วันเวลาปัจจุบัน 27 ก.ค. 2025, 20:07  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 88 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 21:24 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กักกาย..เอาปัญหาตัวเอง.มาถามมั้ง...

ลงมือปฏิบัตืสมาธิแล้วเป็นยังงัย...ก็เอามาถามซี้...มีคนตอบให้แล้ว...

:b32: :b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 21:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
กักกาย..เอาปัญหาตัวเอง.มาถามมั้ง...

ลงมือปฏิบัตืสมาธิแล้วเป็นยังงัย...ก็เอามาถามซี้...มีคนตอบให้แล้ว...



ทั้งหลายทั้งปวงนั่นแหละบททดสอบ :b13:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 21:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ก.พ. 2011, 19:56
โพสต์: 1798


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะเป็นสิ่งอันตราย
s007


นึกถึงกระทู้ก่อนหน้าโน่น :b13:

อ้างคำพูด:
อ้างคำพูด:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
ฟังพระธรรม เพื่อให้เข้าใจ ว่าทุกอย่างเป็นธรรมะ ไม่ใช่ตัวตน

เห็นการสอนของสำนักนี้แล้ว น่าเป็นห่วงพระพุทธศาสนา "ทุกอย่างเป็นธรรมะ ไม่ใช่ตัวตน" คิกๆๆ เละเทะเลอะเทอะสะไม่มี

ปฤษฎี
ตั้งสิ จะไปสนทนาด้วย น่าสนุกดีนะ

viewtopic.php?f=1&t=56225


เราก็รอสนทนากันอยู่


คุณกรัชกายไปสนทนาใน Dhammahome ดีมั้ย รับรองมีคนมาตอบเยอะแยะเลย


เป็นเวปบอร์ดหรอขอรับ ขอลิงค์หน่อยสิ


อ่าวนึกว่ารู้จัก dhammahome.com ครับ ตามนี้ ท่านอาจารย์สุจินต์ท่านมีชื่อเสียงแสดงธรรมมานานหลายปี ผมก็ฟังหมดแหละครับอะไรดีเราก็เก็บไว้ อันไหนเราไม่เห็นด้วยก็ปล่อยไป ในนี้มีทั้งไฟล์เสียง ไฟล์วีดีโอ กระทู้ต่างๆ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 21:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ก.พ. 2011, 19:56
โพสต์: 1798


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะ เป็นสิ่งอันตราย
s007


มานะ เป็นสังโยชน์ขั้นละเอียด พระอรหันต์โน่นจึงละได้ ต้องปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาอย่างถูกต้องด้วย จึงละมานะได้ มิใช่ละนั่นละนี่ตามอำเภอใจ :b1: ถ้าแบบนี้เดี๋ยวพระอรหันต์เกลื่อนเมือง :b32: หรือคุณปฤษฎีเป็นอรหันต์

แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรืออริยบุคคล ๘

เกณฑ์แบ่งแบบนี้ จัดตามกิเลส คือ สังโยชน์ที่ละได้ในแต่ละขั้น พร้อมไปกับความความก้าวหน้าในการบำเพ็ญไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ดังนั้นจึงควรรู้จักสังโยชน์ไว้ก่อน

สังโยชน์ แปลตามศัพท์ว่า เครื่องผูก หมายถึงกิเลสที่ผูกใจสัตว์ หรืออกุศลธรรมที่ผูกมัดสัตว์ไว้กับทุกข์ในสังสารวัฏฏ์ เหมือนผูกเทียมสัตว์ไว้กับรถ มี ๑๐ อย่าง * คือ

ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องต่ำ หรือขั้นหยาบ) ๕ อย่าง คือ

๑ . สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ความเห็นที่ยังติดแน่นในสมมติว่าเป็นตัวตน เราเขา เป็นนั่นเป็นนี่ มองไม่เห็นสภาพความจริง ที่สัตว์บุคคลเป็นเพียงองค์ประกอบต่างๆ มาประชุมกันเข้า ทำให้มีความเห็นแก่ตัวในขั้นหยาบ และความรู้สึกกระทบกระทั่งบีบคั้นเป็นทุกข์ได้รุนแรง *

๒. วิจิกิจฉา ความลังเล สงสัย เคลือบแคลงต่างๆ เช่น สงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในเรื่องที่มาที่ไปของชีวิต ในปฏิจจสมุปบาท เป็นต้น ทำให้ไม่มั่นใจ ไม่เข้มแข็งแกล้วกล้าที่จะดำเนินชีวิตตามหลักธรรม ด้วยความมีเหตุมีผล และในการที่จะเดินหน้าแน่วดิ่งไปในอริยมรรคา

๓. สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต คือความยึดถือผิดพลาดไปว่า จะบริสุทธิ์ จะหลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและพรต ได้แก่ การถือศีล ระเบียบ แบบแผน บทบัญญัติ และข้อปฏิบัติต่างๆ โดยสักว่าทำตามๆกันไปอย่างงมงาย เห็นเป็นขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ ติดอยู่แต่รูปแบบหรือพิธีรีตอง ก็ดี
ถือด้วยตัณหาและทิฏฐิ คือ ปฏิบัติเพราะอยากได้ผลประโยชน์ตอบแทนอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเพราะเห็นว่าจะทำให้ได้เป็นนั่นเป็นนี่ ก็ดี
ไม่เป็นไปตามความหมาย และความมุ่งหมายที่แท้จริงของศีลและพรต ทำให้เขวออกนอกลู่นอกทาง หรือเลยเถิดไป เป็นอย่างศีลและพรตของนักบำเพ็ญตบะ เป็นต้น ไม่เข้าสู่อริยมรรค

๔. กามราคะ ความติดใคร่ในกาม ความอยากได้ใฝ่หาในเรื่องรูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่ชอบใจ

๕. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ความหงุดหงิดขัดเคือง หรืองุ่นง่านใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องสูง หรือขั้นละเอียด) ๕ อย่าง คือ

๖. รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน พอใจในรสความสุข ความสงบของสมาธิขั้นรูปฌาน ติดใจปรารถนาในรูปภพ เป็นต้น

๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน ติดใจปรารถนาในอรูปภพ เป็นต้น

๘. มานะ ความถือตัว ความสำคัญตนเป็นนั่นเป็นนี่ เช่นว่า สูงกว่าเขา เท่าเทียบเขา ต่ำกว่าเขา เป็นต้น

๙. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน จิตใจไม่สงบ ว้าวุ่น ซัดส่าย คิดพล่านไป

๑๐. อวิชชา ความไม่รู้จริง ไม่รู้เท่าทันสภาวะ ไม่เข้าใจกฎธรรมดาแห่งเหตุและผล หรือไม่รู้อริยสัจ


ละไม่ได้ ก็ควรรู้ว่ามี แล้วก็ไม่ต้องเอามาอวด เอามาข่มมาบลัฟกัน มาดูถูกกันจริงไหม
แล้วแต่นะ เรื่อง ข่มกันด้วยธรรมะ นี่มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว คือมันไม่มีประโยชน์


คุณตีโพยตีพายไปเองแท้ๆ ไม่ได้เอามาข่ม นำมาให้ดู เช่น (ตัดมา)

