียกเป็นนิพพานโดยปริยาย คือ โดยอ้อม หรือโดยความหมายบางแง่บางด้านอีกด้วย เช่น มีพุทธพจน์ตรัสเรียก ฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ และสัญญาเวทยิตนิโรธ แต่ละอย่างๆ ว่าเป็นตทังคนิพพาน บ้าง ทิฏฐธรรมนิพพาน บ้าง สันทิฏฐิกนิพพาน บ้าง เช่น ข้อความในบาลีว่า

"ภิกษุผู้สงบจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม ฯลฯ เข้าถึงปฐมฌาน แม้เท่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า เป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยปริยาย ฯลฯ

"ภิกษุก้าวล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึงสัญญาเวทยิตนิโรธอยู่ เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอก็หมดสิ้นไป แม้เพียงเท่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า เป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยนิปริยาย "

ผู้ที่กำลังเจริญวิปัสสนา มองเห็นขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีอันจะต้องผันแปรไปเป็นธรรมดา ละความโศกเศร้าเป็นต้นเสียได้ หมดความร่านรนกระวนกระวาย อยู่เป็นสุข ท่านก็เรียกว่าเป็นผู้ตทังคนิพพาน

มีพุทธพจน์น่าสนใจแห่งหนึ่ง ตรัสว่า คนที่ถูกราคะ โทสะ โมหะ ครอบงำ ย่อมคิดในทางที่จะทำตนเองให้ลำบากเดือดร้อนบ้าง ทำคนอื่นให้ลำบากเดือดร้อนบ้าง ทำทั้งตนเองและผู้อื่นให้ลำบากเดือด ร้อนทั้งสองฝ่ายบ้าง ย่อมเสวยทุกขโทมนัสทางใจบ้าง ครั้นเขาละราคะ โทสะ โมหะ ได้แล้ว เขาก็ไม่คิดในทางที่จะทำตนเองหรือทำผู้อื่น หรือทั้งสองฝ่ายให้ลำบากเดือดร้อน ไม่ต้องเสวยทุกขโทมนัสทางใจ อย่างนี้แหละเป็นสันทิฏฐิกนิพพาน
เมื่อใดบุคคลผู้นี้เสวยภาวะปลอดราคะสิ้นเชิง ภาวะปลอดโทสะสิ้นเชิง ภาวะปลอดโมหะสิ้นเชิง อย่างนี้แล คือ นิพพานที่เป็นสันทิฏฐิกะ อกาลิกะ เอหิปัสสิกะ โอปนยิกะ ปัจจัตตัง เวทิตัพพัง วิญญูหิ (ซึ่งวิญญูชน พึงทราบจำเพาะตน) *
(องฺ.ติก.20,495/202)



การฝึกโดยใช้พระพุทธรูปเป็นตัวนำจิตให้เกิดสมาธิถึงระดับนั้น เทียบเพ่งกสิณได้เลย เพียงเปลี่ยนคำบริกรรมตามสภาพที่ใช้ ในที่นี้ ใช้พุทธรูป ก็ "พุทธรูปัง กสิณัง.ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ" เบื้องต้นลืมตาภาวนาในใจอย่างนั้น ร้อยหน พันหน หมื่นหน แสนหน ล้านหน หลายๆล้านหน ว่าไป จนจำติดตา ติดใจ หลับตาเห็นเช่นนั้น แล้วเปลี่ยนเป็นหลับตาเพ่งรูปในใจนั้น ร้อยหน...หลายๆล้านหน ว่าไป จนสามารถนึกย่อภาพนั้นให้เล็กก็ได้ ขยายให้ใหญ่โตก็ได้ สำเร็จแล้ว

แค่นี้อย่าคิดว่าง่ายนะ ของกล้วยๆนะ :b32:


คริคริ

ทำขยาย เล็กใหญ่
ด้วยความรู้สึก นึกคิด



tongue


นั่นแหละอำนาจจิต อำนาจความรู้สึกนึกคิด :b1:


คริคริ
เพราะลุงกรัชกาย ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม
เรยไม่รู้ว่า