ประเด็นที่พบ

การนั่งครั้งหลังๆมานี้ เกิดสภาวะคล้ายๆเดิม ตลอดเกือบทุกครั้ง คือ มือหายไปจากความรู้สึก ไม่รู้สึกว่ามีมืออยู่ (รู้ว่ามี แต่รู้สึกว่าไม่มี ผมอธิบายไม่ถูก เชื่อว่าท่านผู้รู้คงเข้าใจผม) ก้น และต้นขาที่นั่งทับพื้นยังรู้สึกว่ามีอยู่ หลังที่นั่งพิงเก้าอี้ก็รู้สึกว่ายังมีอยู่ คือสรุปว่า มือหายทั้งสองข้าง อย่างอื่นที่เหลือยังรู้สึกถึงได้ อยู่ครบยังไม่หาย มีอาการตัวพองๆ ยุบๆ บ้าง แต่ก็ไม่บ่อย มีอาการหายเกือบทั้งตัวบ้างแต่น้อยมาก แต่ที่แน่ๆ คือ มือทั้งสองข้างหายทุกครั้ง, ทุกครั้งจริงๆครับ นั่งแป๊บเดียวก็หายแล้ว และหายไปจากความรู้สึกตลอดเวลาที่ยังนั่งอยู่

ลมหายใจ เริ่มแผ่วเบาลงเรื่อยๆ จนกระทั่งเหมือนลมหายไป เหมือนไม่ได้หายใจ ในครั้งแรกๆที่เจอสภาวะนี้ ผมตกใจทำอะไรไม่ถูก ตะลีตะลานรีบควานหาลม แล้วก็กลับมาหายใจแบบปกติ,
แต่ในครั้งหลังๆ ผมจะพยายามทนอยู่กับสภาวะนี้ ซึ่งผมจะอึดอัดมาก และในที่สุดผมก็ทนไม่ไหว จนต้องบังคับให้ตัวเองหายใจด้วยการสูดยาว จึงจะกลับมารู้สึกว่าผมหายใจแล้ว ผมจึงเริ่มรู้ลมใหม่ .. แล้วลมก็แผ่ว .. แล้วลมก็หาย .. แล้วผมก็ทน .. แล้วผมก็ทนไม่ไหว .. แล้วผมก็สูดลม .. แล้วผมก็รู้ลม .. แล้วลมก็แผ่ว .. ฯลฯ วนรอบอยู่อย่างนี้ ซ้ำรอบอยู่อย่างนี้

ข้อคำถาม

1. อาการมือหายคืออะไรครับ? ผมเข้าใจว่าไม่ต้องไปสนใจมัน ปล่อยมันใช่ไหมครับ?

2. สภาวะอาการเรื่องลมหายใจ เป็นปัญหาใช่ไหมครับ? ผมควรทำอย่างไรต่อไปครับ?

3. ผมเข้าใจว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจ แต่ผมไม่แน่ใจจริงๆว่า ที่ผมคิดว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจนั้น ผมเข้าใจถูกไหม? ผมยังควรใช้วิธีรู้ลมต่อไปไหม? หรือควรใช้วิธีอื่นดีกว่า? ผมควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากเว็บไหน คลิปไหน กระทู้ไหน จึงจะเหมาะกับสภาวะอาการที่พบเจออยู่?

ขอความกรุณาทุกท่านช่วยแนะนำผมทีเถอะครับ ชี้ทางออกให้ผมด้วยนะครับ ขอขอบคุณมาล่วงหน้าครับ



ข่มไม่ข่มไม่ทราบ อยู่ที่ใจคุณเอง สรุปว่าผมตีโพยตีพายไปเอง โอเคป่ะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 22:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะเป็นสิ่งอันตราย
s007


นึกถึงกระทู้ก่อนหน้าโน่น :b13:

อ้างคำพูด:
อ้างคำพูด:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
ฟังพระธรรม เพื่อให้เข้าใจ ว่าทุกอย่างเป็นธรรมะ ไม่ใช่ตัวตน

เห็นการสอนของสำนักนี้แล้ว น่าเป็นห่วงพระพุทธศาสนา "ทุกอย่างเป็นธรรมะ ไม่ใช่ตัวตน" คิกๆๆ เละเทะเลอะเทอะสะไม่มี

ปฤษฎี
ตั้งสิ จะไปสนทนาด้วย น่าสนุกดีนะ

viewtopic.php?f=1&t=56225


เราก็รอสนทนากันอยู่


คุณกรัชกายไปสนทนาใน Dhammahome ดีมั้ย รับรองมีคนมาตอบเยอะแยะเลย


เป็นเวปบอร์ดหรอขอรับ ขอลิงค์หน่อยสิ


อ่าวนึกว่ารู้จัก dhammahome.com ครับ ตามนี้ ท่านอาจารย์สุจินต์ท่านมีชื่อเสียงแสดงธรรมมานานหลายปี ผมก็ฟังหมดแหละครับอะไรดีเราก็เก็บไว้ อันไหนเราไม่เห็นด้วยก็ปล่อยไป ในนี้มีทั้งไฟล์เสียง ไฟล์วีดีโอ กระทู้ต่างๆ


ไฟล์เสียง วีดีโอ แล้วเราจะโต้เถียงกันยังไงเล่า

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 22:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะ เป็นสิ่งอันตราย
s007


มานะ เป็นสังโยชน์ขั้นละเอียด พระอรหันต์โน่นจึงละได้ ต้องปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาอย่างถูกต้องด้วย จึงละมานะได้ มิใช่ละนั่นละนี่ตามอำเภอใจ :b1: ถ้าแบบนี้เดี๋ยวพระอรหันต์เกลื่อนเมือง :b32: หรือคุณปฤษฎีเป็นอรหันต์

แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรืออริยบุคคล ๘

เกณฑ์แบ่งแบบนี้ จัดตามกิเลส คือ สังโยชน์ที่ละได้ในแต่ละขั้น พร้อมไปกับความความก้าวหน้าในการบำเพ็ญไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ดังนั้นจึงควรรู้จักสังโยชน์ไว้ก่อน

สังโยชน์ แปลตามศัพท์ว่า เครื่องผูก หมายถึงกิเลสที่ผูกใจสัตว์ หรืออกุศลธรรมที่ผูกมัดสัตว์ไว้กับทุกข์ในสังสารวัฏฏ์ เหมือนผูกเทียมสัตว์ไว้กับรถ มี ๑๐ อย่าง * คือ

ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องต่ำ หรือขั้นหยาบ) ๕ อย่าง คือ

๑ . สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ความเห็นที่ยังติดแน่นในสมมติว่าเป็นตัวตน เราเขา เป็นนั่นเป็นนี่ มองไม่เห็นสภาพความจริง ที่สัตว์บุคคลเป็นเพียงองค์ประกอบต่างๆ มาประชุมกันเข้า ทำให้มีความเห็นแก่ตัวในขั้นหยาบ และความรู้สึกกระทบกระทั่งบีบคั้นเป็นทุกข์ได้รุนแรง *

๒. วิจิกิจฉา ความลังเล สงสัย เคลือบแคลงต่างๆ เช่น สงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในเรื่องที่มาที่ไปของชีวิต ในปฏิจจสมุปบาท เป็นต้น ทำให้ไม่มั่นใจ ไม่เข้มแข็งแกล้วกล้าที่จะดำเนินชีวิตตามหลักธรรม ด้วยความมีเหตุมีผล และในการที่จะเดินหน้าแน่วดิ่งไปในอริยมรรคา

๓. สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต คือความยึดถือผิดพลาดไปว่า จะบริสุทธิ์ จะหลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและพรต ได้แก่ การถือศีล ระเบียบ แบบแผน บทบัญญัติ และข้อปฏิบัติต่างๆ โดยสักว่าทำตามๆกันไปอย่างงมงาย เห็นเป็นขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ ติดอยู่แต่รูปแบบหรือพิธีรีตอง ก็ดี
ถือด้วยตัณหาและทิฏฐิ คือ ปฏิบัติเพราะอยากได้ผลประโยชน์ตอบแทนอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเพราะเห็นว่าจะทำให้ได้เป็นนั่นเป็นนี่ ก็ดี
ไม่เป็นไปตามความหมาย และความมุ่งหมายที่แท้จริงของศีลและพรต ทำให้เขวออกนอกลู่นอกทาง หรือเลยเถิดไป เป็นอย่างศีลและพรตของนักบำเพ็ญตบะ เป็นต้น ไม่เข้าสู่อริยมรรค

๔. กามราคะ ความติดใคร่ในกาม ความอยากได้ใฝ่หาในเรื่องรูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่ชอบใจ

๕. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ความหงุดหงิดขัดเคือง หรืองุ่นง่านใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องสูง หรือขั้นละเอียด) ๕ อย่าง คือ

๖. รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน พอใจในรสความสุข ความสงบของสมาธิขั้นรูปฌาน ติดใจปรารถนาในรูปภพ เป็นต้น

๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน ติดใจปรารถนาในอรูปภพ เป็นต้น

๘. มานะ ความถือตัว ความสำคัญตนเป็นนั่นเป็นนี่ เช่นว่า สูงกว่าเขา เท่าเทียบเขา ต่ำกว่าเขา เป็นต้น

๙. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน จิตใจไม่สงบ ว้าวุ่น ซัดส่าย คิดพล่านไป

๑๐. อวิชชา ความไม่รู้จริง ไม่รู้เท่าทันสภาวะ ไม่เข้าใจกฎธรรมดาแห่งเหตุและผล หรือไม่รู้อริยสัจ


ละไม่ได้ ก็ควรรู้ว่ามี แล้วก็ไม่ต้องเอามาอวด เอามาข่มมาบลัฟกัน มาดูถูกกันจริงไหม
แล้วแต่นะ เรื่อง ข่มกันด้วยธรรมะ นี่มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว คือมันไม่มีประโยชน์


คุณตีโพยตีพายไปเองแท้ๆ ไม่ได้เอามาข่ม นำมาให้ดู เช่น (ตัดมา)

ประเด็นที่พบ

การนั่งครั้งหลังๆมานี้ เกิดสภาวะคล้ายๆเดิม ตลอดเกือบทุกครั้ง คือ มือหายไปจากความรู้สึก ไม่รู้สึกว่ามีมืออยู่ (รู้ว่ามี แต่รู้สึกว่าไม่มี ผมอธิบายไม่ถูก เชื่อว่าท่านผู้รู้คงเข้าใจผม) ก้น และต้นขาที่นั่งทับพื้นยังรู้สึกว่ามีอยู่ หลังที่นั่งพิงเก้าอี้ก็รู้สึกว่ายังมีอยู่ คือสรุปว่า มือหายทั้งสองข้าง อย่างอื่นที่เหลือยังรู้สึกถึงได้ อยู่ครบยังไม่หาย มีอาการตัวพองๆ ยุบๆ บ้าง แต่ก็ไม่บ่อย มีอาการหายเกือบทั้งตัวบ้างแต่น้อยมาก แต่ที่แน่ๆ คือ มือทั้งสองข้างหายทุกครั้ง, ทุกครั้งจริงๆครับ นั่งแป๊บเดียวก็หายแล้ว และหายไปจากความรู้สึกตลอดเวลาที่ยังนั่งอยู่

ลมหายใจ เริ่มแผ่วเบาลงเรื่อยๆ จนกระทั่งเหมือนลมหายไป เหมือนไม่ได้หายใจ ในครั้งแรกๆที่เจอสภาวะนี้ ผมตกใจทำอะไรไม่ถูก ตะลีตะลานรีบควานหาลม แล้วก็กลับมาหายใจแบบปกติ,
แต่ในครั้งหลังๆ ผมจะพยายามทนอยู่กับสภาวะนี้ ซึ่งผมจะอึดอัดมาก และในที่สุดผมก็ทนไม่ไหว จนต้องบังคับให้ตัวเองหายใจด้วยการสูดยาว จึงจะกลับมารู้สึกว่าผมหายใจแล้ว ผมจึงเริ่มรู้ลมใหม่ .. แล้วลมก็แผ่ว .. แล้วลมก็หาย .. แล้วผมก็ทน .. แล้วผมก็ทนไม่ไหว .. แล้วผมก็สูดลม .. แล้วผมก็รู้ลม .. แล้วลมก็แผ่ว .. ฯลฯ วนรอบอยู่อย่างนี้ ซ้ำรอบอยู่อย่างนี้

ข้อคำถาม

1. อาการมือหายคืออะไรครับ? ผมเข้าใจว่าไม่ต้องไปสนใจมัน ปล่อยมันใช่ไหมครับ?

2. สภาวะอาการเรื่องลมหายใจ เป็นปัญหาใช่ไหมครับ? ผมควรทำอย่างไรต่อไปครับ?

3. ผมเข้าใจว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจ แต่ผมไม่แน่ใจจริงๆว่า ที่ผมคิดว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจนั้น ผมเข้าใจถูกไหม? ผมยังควรใช้วิธีรู้ลมต่อไปไหม? หรือควรใช้วิธีอื่นดีกว่า? ผมควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากเว็บไหน คลิปไหน กระทู้ไหน จึงจะเหมาะกับสภาวะอาการที่พบเจออยู่?

ขอความกรุณาทุกท่านช่วยแนะนำผมทีเถอะครับ ชี้ทางออกให้ผมด้วยนะครับ ขอขอบคุณมาล่วงหน้าครับ



ข่มไม่ข่มไม่ทราบ อยู่ที่ใจคุณเอง สรุปว่าผมตีโพยตีพายไปเอง โอเคป่ะ


โอเคร คิกๆๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 22:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะ เป็นสิ่งอันตราย
s007


มานะ เป็นสังโยชน์ขั้นละเอียด พระอรหันต์โน่นจึงละได้ ต้องปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาอย่างถูกต้องด้วย จึงละมานะได้ มิใช่ละนั่นละนี่ตามอำเภอใจ :b1: ถ้าแบบนี้เดี๋ยวพระอรหันต์เกลื่อนเมือง :b32: หรือคุณปฤษฎีเป็นอรหันต์

แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรืออริยบุคคล ๘

เกณฑ์แบ่งแบบนี้ จัดตามกิเลส คือ สังโยชน์ที่ละได้ในแต่ละขั้น พร้อมไปกับความความก้าวหน้าในการบำเพ็ญไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ดังนั้นจึงควรรู้จักสังโยชน์ไว้ก่อน

สังโยชน์ แปลตามศัพท์ว่า เครื่องผูก หมายถึงกิเลสที่ผูกใจสัตว์ หรืออกุศลธรรมที่ผูกมัดสัตว์ไว้กับทุกข์ในสังสารวัฏฏ์ เหมือนผูกเทียมสัตว์ไว้กับรถ มี ๑๐ อย่าง * คือ

ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องต่ำ หรือขั้นหยาบ) ๕ อย่าง คือ

๑ . สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ความเห็นที่ยังติดแน่นในสมมติว่าเป็นตัวตน เราเขา เป็นนั่นเป็นนี่ มองไม่เห็นสภาพความจริง ที่สัตว์บุคคลเป็นเพียงองค์ประกอบต่างๆ มาประชุมกันเข้า ทำให้มีความเห็นแก่ตัวในขั้นหยาบ และความรู้สึกกระทบกระทั่งบีบคั้นเป็นทุกข์ได้รุนแรง *

๒. วิจิกิจฉา ความลังเล สงสัย เคลือบแคลงต่างๆ เช่น สงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในเรื่องที่มาที่ไปของชีวิต ในปฏิจจสมุปบาท เป็นต้น ทำให้ไม่มั่นใจ ไม่เข้มแข็งแกล้วกล้าที่จะดำเนินชีวิตตามหลักธรรม ด้วยความมีเหตุมีผล และในการที่จะเดินหน้าแน่วดิ่งไปในอริยมรรคา