นั่นมันอำนาจความรู้สึกนึกคิด เป็น เจตสิก
ที่ปรุงแต่งจิตค่ะ

tongue


จะกินก๋วยเตี๋ยวต้องปรุงแต่งให้มีรสมีชาติ ชิมดูก่อนขาดอะไร อ้อขาดเค็ม เติมน้ำปลาหน่อย ต้องการเผ็ด ก็ใสพริกป่นหน่อย แล้วลองชิมดู อ้อขาดหวานนิดนุง เติมน้ำตาลหน่อย นี่เรียกว่าปรุงแต่ง เพื่อให้มีรสชาติ คิกๆๆ จริงๆนะทำเป็นเล่นไป

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 14 ก.ย. 2019, 11:59, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ก.ย. 2019, 08:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


สัตว์ป่า มีลิงช้างม้าวัวควาย เมื่อคนต้องการใช้ประโยชน์จากมัน ก็ต้องนำมาฝึกมาหัดให้มันเชื่องเชื่อฟังคำสั่ง ให้อยู่ในอำนาจของเรา ฉันใดก็ฉันนั้น จิตใจคนเราก็เหมือนกัน ต้องฝึกต้องหัดต้องพัฒนา เจ้าของจึงจะใช้ประโยชน์จากมันได้ เชื่อฟังเจ้าของ สั่งให้คิดก็คิด สั่งให้นิ่งก็นิ่ง สั่งให้นอนก็นอน ตัวอย่าง เช่น

ความเป็นเจ้าแห่งจิต เป็นนายของความคิด

"บุคคลผู้เป็นมหาบุรุษ มีปัญญายิ่งใหญ่นั้น ประสงค์จะตริตรึกความคิดใด ก็ตริตรึกความคิดนั้น
ไม่ประสงค์จะตริตรึกความคิดใด ก็ไม่ประสงค์จะตริตรึกความคิดนั้น
ประสงค์จะดำริข้อดำริใด ก็ดำริข้อดำรินั้น ไม่ประสงค์จะดำริข้อดำริใด ก็ไม่ประสงค์จะดำริข้อดำรินั้น
ท่านบรรลุภาวะมีอำนาจเหนือจิต (เจโตวสี) ในกระบวนความคิดทั้งหลาย" *
(องฺ.จตุกฺก.21/35/46. บาลีที่มานี้หมายถึงพระพุทธเจ้า ในฐานะทรงเป็นมหาบุรุษ แต่หลักฐานอื่นๆ แสดงว่า คุณสมบัตินี้มีแก่พระขีณาสพทั่วไป. ม.มู.12/262/247; 375/401 ฯลฯ)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ก.ย. 2019, 02:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คคห.กราบพระสามครั้งก็เป็นวิธีหนึ่ง อีกวิธีหนึ่ง ซึ่งลึกลงไปถึงตัวจิตใจเลย โดยใช้พระพุทธรูปนั้นเป็นสิ่งให้จิตยึดให้จิตเกาะ

อ้างคำพูด:
"คนไม่มีศิลป์ทำเพชรให้เป็นขยะ คนมีศิลปะทำขยะให้เป็นเพชร" ... "คนโลภ ใช้พุทธศิลป์ได้เพียงแค่อุปกรณ์หาทรัพย์ คนมีปัญญาถึงระดับ ใช้พุทธศิลป์เป็นอุปกรณ์ดำเนินถึงพระนฤพาน"


http://static.weloveshopping.com/shop/a ... dleaf1.jpg

ตามหลักนี้

ฌานสมาบัติทั้งหลาย นอกจากจะเป็นพื้นฐานที่ดีในการปฏิบัติเพื่อบรรลุนิพพานแล้ว บางครั้งท่านยังเรียกเป็นนิพพานโดยปริยาย คือ โดยอ้อม หรือโดยความหมายบางแง่บางด้านอีกด้วย เช่น มีพุทธพจน์ตรัสเรียก ฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ และสัญญาเวทยิตนิโรธ แต่ละอย่างๆ ว่าเป็นตทังคนิพพาน บ้าง ทิฏฐธรรมนิพพาน บ้าง สันทิฏฐิกนิพพาน บ้าง เช่น ข้อความในบาลีว่า

"ภิกษุผู้สงบจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม ฯลฯ เข้าถึงปฐมฌาน แม้เท่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า เป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยปริยาย ฯลฯ

"ภิกษุก้าวล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึงสัญญาเวทยิตนิโรธอยู่ เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอก็หมดสิ้นไป แม้เพียงเท่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า เป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยนิปริยาย "

ผู้ที่กำลังเจริญวิปัสสนา มองเห็นขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีอันจะต้องผันแปรไปเป็นธรรมดา ละความโศกเศร้าเป็นต้นเสียได้ หมดความร่านรนกระวนกระวาย อยู่เป็นสุข ท่านก็เรียกว่าเป็นผู้ตทังคนิพพาน

มีพุทธพจน์น่าสนใจแห่งหนึ่ง ตรัสว่า คนที่ถูกราคะ โทสะ โมหะ ครอบงำ ย่อมคิดในทางที่จะทำตนเองให้ลำบากเดือดร้อนบ้าง ทำคนอื่นให้ลำบากเดือดร้อนบ้าง ทำทั้งตนเองและผู้อื่นให้ลำบากเดือด ร้อนทั้งสองฝ่ายบ้าง ย่อมเสวยทุกขโทมนัสทางใจบ้าง ครั้นเขาละราคะ โทสะ โมหะ ได้แล้ว เขาก็ไม่คิดในทางที่จะทำตนเองหรือทำผู้อื่น หรือทั้งสองฝ่ายให้ลำบากเดือดร้อน ไม่ต้องเสวยทุกขโทมนัสทางใจ อย่างนี้แหละเป็นสันทิฏฐิกนิพพาน
เมื่อใดบุคคลผู้นี้เสวยภาวะปลอดราคะสิ้นเชิง ภาวะปลอดโทสะสิ้นเชิง ภาวะปลอดโมหะสิ้นเชิง อย่างนี้แล คือ นิพพานที่เป็นสันทิฏฐิกะ อกาลิกะ เอหิปัสสิกะ โอปนยิกะ ปัจจัตตัง เวทิตัพพัง วิญญูหิ (ซึ่งวิญญูชน พึงทราบจำเพาะตน) *
(องฺ.ติก.20,495/202)



การฝึกโดยใช้พระพุทธรูปเป็นตัวนำจิตให้เกิดสมาธิถึงระดับนั้น เทียบเพ่งกสิณได้เลย เพียงเปลี่ยนคำบริกรรมตามสภาพที่ใช้ ในที่นี้ ใช้พุทธรูป ก็ "พุทธรูปัง กสิณัง.ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ" เบื้องต้นลืมตาภาวนาในใจอย่างนั้น ร้อยหน พันหน หมื่นหน แสนหน ล้านหน หลายๆล้านหน ว่าไป จนจำติดตา ติดใจ หลับตาเห็นเช่นนั้น แล้วเปลี่ยนเป็นหลับตาเพ่งรูปในใจนั้น ร้อยหน...หลายๆล้านหน ว่าไป จนสามารถนึกย่อภาพนั้นให้เล็กก็ได้ ขยายให้ใหญ่โตก็ได้ สำเร็จแล้ว

แค่นี้อย่าคิดว่าง่ายนะ ของกล้วยๆนะ :b32:


คริคริ

ทำขยาย เล็กใหญ่
ด้วยความรู้สึก นึกคิด



tongue


นั่นแหละอำนาจจิต อำนาจความรู้สึกนึกคิด :b1:


คริคริ
เพราะลุงกรัชกาย ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม
เรยไม่รู้ว่า

นั่นมันอำนาจความรู้สึกนึกคิด เป็น เจตสิก
ที่ปรุงแต่งจิตค่ะ

tongue


จะกินก๋วยเตี๋ยวต้องปรุงแต่งให้มีรสมีชาติ ชิมดูก่อนขาดอะไร อ้อขาดเค็ม เติมน้ำปลาหน่อย ต้องการเผ็ด ก็ใสพริกป่นหน่อย แล้วลองชิมดู อ้อขาดหวานนิดนุง เติมน้ำตาลหน่อย นี่เรียกว่าปรุงแต่ง เพื่อให้มีรสชาติ คิกๆๆ จริงๆนะทำเป็นเล่นไป