๓. สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต คือความยึดถือผิดพลาดไปว่า จะบริสุทธิ์ จะหลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและพรต ได้แก่ การถือศีล ระเบียบ แบบแผน บทบัญญัติ และข้อปฏิบัติต่างๆ โดยสักว่าทำตามๆกันไปอย่างงมงาย เห็นเป็นขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ ติดอยู่แต่รูปแบบหรือพิธีรีตอง ก็ดี
ถือด้วยตัณหาและทิฏฐิ คือ ปฏิบัติเพราะอยากได้ผลประโยชน์ตอบแทนอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเพราะเห็นว่าจะทำให้ได้เป็นนั่นเป็นนี่ ก็ดี
ไม่เป็นไปตามความหมาย และความมุ่งหมายที่แท้จริงของศีลและพรต ทำให้เขวออกนอกลู่นอกทาง หรือเลยเถิดไป เป็นอย่างศีลและพรตของนักบำเพ็ญตบะ เป็นต้น ไม่เข้าสู่อริยมรรค

๔. กามราคะ ความติดใคร่ในกาม ความอยากได้ใฝ่หาในเรื่องรูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่ชอบใจ

๕. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ความหงุดหงิดขัดเคือง หรืองุ่นง่านใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องสูง หรือขั้นละเอียด) ๕ อย่าง คือ

๖. รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน พอใจในรสความสุข ความสงบของสมาธิขั้นรูปฌาน ติดใจปรารถนาในรูปภพ เป็นต้น

๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน ติดใจปรารถนาในอรูปภพ เป็นต้น

๘. มานะ ความถือตัว ความสำคัญตนเป็นนั่นเป็นนี่ เช่นว่า สูงกว่าเขา เท่าเทียบเขา ต่ำกว่าเขา เป็นต้น

๙. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน จิตใจไม่สงบ ว้าวุ่น ซัดส่าย คิดพล่านไป

๑๐. อวิชชา ความไม่รู้จริง ไม่รู้เท่าทันสภาวะ ไม่เข้าใจกฎธรรมดาแห่งเหตุและผล หรือไม่รู้อริยสัจ


ละไม่ได้ ก็ควรรู้ว่ามี แล้วก็ไม่ต้องเอามาอวด เอามาข่มมาบลัฟกัน มาดูถูกกันจริงไหม
แล้วแต่นะ เรื่อง ข่มกันด้วยธรรมะ นี่มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว คือมันไม่มีประโยชน์


คุณตีโพยตีพายไปเองแท้ๆ ไม่ได้เอามาข่ม นำมาให้ดู เช่น (ตัดมา)

ประเด็นที่พบ

การนั่งครั้งหลังๆมานี้ เกิดสภาวะคล้ายๆเดิม ตลอดเกือบทุกครั้ง คือ มือหายไปจากความรู้สึก ไม่รู้สึกว่ามีมืออยู่ (รู้ว่ามี แต่รู้สึกว่าไม่มี ผมอธิบายไม่ถูก เชื่อว่าท่านผู้รู้คงเข้าใจผม) ก้น และต้นขาที่นั่งทับพื้นยังรู้สึกว่ามีอยู่ หลังที่นั่งพิงเก้าอี้ก็รู้สึกว่ายังมีอยู่ คือสรุปว่า มือหายทั้งสองข้าง อย่างอื่นที่เหลือยังรู้สึกถึงได้ อยู่ครบยังไม่หาย มีอาการตัวพองๆ ยุบๆ บ้าง แต่ก็ไม่บ่อย มีอาการหายเกือบทั้งตัวบ้างแต่น้อยมาก แต่ที่แน่ๆ คือ มือทั้งสองข้างหายทุกครั้ง, ทุกครั้งจริงๆครับ นั่งแป๊บเดียวก็หายแล้ว และหายไปจากความรู้สึกตลอดเวลาที่ยังนั่งอยู่

ลมหายใจ เริ่มแผ่วเบาลงเรื่อยๆ จนกระทั่งเหมือนลมหายไป เหมือนไม่ได้หายใจ ในครั้งแรกๆที่เจอสภาวะนี้ ผมตกใจทำอะไรไม่ถูก ตะลีตะลานรีบควานหาลม แล้วก็กลับมาหายใจแบบปกติ,
แต่ในครั้งหลังๆ ผมจะพยายามทนอยู่กับสภาวะนี้ ซึ่งผมจะอึดอัดมาก และในที่สุดผมก็ทนไม่ไหว จนต้องบังคับให้ตัวเองหายใจด้วยการสูดยาว จึงจะกลับมารู้สึกว่าผมหายใจแล้ว ผมจึงเริ่มรู้ลมใหม่ .. แล้วลมก็แผ่ว .. แล้วลมก็หาย .. แล้วผมก็ทน .. แล้วผมก็ทนไม่ไหว .. แล้วผมก็สูดลม .. แล้วผมก็รู้ลม .. แล้วลมก็แผ่ว .. ฯลฯ วนรอบอยู่อย่างนี้ ซ้ำรอบอยู่อย่างนี้

ข้อคำถาม

1. อาการมือหายคืออะไรครับ? ผมเข้าใจว่าไม่ต้องไปสนใจมัน ปล่อยมันใช่ไหมครับ?

2. สภาวะอาการเรื่องลมหายใจ เป็นปัญหาใช่ไหมครับ? ผมควรทำอย่างไรต่อไปครับ?

3. ผมเข้าใจว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจ แต่ผมไม่แน่ใจจริงๆว่า ที่ผมคิดว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจนั้น ผมเข้าใจถูกไหม? ผมยังควรใช้วิธีรู้ลมต่อไปไหม? หรือควรใช้วิธีอื่นดีกว่า? ผมควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากเว็บไหน คลิปไหน กระทู้ไหน จึงจะเหมาะกับสภาวะอาการที่พบเจออยู่?

ขอความกรุณาทุกท่านช่วยแนะนำผมทีเถอะครับ ชี้ทางออกให้ผมด้วยนะครับ ขอขอบคุณมาล่วงหน้าครับ



ข่มไม่ข่มไม่ทราบ อยู่ที่ใจคุณเอง สรุปว่าผมตีโพยตีพายไปเอง โอเคป่ะ



คุณปฤษฎี เท่าที่ถกเถียงกับคุณโรสไปหลายช่วงหลายตอน ก็พอรู้แล้วว่า แม่สุจิน ไม่ให้ทำสมาธิ ข้อนี้เราก็ต่างกันในเบื้องต้นแล้ว

แล้วก็เท่ากับปฏิเสธ สมาธิ ซึ่งเป็นหนึ่งในสิกขา ๓ (ศีล สมาธิ ปัญญา) ถูกไหม

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 11 มี.ค. 2019, 22:08, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 22:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ก.พ. 2011, 19:56
โพสต์: 1798


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะเป็นสิ่งอันตราย
s007


นึกถึงกระทู้ก่อนหน้าโน่น :b13:

อ้างคำพูด:
อ้างคำพูด:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
ฟังพระธรรม เพื่อให้เข้าใจ ว่าทุกอย่างเป็นธรรมะ ไม่ใช่ตัวตน

เห็นการสอนของสำนักนี้แล้ว น่าเป็นห่วงพระพุทธศาสนา "ทุกอย่างเป็นธรรมะ ไม่ใช่ตัวตน" คิกๆๆ เละเทะเลอะเทอะสะไม่มี