คริคริ

คุณลุงยกพระสูตรข้างบนมา ฝังตัวเองแล้วหละลุงกรัชกาย

ก็แสดงว่า อยากได้รสชาด ก็เป็นทาสแห่งจิต เป็นทาสแห่งความคิดอยู่ไงค๊ะ

ลุงกรัชกาย เรย คิดอยากจะกินคูถเน่า มูตรเน่าปรุงรสต่อ

ก๊ากๆๆ
tongue


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ก.ย. 2019, 05:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คคห.กราบพระสามครั้งก็เป็นวิธีหนึ่ง อีกวิธีหนึ่ง ซึ่งลึกลงไปถึงตัวจิตใจเลย โดยใช้พระพุทธรูปนั้นเป็นสิ่งให้จิตยึดให้จิตเกาะ

อ้างคำพูด:
"คนไม่มีศิลป์ทำเพชรให้เป็นขยะ คนมีศิลปะทำขยะให้เป็นเพชร" ... "คนโลภ ใช้พุทธศิลป์ได้เพียงแค่อุปกรณ์หาทรัพย์ คนมีปัญญาถึงระดับ ใช้พุทธศิลป์เป็นอุปกรณ์ดำเนินถึงพระนฤพาน"


http://static.weloveshopping.com/shop/a ... dleaf1.jpg

ตามหลักนี้

ฌานสมาบัติทั้งหลาย นอกจากจะเป็นพื้นฐานที่ดีในการปฏิบัติเพื่อบรรลุนิพพานแล้ว บางครั้งท่านยังเรียกเป็นนิพพานโดยปริยาย คือ โดยอ้อม หรือโดยความหมายบางแง่บางด้านอีกด้วย เช่น มีพุทธพจน์ตรัสเรียก ฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ และสัญญาเวทยิตนิโรธ แต่ละอย่างๆ ว่าเป็นตทังคนิพพาน บ้าง ทิฏฐธรรมนิพพาน บ้าง สันทิฏฐิกนิพพาน บ้าง เช่น ข้อความในบาลีว่า

"ภิกษุผู้สงบจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม ฯลฯ เข้าถึงปฐมฌาน แม้เท่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า เป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยปริยาย ฯลฯ

"ภิกษุก้าวล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึงสัญญาเวทยิตนิโรธอยู่ เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอก็หมดสิ้นไป แม้เพียงเท่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า เป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยนิปริยาย "

ผู้ที่กำลังเจริญวิปัสสนา มองเห็นขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีอันจะต้องผันแปรไปเป็นธรรมดา ละความโศกเศร้าเป็นต้นเสียได้ หมดความร่านรนกระวนกระวาย อยู่เป็นสุข ท่านก็เรียกว่าเป็นผู้ตทังคนิพพาน

มีพุทธพจน์น่าสนใจแห่งหนึ่ง ตรัสว่า คนที่ถูกราคะ โทสะ โมหะ ครอบงำ ย่อมคิดในทางที่จะทำตนเองให้ลำบากเดือดร้อนบ้าง ทำคนอื่นให้ลำบากเดือดร้อนบ้าง ทำทั้งตนเองและผู้อื่นให้ลำบากเดือด ร้อนทั้งสองฝ่ายบ้าง ย่อมเสวยทุกขโทมนัสทางใจบ้าง ครั้นเขาละราคะ โทสะ โมหะ ได้แล้ว เขาก็ไม่คิดในทางที่จะทำตนเองหรือทำผู้อื่น หรือทั้งสองฝ่ายให้ลำบากเดือดร้อน ไม่ต้องเสวยทุกขโทมนัสทางใจ อย่างนี้แหละเป็นสันทิฏฐิกนิพพาน
เมื่อใดบุคคลผู้นี้เสวยภาวะปลอดราคะสิ้นเชิง ภาวะปลอดโทสะสิ้นเชิง ภาวะปลอดโมหะสิ้นเชิง อย่างนี้แล คือ นิพพานที่เป็นสันทิฏฐิกะ อกาลิกะ เอหิปัสสิกะ โอปนยิกะ ปัจจัตตัง เวทิตัพพัง วิญญูหิ (ซึ่งวิญญูชน พึงทราบจำเพาะตน) *
(องฺ.ติก.20,495/202)



การฝึกโดยใช้พระพุทธรูปเป็นตัวนำจิตให้เกิดสมาธิถึงระดับนั้น เทียบเพ่งกสิณได้เลย เพียงเปลี่ยนคำบริกรรมตามสภาพที่ใช้ ในที่นี้ ใช้พุทธรูป ก็ "พุทธรูปัง กสิณัง.ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ" เบื้องต้นลืมตาภาวนาในใจอย่างนั้น ร้อยหน พันหน หมื่นหน แสนหน ล้านหน หลายๆล้านหน ว่าไป จนจำติดตา ติดใจ หลับตาเห็นเช่นนั้น แล้วเปลี่ยนเป็นหลับตาเพ่งรูปในใจนั้น ร้อยหน...หลายๆล้านหน ว่าไป จนสามารถนึกย่อภาพนั้นให้เล็กก็ได้ ขยายให้ใหญ่โตก็ได้ สำเร็จแล้ว

แค่นี้อย่าคิดว่าง่ายนะ ของกล้วยๆนะ :b32:


คริคริ

ทำขยาย เล็กใหญ่
ด้วยความรู้สึก นึกคิด



tongue


นั่นแหละอำนาจจิต อำนาจความรู้สึกนึกคิด :b1:


คริคริ
เพราะลุงกรัชกาย ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม
เรยไม่รู้ว่า

นั่นมันอำนาจความรู้สึกนึกคิด เป็น เจตสิก
ที่ปรุงแต่งจิตค่ะ

tongue


จะกินก๋วยเตี๋ยวต้องปรุงแต่งให้มีรสมีชาติ ชิมดูก่อนขาดอะไร อ้อขาดเค็ม เติมน้ำปลาหน่อย ต้องการเผ็ด ก็ใสพริกป่นหน่อย แล้วลองชิมดู อ้อขาดหวานนิดนุง เติมน้ำตาลหน่อย นี่เรียกว่าปรุงแต่ง เพื่อให้มีรสชาติ คิกๆๆ จริงๆนะทำเป็นเล่นไป


คริคริ

คุณลุงยกพระสูตรข้างบนมา ฝังตัวเองแล้วหละลุงกรัชกาย

ก็แสดงว่า อยากได้รสชาด ก็เป็นทาสแห่งจิต เป็นทาสแห่งความคิดอยู่ไงค๊ะ

ลุงกรัชกาย เรย คิดอยากจะกินคูถเน่า มูตรเน่าปรุงรสต่อ

ก๊ากๆๆ
tongue


เป็นวิธีปรุงแต่ง ระดับนี้ต้องรู้จักปรุงแต่ง คิกๆๆ ปรุงแต่งไม่เป็นก็เท่ากับเพ้อฝันเอา

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ก.ย. 2019, 21:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คคห.กราบพระสามครั้งก็เป็นวิธีหนึ่ง อีกวิธีหนึ่ง ซึ่งลึกลงไปถึงตัวจิตใจเลย โดยใช้พระพุทธรูปนั้นเป็นสิ่งให้จิตยึดให้จิตเกาะ

อ้างคำพูด:
"คนไม่มีศิลป์ทำเพชรให้เป็นขยะ คนมีศิลปะทำขยะให้เป็นเพชร" ... "คนโลภ ใช้พุทธศิลป์ได้เพียงแค่อุปกรณ์หาทรัพย์ คนมีปัญญาถึงระดับ ใช้พุทธศิลป์เป็นอุปกรณ์ดำเนินถึงพระนฤพาน"


http://static.weloveshopping.com/shop/a ... dleaf1.jpg

ตามหลักนี้

ฌานสมาบัติทั้งหลาย นอกจากจะเป็นพื้นฐานที่ดีในการปฏิบัติเพื่อบรรลุนิพพานแล้ว บางครั้งท่านยังเรียกเป็นนิพพานโดยปริยาย คือ โดยอ้อม หรือโดยความหมายบางแง่บางด้านอีกด้วย เช่น มีพุทธพจน์ตรัสเรียก ฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ และสัญญาเวทยิตนิโรธ แต่ละอย่างๆ ว่าเป็นตทังคนิพพาน บ้าง ทิฏฐธรรมนิพพาน บ้าง สันทิฏฐิกนิพพาน บ้าง เช่น ข้อความในบาลีว่า

"ภิกษุผู้สงบจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม ฯลฯ เข้าถึงปฐมฌาน แม้เท่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า เป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยปริยาย ฯลฯ

"ภิกษุก้าวล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึงสัญญาเวทยิตนิโรธอยู่ เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอก็หมดสิ้นไป แม้เพียงเท่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า เป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยนิปริยาย "

ผู้ที่กำลังเจริญวิปัสสนา มองเห็นขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีอันจะต้องผันแปรไปเป็นธรรมดา ละความโศกเศร้าเป็นต้นเสียได้ หมดความร่านรนกระวนกระวาย อยู่เป็นสุข ท่านก็เรียกว่าเป็นผู้ตทังคนิพพาน

มีพุทธพจน์น่าสนใจแห่งหนึ่ง ตรัสว่า คนที่ถูกราคะ โทสะ โมหะ ครอบงำ ย่อมคิดในทางที่จะทำตนเองให้ลำบากเดือดร้อนบ้าง ทำคนอื่นให้ลำบากเดือดร้อนบ้าง ทำทั้งตนเองและผู้อื่นให้ลำบากเดือด ร้อนทั้งสองฝ่ายบ้าง ย่อมเสวยทุกขโทมนัสทางใจบ้าง ครั้นเขาละราคะ โทสะ โมหะ ได้แล้ว เขาก็ไม่คิดในทางที่จะทำตนเองหรือทำผู้อื่น หรือทั้งสองฝ่ายให้ลำบากเดือดร้อน ไม่ต้องเสวยทุกขโทมนัสทางใจ อย่างนี้แหละเป็นสันทิฏฐิกนิพพาน
เมื่อใดบุคคลผู้นี้เสวยภาวะปลอดราคะสิ้นเชิง ภาวะปลอดโทสะสิ้นเชิง ภาวะปลอดโมหะสิ้นเชิง อย่างนี้แล คือ นิพพานที่เป็นสันทิฏฐิกะ อกาลิกะ เอหิปัสสิกะ โอปนยิกะ ปัจจัตตัง เวทิตัพพัง วิญญูหิ (ซึ่งวิญญูชน พึงทราบจำเพาะตน) *
(องฺ.ติก.20,495/202)



การฝึกโดยใช้พระพุทธรูปเป็นตัวนำจิตให้เกิดสมาธิถึงระดับนั้น เทียบเพ่งกสิณได้เลย เพียงเปลี่ยนคำบริกรรมตามสภาพที่ใช้ ในที่นี้ ใช้พุทธรูป ก็ "พุทธรูปัง กสิณัง.ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ" เบื้องต้นลืมตาภาวนาในใจอย่างนั้น ร้อยหน พันหน หมื่นหน แสนหน ล้านหน หลายๆล้านหน ว่าไป จนจำติดตา ติดใจ หลับตาเห็นเช่นนั้น แล้วเปลี่ยนเป็นหลับตาเพ่งรูปในใจนั้น ร้อยหน...หลายๆล้านหน ว่าไป จนสามารถนึกย่อภาพนั้นให้เล็กก็ได้ ขยายให้ใหญ่โตก็ได้ สำเร็จแล้ว

แค่นี้อย่าคิดว่าง่ายนะ ของกล้วยๆนะ :b32:


คริคริ

ทำขยาย เล็กใหญ่
ด้วยความรู้สึก นึกคิด



tongue


นั่นแหละอำนาจจิต อำนาจความรู้สึกนึกคิด :b1:


คริคริ
เพราะลุงกรัชกาย ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม
เรยไม่รู้ว่า

นั่นมันอำนาจความรู้สึกนึกคิด เป็น เจตสิก
ที่ปรุงแต่งจิตค่ะ

tongue


จะกินก๋วยเตี๋ยวต้องปรุงแต่งให้มีรสมีชาติ ชิมดูก่อนขาดอะไร อ้อขาดเค็ม เติมน้ำปลาหน่อย ต้องการเผ็ด ก็ใสพริกป่นหน่อย แล้วลองชิมดู อ้อขาดหวานนิดนุง เติมน้ำตาลหน่อย นี่เรียกว่าปรุงแต่ง เพื่อให้มีรสชาติ คิกๆๆ จริงๆนะทำเป็นเล่นไป


คริคริ

คุณลุงยกพระสูตรข้างบนมา ฝังตัวเองแล้วหละลุงกรัชกาย

ก็แสดงว่า อยากได้รสชาด ก็เป็นทาสแห่งจิต เป็นทาสแห่งความคิดอยู่ไงค๊ะ

ลุงกรัชกาย เรย คิดอยากจะกินคูถเน่า มูตรเน่าปรุงรสต่อ

ก๊ากๆๆ
tongue


เป็นวิธีปรุงแต่ง ระดับนี้ต้องรู้จักปรุงแต่ง คิกๆๆ ปรุงแต่งไม่เป็นก็เท่ากับเพ้อฝันเอา