ปฤษฎี
ตั้งสิ จะไปสนทนาด้วย น่าสนุกดีนะ

viewtopic.php?f=1&t=56225


เราก็รอสนทนากันอยู่


คุณกรัชกายไปสนทนาใน Dhammahome ดีมั้ย รับรองมีคนมาตอบเยอะแยะเลย


เป็นเวปบอร์ดหรอขอรับ ขอลิงค์หน่อยสิ


อ่าวนึกว่ารู้จัก dhammahome.com ครับ ตามนี้ ท่านอาจารย์สุจินต์ท่านมีชื่อเสียงแสดงธรรมมานานหลายปี ผมก็ฟังหมดแหละครับอะไรดีเราก็เก็บไว้ อันไหนเราไม่เห็นด้วยก็ปล่อยไป ในนี้มีทั้งไฟล์เสียง ไฟล์วีดีโอ กระทู้ต่างๆ


ไฟล์เสียง วีดีโอ แล้วเราจะโต้เถียงกันยังไงเล่า


เค้ามีบอร์ดสนทนา คุณเข้าไปดูยัง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 22:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะเป็นสิ่งอันตราย
s007


นึกถึงกระทู้ก่อนหน้าโน่น :b13:

อ้างคำพูด:
อ้างคำพูด:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
ฟังพระธรรม เพื่อให้เข้าใจ ว่าทุกอย่างเป็นธรรมะ ไม่ใช่ตัวตน

เห็นการสอนของสำนักนี้แล้ว น่าเป็นห่วงพระพุทธศาสนา "ทุกอย่างเป็นธรรมะ ไม่ใช่ตัวตน" คิกๆๆ เละเทะเลอะเทอะสะไม่มี

ปฤษฎี
ตั้งสิ จะไปสนทนาด้วย น่าสนุกดีนะ

viewtopic.php?f=1&t=56225


เราก็รอสนทนากันอยู่


คุณกรัชกายไปสนทนาใน Dhammahome ดีมั้ย รับรองมีคนมาตอบเยอะแยะเลย


เป็นเวปบอร์ดหรอขอรับ ขอลิงค์หน่อยสิ


อ่าวนึกว่ารู้จัก dhammahome.com ครับ ตามนี้ ท่านอาจารย์สุจินต์ท่านมีชื่อเสียงแสดงธรรมมานานหลายปี ผมก็ฟังหมดแหละครับอะไรดีเราก็เก็บไว้ อันไหนเราไม่เห็นด้วยก็ปล่อยไป ในนี้มีทั้งไฟล์เสียง ไฟล์วีดีโอ กระทู้ต่างๆ


ไฟล์เสียง วีดีโอ แล้วเราจะโต้เถียงกันยังไงเล่า


เค้ามีบอร์ดสนทนา คุณเข้าไปดูยัง


เคยเข้าไปเห็นเป็นรูปลักษณะเฟสนะ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 22:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะ เป็นสิ่งอันตราย
s007


มานะ เป็นสังโยชน์ขั้นละเอียด พระอรหันต์โน่นจึงละได้ ต้องปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาอย่างถูกต้องด้วย จึงละมานะได้ มิใช่ละนั่นละนี่ตามอำเภอใจ :b1: ถ้าแบบนี้เดี๋ยวพระอรหันต์เกลื่อนเมือง :b32: หรือคุณปฤษฎีเป็นอรหันต์

แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรืออริยบุคคล ๘

เกณฑ์แบ่งแบบนี้ จัดตามกิเลส คือ สังโยชน์ที่ละได้ในแต่ละขั้น พร้อมไปกับความความก้าวหน้าในการบำเพ็ญไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ดังนั้นจึงควรรู้จักสังโยชน์ไว้ก่อน

สังโยชน์ แปลตามศัพท์ว่า เครื่องผูก หมายถึงกิเลสที่ผูกใจสัตว์ หรืออกุศลธรรมที่ผูกมัดสัตว์ไว้กับทุกข์ในสังสารวัฏฏ์ เหมือนผูกเทียมสัตว์ไว้กับรถ มี ๑๐ อย่าง * คือ

ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องต่ำ หรือขั้นหยาบ) ๕ อย่าง คือ

๑ . สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ความเห็นที่ยังติดแน่นในสมมติว่าเป็นตัวตน เราเขา เป็นนั่นเป็นนี่ มองไม่เห็นสภาพความจริง ที่สัตว์บุคคลเป็นเพียงองค์ประกอบต่างๆ มาประชุมกันเข้า ทำให้มีความเห็นแก่ตัวในขั้นหยาบ และความรู้สึกกระทบกระทั่งบีบคั้นเป็นทุกข์ได้รุนแรง *

๒. วิจิกิจฉา ความลังเล สงสัย เคลือบแคลงต่างๆ เช่น สงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในเรื่องที่มาที่ไปของชีวิต ในปฏิจจสมุปบาท เป็นต้น ทำให้ไม่มั่นใจ ไม่เข้มแข็งแกล้วกล้าที่จะดำเนินชีวิตตามหลักธรรม ด้วยความมีเหตุมีผล และในการที่จะเดินหน้าแน่วดิ่งไปในอริยมรรคา

๓. สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต คือความยึดถือผิดพลาดไปว่า จะบริสุทธิ์ จะหลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและพรต ได้แก่ การถือศีล ระเบียบ แบบแผน บทบัญญัติ และข้อปฏิบัติต่างๆ โดยสักว่าทำตามๆกันไปอย่างงมงาย เห็นเป็นขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ ติดอยู่แต่รูปแบบหรือพิธีรีตอง ก็ดี
ถือด้วยตัณหาและทิฏฐิ คือ ปฏิบัติเพราะอยากได้ผลประโยชน์ตอบแทนอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเพราะเห็นว่าจะทำให้ได้เป็นนั่นเป็นนี่ ก็ดี
ไม่เป็นไปตามความหมาย และความมุ่งหมายที่แท้จริงของศีลและพรต ทำให้เขวออกนอกลู่นอกทาง หรือเลยเถิดไป เป็นอย่างศีลและพรตของนักบำเพ็ญตบะ เป็นต้น ไม่เข้าสู่อริยมรรค

๔. กามราคะ ความติดใคร่ในกาม ความอยากได้ใฝ่หาในเรื่องรูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่ชอบใจ

๕. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ความหงุดหงิดขัดเคือง หรืองุ่นง่านใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องสูง หรือขั้นละเอียด) ๕ อย่าง คือ

๖. รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน พอใจในรสความสุข ความสงบของสมาธิขั้นรูปฌาน ติดใจปรารถนาในรูปภพ เป็นต้น

๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน ติดใจปรารถนาในอรูปภพ เป็นต้น

๘. มานะ ความถือตัว ความสำคัญตนเป็นนั่นเป็นนี่ เช่นว่า สูงกว่าเขา เท่าเทียบเขา ต่ำกว่าเขา เป็นต้น

๙. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน จิตใจไม่สงบ ว้าวุ่น ซัดส่าย คิดพล่านไป

๑๐. อวิชชา ความไม่รู้จริง ไม่รู้เท่าทันสภาวะ ไม่เข้าใจกฎธรรมดาแห่งเหตุและผล หรือไม่รู้อริยสัจ


ละไม่ได้ ก็ควรรู้ว่ามี แล้วก็ไม่ต้องเอามาอวด เอามาข่มมาบลัฟกัน มาดูถูกกันจริงไหม
แล้วแต่นะ เรื่อง ข่มกันด้วยธรรมะ นี่มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว คือมันไม่มีประโยชน์


คุณตีโพยตีพายไปเองแท้ๆ ไม่ได้เอามาข่ม นำมาให้ดู เช่น (ตัดมา)