คริคริ
ปรุงแต่งรสคูถ รสมูตรเน่า

grin


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ก.ย. 2019, 05:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:

คริคริ
ปรุงแต่งรสคูถ รสมูตรเน่า

grin


หมิ่นพระวินัย ตกนรกเอ้า :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ก.ย. 2019, 18:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คคห.กราบพระสามครั้งก็เป็นวิธีหนึ่ง อีกวิธีหนึ่ง ซึ่งลึกลงไปถึงตัวจิตใจเลย โดยใช้พระพุทธรูปนั้นเป็นสิ่งให้จิตยึดให้จิตเกาะ

อ้างคำพูด:
"คนไม่มีศิลป์ทำเพชรให้เป็นขยะ คนมีศิลปะทำขยะให้เป็นเพชร" ... "คนโลภ ใช้พุทธศิลป์ได้เพียงแค่อุปกรณ์หาทรัพย์ คนมีปัญญาถึงระดับ ใช้พุทธศิลป์เป็นอุปกรณ์ดำเนินถึงพระนฤพาน"


http://static.weloveshopping.com/shop/a ... dleaf1.jpg



ฌานสมาบัติทั้งหลาย นอกจากจะเป็นพื้นฐานที่ดีในการปฏิบัติเพื่อบรรลุนิพพานแล้ว บางครั้งท่านยังเรียกเป็นนิพพานโดยปริยาย คือ โดยอ้อม หรือโดยความหมายบางแง่บางด้านอีกด้วย เช่น มีพุทธพจน์ตรัสเรียก ฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ และสัญญาเวทยิตนิโรธ แต่ละอย่างๆ ว่าเป็นตทังคนิพพาน บ้าง ทิฏฐธรรมนิพพาน บ้าง สันทิฏฐิกนิพพาน บ้าง เช่น ข้อความในบาลีว่า

"ภิกษุผู้สงบจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม ฯลฯ เข้าถึงปฐมฌาน แม้เท่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า เป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยปริยาย ฯลฯ

"ภิกษุก้าวล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึงสัญญาเวทยิตนิโรธอยู่ เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอก็หมดสิ้นไป แม้เพียงเท่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า เป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยนิปริยาย "

ผู้ที่กำลังเจริญวิปัสสนา มองเห็นขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีอันจะต้องผันแปรไปเป็นธรรมดา ละความโศกเศร้าเป็นต้นเสียได้ หมดความร่านรนกระวนกระวาย อยู่เป็นสุข ท่านก็เรียกว่าเป็นผู้ตทังคนิพพาน

มีพุทธพจน์น่าสนใจแห่งหนึ่ง ตรัสว่า คนที่ถูกราคะ โทสะ โมหะ ครอบงำ ย่อมคิดในทางที่จะทำตนเองให้ลำบากเดือดร้อนบ้าง ทำคนอื่นให้ลำบากเดือดร้อนบ้าง ทำทั้งตนเองและผู้อื่นให้ลำบากเดือด ร้อนทั้งสองฝ่ายบ้าง ย่อมเสวยทุกขโทมนัสทางใจบ้าง ครั้นเขาละราคะ โทสะ โมหะ ได้แล้ว เขาก็ไม่คิดในทางที่จะทำตนเองหรือทำผู้อื่น หรือทั้งสองฝ่ายให้ลำบากเดือดร้อน ไม่ต้องเสวยทุกขโทมนัสทางใจ อย่างนี้แหละเป็นสันทิฏฐิกนิพพาน
เมื่อใดบุคคลผู้นี้เสวยภาวะปลอดราคะสิ้นเชิง ภาวะปลอดโทสะสิ้นเชิง ภาวะปลอดโมหะสิ้นเชิง อย่างนี้แล คือ นิพพานที่เป็นสันทิฏฐิกะ อกาลิกะ เอหิปัสสิกะ โอปนยิกะ ปัจจัตตัง เวทิตัพพัง วิญญูหิ (ซึ่งวิญญูชน พึงทราบจำเพาะตน) *
(องฺ.ติก.20,495/202)