ประเด็นที่พบ

การนั่งครั้งหลังๆมานี้ เกิดสภาวะคล้ายๆเดิม ตลอดเกือบทุกครั้ง คือ มือหายไปจากความรู้สึก ไม่รู้สึกว่ามีมืออยู่ (รู้ว่ามี แต่รู้สึกว่าไม่มี ผมอธิบายไม่ถูก เชื่อว่าท่านผู้รู้คงเข้าใจผม) ก้น และต้นขาที่นั่งทับพื้นยังรู้สึกว่ามีอยู่ หลังที่นั่งพิงเก้าอี้ก็รู้สึกว่ายังมีอยู่ คือสรุปว่า มือหายทั้งสองข้าง อย่างอื่นที่เหลือยังรู้สึกถึงได้ อยู่ครบยังไม่หาย มีอาการตัวพองๆ ยุบๆ บ้าง แต่ก็ไม่บ่อย มีอาการหายเกือบทั้งตัวบ้างแต่น้อยมาก แต่ที่แน่ๆ คือ มือทั้งสองข้างหายทุกครั้ง, ทุกครั้งจริงๆครับ นั่งแป๊บเดียวก็หายแล้ว และหายไปจากความรู้สึกตลอดเวลาที่ยังนั่งอยู่

ลมหายใจ เริ่มแผ่วเบาลงเรื่อยๆ จนกระทั่งเหมือนลมหายไป เหมือนไม่ได้หายใจ ในครั้งแรกๆที่เจอสภาวะนี้ ผมตกใจทำอะไรไม่ถูก ตะลีตะลานรีบควานหาลม แล้วก็กลับมาหายใจแบบปกติ,
แต่ในครั้งหลังๆ ผมจะพยายามทนอยู่กับสภาวะนี้ ซึ่งผมจะอึดอัดมาก และในที่สุดผมก็ทนไม่ไหว จนต้องบังคับให้ตัวเองหายใจด้วยการสูดยาว จึงจะกลับมารู้สึกว่าผมหายใจแล้ว ผมจึงเริ่มรู้ลมใหม่ .. แล้วลมก็แผ่ว .. แล้วลมก็หาย .. แล้วผมก็ทน .. แล้วผมก็ทนไม่ไหว .. แล้วผมก็สูดลม .. แล้วผมก็รู้ลม .. แล้วลมก็แผ่ว .. ฯลฯ วนรอบอยู่อย่างนี้ ซ้ำรอบอยู่อย่างนี้

ข้อคำถาม

1. อาการมือหายคืออะไรครับ? ผมเข้าใจว่าไม่ต้องไปสนใจมัน ปล่อยมันใช่ไหมครับ?

2. สภาวะอาการเรื่องลมหายใจ เป็นปัญหาใช่ไหมครับ? ผมควรทำอย่างไรต่อไปครับ?

3. ผมเข้าใจว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจ แต่ผมไม่แน่ใจจริงๆว่า ที่ผมคิดว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจนั้น ผมเข้าใจถูกไหม? ผมยังควรใช้วิธีรู้ลมต่อไปไหม? หรือควรใช้วิธีอื่นดีกว่า? ผมควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากเว็บไหน คลิปไหน กระทู้ไหน จึงจะเหมาะกับสภาวะอาการที่พบเจออยู่?

ขอความกรุณาทุกท่านช่วยแนะนำผมทีเถอะครับ ชี้ทางออกให้ผมด้วยนะครับ ขอขอบคุณมาล่วงหน้าครับ



ข่มไม่ข่มไม่ทราบ อยู่ที่ใจคุณเอง สรุปว่าผมตีโพยตีพายไปเอง โอเคป่ะ



คุณปฤษฎี เท่าที่ถกเถียงกับคุณโรสไปหลายช่วงหลายตอน ก็พอรู้แล้วว่า แม่สุจิน ไม่ให้ทำสมาธิ ข้อนี้เราก็ต่างกันในเบื้องต้นแล้ว

แล้วก็เท่ากับปฏิเสธ สมาธิ ซึ่งเป็นหนึ่งในสิกขา ๓ (ศีล สมาธิ ปัญญา) ถูกไหม


คุณปฤษฎี ก็ในเมื่อสถานที่นั้นปฏิเสธสมาธิเสียแล้ว แล้วเราพูดถึงสมาธิ คุณและเขาจะเข้าใจสมาธิได้โดยวิธีใดเล่า :b10: ไตรสิกขา คือ อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา อธิปัญญาสิกขา เอ้า

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 22:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


s006 เอ่?

Re: วิธีสังเกต อารมณ์สมถะ กับ วิปัสสนา ง่ายๆ

ง่ายที่สุดเรย

ก่อนอื่นเรย พื้นฐาน ง่ายๆ
ต้องเข้าใจว่า วิชชาพุทธศาสนานะคะ
ไม่ใช่วิชานักสืบ ที่คอยไปเที่ยว หาแพะ มาตามโจทย์ที่ตนตั้งสันนิษฐาน

สังเกตุ สิ่งที่เกิดอยู่ในตัวเอง น่ะแหละ
ตัวเองเป็นคนร้าย ไม่ใช่คนดี
มีคนร้าย โผล่เข้ามามอบตัวอยู่ ทั้งวันทั้งคืน ตลอดเวลา ค่ะ


คริคริ
tongue


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 22:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ก.พ. 2011, 19:56
โพสต์: 1798


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะ เป็นสิ่งอันตราย
s007


มานะ เป็นสังโยชน์ขั้นละเอียด พระอรหันต์โน่นจึงละได้ ต้องปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาอย่างถูกต้องด้วย จึงละมานะได้ มิใช่ละนั่นละนี่ตามอำเภอใจ :b1: ถ้าแบบนี้เดี๋ยวพระอรหันต์เกลื่อนเมือง :b32: หรือคุณปฤษฎีเป็นอรหันต์

แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรืออริยบุคคล ๘

เกณฑ์แบ่งแบบนี้ จัดตามกิเลส คือ สังโยชน์ที่ละได้ในแต่ละขั้น พร้อมไปกับความความก้าวหน้าในการบำเพ็ญไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ดังนั้นจึงควรรู้จักสังโยชน์ไว้ก่อน

สังโยชน์ แปลตามศัพท์ว่า เครื่องผูก หมายถึงกิเลสที่ผูกใจสัตว์ หรืออกุศลธรรมที่ผูกมัดสัตว์ไว้กับทุกข์ในสังสารวัฏฏ์ เหมือนผูกเทียมสัตว์ไว้กับรถ มี ๑๐ อย่าง * คือ

ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องต่ำ หรือขั้นหยาบ) ๕ อย่าง คือ

๑ . สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ความเห็นที่ยังติดแน่นในสมมติว่าเป็นตัวตน เราเขา เป็นนั่นเป็นนี่ มองไม่เห็นสภาพความจริง ที่สัตว์บุคคลเป็นเพียงองค์ประกอบต่างๆ มาประชุมกันเข้า ทำให้มีความเห็นแก่ตัวในขั้นหยาบ และความรู้สึกกระทบกระทั่งบีบคั้นเป็นทุกข์ได้รุนแรง *

๒. วิจิกิจฉา ความลังเล สงสัย เคลือบแคลงต่างๆ เช่น สงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในเรื่องที่มาที่ไปของชีวิต ในปฏิจจสมุปบาท เป็นต้น ทำให้ไม่มั่นใจ ไม่เข้มแข็งแกล้วกล้าที่จะดำเนินชีวิตตามหลักธรรม ด้วยความมีเหตุมีผล และในการที่จะเดินหน้าแน่วดิ่งไปในอริยมรรคา

๓. สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต คือความยึดถือผิดพลาดไปว่า จะบริสุทธิ์ จะหลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและพรต ได้แก่ การถือศีล ระเบียบ แบบแผน บทบัญญัติ และข้อปฏิบัติต่างๆ โดยสักว่าทำตามๆกันไปอย่างงมงาย เห็นเป็นขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ ติดอยู่แต่รูปแบบหรือพิธีรีตอง ก็ดี
ถือด้วยตัณหาและทิฏฐิ คือ ปฏิบัติเพราะอยากได้ผลประโยชน์ตอบแทนอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเพราะเห็นว่าจะทำให้ได้เป็นนั่นเป็นนี่ ก็ดี
ไม่เป็นไปตามความหมาย และความมุ่งหมายที่แท้จริงของศีลและพรต ทำให้เขวออกนอกลู่นอกทาง หรือเลยเถิดไป เป็นอย่างศีลและพรตของนักบำเพ็ญตบะ เป็นต้น ไม่เข้าสู่อริยมรรค

๔. กามราคะ ความติดใคร่ในกาม ความอยากได้ใฝ่หาในเรื่องรูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่ชอบใจ

๕. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ความหงุดหงิดขัดเคือง หรืองุ่นง่านใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องสูง หรือขั้นละเอียด) ๕ อย่าง คือ

๖. รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน พอใจในรสความสุข ความสงบของสมาธิขั้นรูปฌาน ติดใจปรารถนาในรูปภพ เป็นต้น

๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน ติดใจปรารถนาในอรูปภพ เป็นต้น

๘. มานะ ความถือตัว ความสำคัญตนเป็นนั่นเป็นนี่ เช่นว่า สูงกว่าเขา เท่าเทียบเขา ต่ำกว่าเขา เป็นต้น

๙. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน จิตใจไม่สงบ ว้าวุ่น ซัดส่าย คิดพล่านไป

๑๐. อวิชชา ความไม่รู้จริง ไม่รู้เท่าทันสภาวะ ไม่เข้าใจกฎธรรมดาแห่งเหตุและผล หรือไม่รู้อริยสัจ


ละไม่ได้ ก็ควรรู้ว่ามี แล้วก็ไม่ต้องเอามาอวด เอามาข่มมาบลัฟกัน มาดูถูกกันจริงไหม
แล้วแต่นะ เรื่อง ข่มกันด้วยธรรมะ นี่มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว คือมันไม่มีประโยชน์


คุณตีโพยตีพายไปเองแท้ๆ ไม่ได้เอามาข่ม นำมาให้ดู เช่น (ตัดมา)

ประเด็นที่พบ

การนั่งครั้งหลังๆมานี้ เกิดสภาวะคล้ายๆเดิม ตลอดเกือบทุกครั้ง คือ มือหายไปจากความรู้สึก ไม่รู้สึกว่ามีมืออยู่ (รู้ว่ามี แต่รู้สึกว่าไม่มี ผมอธิบายไม่ถูก เชื่อว่าท่านผู้รู้คงเข้าใจผม) ก้น และต้นขาที่นั่งทับพื้นยังรู้สึกว่ามีอยู่ หลังที่นั่งพิงเก้าอี้ก็รู้สึกว่ายังมีอยู่ คือสรุปว่า มือหายทั้งสองข้าง อย่างอื่นที่เหลือยังรู้สึกถึงได้ อยู่ครบยังไม่หาย มีอาการตัวพองๆ ยุบๆ บ้าง แต่ก็ไม่บ่อย มีอาการหายเกือบทั้งตัวบ้างแต่น้อยมาก แต่ที่แน่ๆ คือ มือทั้งสองข้างหายทุกครั้ง, ทุกครั้งจริงๆครับ นั่งแป๊บเดียวก็หายแล้ว และหายไปจากความรู้สึกตลอดเวลาที่ยังนั่งอยู่

ลมหายใจ เริ่มแผ่วเบาลงเรื่อยๆ จนกระทั่งเหมือนลมหายไป เหมือนไม่ได้หายใจ ในครั้งแรกๆที่เจอสภาวะนี้ ผมตกใจทำอะไรไม่ถูก ตะลีตะลานรีบควานหาลม แล้วก็กลับมาหายใจแบบปกติ,
แต่ในครั้งหลังๆ ผมจะพยายามทนอยู่กับสภาวะนี้ ซึ่งผมจะอึดอัดมาก และในที่สุดผมก็ทนไม่ไหว จนต้องบังคับให้ตัวเองหายใจด้วยการสูดยาว จึงจะกลับมารู้สึกว่าผมหายใจแล้ว ผมจึงเริ่มรู้ลมใหม่ .. แล้วลมก็แผ่ว .. แล้วลมก็หาย .. แล้วผมก็ทน .. แล้วผมก็ทนไม่ไหว .. แล้วผมก็สูดลม .. แล้วผมก็รู้ลม .. แล้วลมก็แผ่ว .. ฯลฯ วนรอบอยู่อย่างนี้ ซ้ำรอบอยู่อย่างนี้

ข้อคำถาม

1. อาการมือหายคืออะไรครับ? ผมเข้าใจว่าไม่ต้องไปสนใจมัน ปล่อยมันใช่ไหมครับ?

2. สภาวะอาการเรื่องลมหายใจ เป็นปัญหาใช่ไหมครับ? ผมควรทำอย่างไรต่อไปครับ?

3. ผมเข้าใจว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจ แต่ผมไม่แน่ใจจริงๆว่า ที่ผมคิดว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจนั้น ผมเข้าใจถูกไหม? ผมยังควรใช้วิธีรู้ลมต่อไปไหม? หรือควรใช้วิธีอื่นดีกว่า? ผมควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากเว็บไหน คลิปไหน กระทู้ไหน จึงจะเหมาะกับสภาวะอาการที่พบเจออยู่?

ขอความกรุณาทุกท่านช่วยแนะนำผมทีเถอะครับ ชี้ทางออกให้ผมด้วยนะครับ ขอขอบคุณมาล่วงหน้าครับ



ข่มไม่ข่มไม่ทราบ อยู่ที่ใจคุณเอง สรุปว่าผมตีโพยตีพายไปเอง โอเคป่ะ



คุณปฤษฎี เท่าที่ถกเถียงกับคุณโรสไปหลายช่วงหลายตอน ก็พอรู้แล้วว่า แม่สุจิน ไม่ให้ทำสมาธิ ข้อนี้เราก็ต่างกันในเบื้องต้นแล้ว


ท่านอาจารย์สุจินต์เป็นผู้ศึกษาพระไตรปิฎกมานานมีความแตกฉานในพระไตรปิฎกและอรรถกถา รวมถึงได้ศึกษาปกรณ์พิเศษที่สำคัญอย่างวิสุทธิมรรค ไม่ทราบคุณกรัชกายได้เคยฟังรึยัง ท่านเจรจาแสดงธรรมอย่างไพเราะน่าฟัง คุณกรัชกายลองฟังดูบ้างสิ เผื่อจะได้มีความเข้าใจในธรรมมากขึ้น ศึกษาจากหนังสือพุทธธรรมอย่างเดียวอาจทำให้ความรู้ไม่แตกฉานกว้างขวาง ลองฟังธรรมจากท่านอื่นบ้าง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 23:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7520

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะเป็นสิ่งอันตราย
s007


นึกถึงกระทู้ก่อนหน้าโน่น :b13:

อ้างคำพูด:
อ้างคำพูด:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
ฟังพระธรรม เพื่อให้เข้าใจ ว่าทุกอย่างเป็นธรรมะ ไม่ใช่ตัวตน

เห็นการสอนของสำนักนี้แล้ว น่าเป็นห่วงพระพุทธศาสนา "ทุกอย่างเป็นธรรมะ ไม่ใช่ตัวตน" คิกๆๆ เละเทะเลอะเทอะสะไม่มี

ปฤษฎี
ตั้งสิ จะไปสนทนาด้วย น่าสนุกดีนะ

viewtopic.php?f=1&t=56225


เราก็รอสนทนากันอยู่


คุณกรัชกายไปสนทนาใน Dhammahome ดีมั้ย รับรองมีคนมาตอบเยอะแยะเลย


เป็นเวปบอร์ดหรอขอรับ ขอลิงค์หน่อยสิ


อ่าวนึกว่ารู้จัก dhammahome.com ครับ ตามนี้ ท่านอาจารย์สุจินต์ท่านมีชื่อเสียงแสดงธรรมมานานหลายปี ผมก็ฟังหมดแหละครับอะไรดีเราก็เก็บไว้ อันไหนเราไม่เห็นด้วยก็ปล่อยไป ในนี้มีทั้งไฟล์เสียง ไฟล์วีดีโอ กระทู้ต่างๆ


ไฟล์เสียง วีดีโอ แล้วเราจะโต้เถียงกันยังไงเล่า

ไม่ฟังพระธรรมแล้วจะเกิดปัญญาได้ยังไงกัน
ปัญญาเกิดได้ตามลำดับตรงปัจจุบันขณะ
ขณะไหนคือปัจจุบันคิดให้ตรงเพราะ
คิดเองแปลว่ามีกิเลสดับไปแล้ว
นับแสนโกฏิขณะเดี๋ยวนี้
ทำอะไรได้ไหมคะ
:b12:
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 23:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7520

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะ เป็นสิ่งอันตราย
s007


มานะ เป็นสังโยชน์ขั้นละเอียด พระอรหันต์โน่นจึงละได้ ต้องปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาอย่างถูกต้องด้วย จึงละมานะได้ มิใช่ละนั่นละนี่ตามอำเภอใจ :b1: ถ้าแบบนี้เดี๋ยวพระอรหันต์เกลื่อนเมือง :b32: หรือคุณปฤษฎีเป็นอรหันต์

แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรืออริยบุคคล ๘

เกณฑ์แบ่งแบบนี้ จัดตามกิเลส คือ สังโยชน์ที่ละได้ในแต่ละขั้น พร้อมไปกับความความก้าวหน้าในการบำเพ็ญไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ดังนั้นจึงควรรู้จักสังโยชน์ไว้ก่อน

สังโยชน์ แปลตามศัพท์ว่า เครื่องผูก หมายถึงกิเลสที่ผูกใจสัตว์ หรืออกุศลธรรมที่ผูกมัดสัตว์ไว้กับทุกข์ในสังสารวัฏฏ์ เหมือนผูกเทียมสัตว์ไว้กับรถ มี ๑๐ อย่าง * คือ

ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องต่ำ หรือขั้นหยาบ) ๕ อย่าง คือ

๑ . สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ความเห็นที่ยังติดแน่นในสมมติว่าเป็นตัวตน เราเขา เป็นนั่นเป็นนี่ มองไม่เห็นสภาพความจริง ที่สัตว์บุคคลเป็นเพียงองค์ประกอบต่างๆ มาประชุมกันเข้า ทำให้มีความเห็นแก่ตัวในขั้นหยาบ และความรู้สึกกระทบกระทั่งบีบคั้นเป็นทุกข์ได้รุนแรง *

๒. วิจิกิจฉา ความลังเล สงสัย เคลือบแคลงต่างๆ เช่น สงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในเรื่องที่มาที่ไปของชีวิต ในปฏิจจสมุปบาท เป็นต้น ทำให้ไม่มั่นใจ ไม่เข้มแข็งแกล้วกล้าที่จะดำเนินชีวิตตามหลักธรรม ด้วยความมีเหตุมีผล และในการที่จะเดินหน้าแน่วดิ่งไปในอริยมรรคา

๓. สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต คือความยึดถือผิดพลาดไปว่า จะบริสุทธิ์ จะหลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและพรต ได้แก่ การถือศีล ระเบียบ แบบแผน บทบัญญัติ และข้อปฏิบัติต่างๆ โดยสักว่าทำตามๆกันไปอย่างงมงาย เห็นเป็นขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ ติดอยู่แต่รูปแบบหรือพิธีรีตอง ก็ดี
ถือด้วยตัณหาและทิฏฐิ คือ ปฏิบัติเพราะอยากได้ผลประโยชน์ตอบแทนอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเพราะเห็นว่าจะทำให้ได้เป็นนั่นเป็นนี่ ก็ดี
ไม่เป็นไปตามความหมาย และความมุ่งหมายที่แท้จริงของศีลและพรต ทำให้เขวออกนอกลู่นอกทาง หรือเลยเถิดไป เป็นอย่างศีลและพรตของนักบำเพ็ญตบะ เป็นต้น ไม่เข้าสู่อริยมรรค

๔. กามราคะ ความติดใคร่ในกาม ความอยากได้ใฝ่หาในเรื่องรูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่ชอบใจ

๕. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ความหงุดหงิดขัดเคือง หรืองุ่นง่านใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องสูง หรือขั้นละเอียด) ๕ อย่าง คือ

๖. รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน พอใจในรสความสุข ความสงบของสมาธิขั้นรูปฌาน ติดใจปรารถนาในรูปภพ เป็นต้น

๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน ติดใจปรารถนาในอรูปภพ เป็นต้น

๘. มานะ ความถือตัว ความสำคัญตนเป็นนั่นเป็นนี่ เช่นว่า สูงกว่าเขา เท่าเทียบเขา ต่ำกว่าเขา เป็นต้น

๙. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน จิตใจไม่สงบ ว้าวุ่น ซัดส่าย คิดพล่านไป

๑๐. อวิชชา ความไม่รู้จริง ไม่รู้เท่าทันสภาวะ ไม่เข้าใจกฎธรรมดาแห่งเหตุและผล หรือไม่รู้อริยสัจ


ละไม่ได้ ก็ควรรู้ว่ามี แล้วก็ไม่ต้องเอามาอวด เอามาข่มมาบลัฟกัน มาดูถูกกันจริงไหม
แล้วแต่นะ เรื่อง ข่มกันด้วยธรรมะ นี่มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว คือมันไม่มีประโยชน์


คุณตีโพยตีพายไปเองแท้ๆ ไม่ได้เอามาข่ม นำมาให้ดู เช่น (ตัดมา)

ประเด็นที่พบ

การนั่งครั้งหลังๆมานี้ เกิดสภาวะคล้ายๆเดิม ตลอดเกือบทุกครั้ง คือ มือหายไปจากความรู้สึก ไม่รู้สึกว่ามีมืออยู่ (รู้ว่ามี แต่รู้สึกว่าไม่มี ผมอธิบายไม่ถูก เชื่อว่าท่านผู้รู้คงเข้าใจผม) ก้น และต้นขาที่นั่งทับพื้นยังรู้สึกว่ามีอยู่ หลังที่นั่งพิงเก้าอี้ก็รู้สึกว่ายังมีอยู่ คือสรุปว่า มือหายทั้งสองข้าง อย่างอื่นที่เหลือยังรู้สึกถึงได้ อยู่ครบยังไม่หาย มีอาการตัวพองๆ ยุบๆ บ้าง แต่ก็ไม่บ่อย มีอาการหายเกือบทั้งตัวบ้างแต่น้อยมาก แต่ที่แน่ๆ คือ มือทั้งสองข้างหายทุกครั้ง, ทุกครั้งจริงๆครับ นั่งแป๊บเดียวก็หายแล้ว และหายไปจากความรู้สึกตลอดเวลาที่ยังนั่งอยู่

ลมหายใจ เริ่มแผ่วเบาลงเรื่อยๆ จนกระทั่งเหมือนลมหายไป เหมือนไม่ได้หายใจ ในครั้งแรกๆที่เจอสภาวะนี้ ผมตกใจทำอะไรไม่ถูก ตะลีตะลานรีบควานหาลม แล้