การฝึกโดยใช้พระพุทธรูปเป็นตัวนำจิตให้เกิดสมาธิถึงระดับนั้น เทียบเพ่งกสิณได้เลย เพียงเปลี่ยนคำบริกรรมตามสภาพที่ใช้ ในที่นี้ ใช้พุทธรูป ก็ "พุทธรูปัง กสิณัง.ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ" เบื้องต้นลืมตาภาวนาในใจอย่างนั้น ร้อยหน พันหน หมื่นหน แสนหน ล้านหน หลายๆล้านหน ว่าไป จนจำติดตา ติดใจ หลับตาเห็นเช่นนั้น แล้วเปลี่ยนเป็นหลับตาเพ่งรูปในใจนั้น ร้อยหน...หลายๆล้านหน ว่าไป จนสามารถนึกย่อภาพนั้นให้เล็กก็ได้ ขยายให้ใหญ่โตก็ได้ สำเร็จแล้ว

แค่นี้อย่าคิดว่าง่ายนะ ของกล้วยๆนะ :b32:


ตัวอย่างเขาผู้นี้เพ่งจุดใดๆ

อ้างคำพูด:
แต่พอมาอยู่อเมริกาคนเดียวในที่สงบ ก็ทำให้เกิดแรงบันดาลใจที่อยากจะทำสมาธิ

ฉันเริ่มจากการเพ่งจุดที่เพดาน ขณะที่นอน จุดอะไรก็ได้ ให้จิตรวมเป็นจุดเดียว
ขณะที่นั่งก็จะหาจุดอะไรก็ได้ที่อยู่ตรงหน้า จนรู้สึกว่า จิตเกือบจะรวมได้แล้ว ก็ทำต่อไปเรื่อยๆ


จนวันหนึ่ง มีญาติมาจากเมืองไทย ฉันพาเขาไปซื้อของที่ห้าง ฉันขี้เกียจเดินขอนั่งรอในรถ
ขณะที่รอ ฉันก็ใช้เวลาที่รอเพ่งจุดขี้ผึ้ง นานเป็นชั่วโมง ฉันรู้สึกเหมือนตัวจะลอยได้ มันเบาหวิว ไม่ได้ยิน ไม่ได้เห็นอะไรเลย มันว่างเปล่า ฉันจึงรู้ว่าฉันทำได้แล้ว มันเป็นความสบายโล่งอย่างบอกไม่ถูก บุญกุศลคงจะสนองฉัน ฉันดีใจมากที่ทำสำเร็จ
ตั้งแต่นั้นมา ฉันอยากจะทำสมาธิเมื่อไหร่ก็ทำได้ แม้เพียงนั่งอยู่แค่ไม่กี่นาทีก็ทำได้

ทุกครั้งที่ฉันเหนื่อย เครียด ฉันก็จะหยุดจิตนั่งสมาธิแค่ ๑๕ นาทีก็หายเหนื่อย ใครจะนำวิธีของฉันไปใช้บ้างก็ได้ จะได้เป็นกุศลมาถึงฉันด้วย คุณไม่ต้องเสียเวลาไปฝึกที่วัด แค่เพียง ทำจิตให้นิ่งได้ สักวันหนึ่ง คุณก็จะพบความสุขที่แท้จริง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ก.ย. 2019, 21:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:

คริคริ
ปรุงแต่งรสคูถ รสมูตรเน่า

grin


หมิ่นพระวินัย ตกนรกเอ้า :b1:

คริคริ

พระวินัย ไม่ได้บังคับให้พระทุกองค์ ให้ต้อง กินคูถเน่า มูตรเน่านี่ค๊ะ
tongue


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ก.ย. 2019, 09:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


มุมมองของพุทธศาสนิกเมียนม่าต่อกรณีภาพวาด


.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ก.ย. 2019, 09:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:

คริคริ
ปรุงแต่งรสคูถ รสมูตรเน่า

grin


หมิ่นพระวินัย ตกนรกเอ้า :b1:

คริคริ

พระวินัย ไม่ได้บังคับให้พระทุกองค์ ให้ต้อง กินคูถเน่า มูตรเน่านี่ค๊ะ
tongue


เขากินของเขาเอง เยี่ยวเขาก็กินของเขาเอง ไม่มีใครบังคับ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 70 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 40 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร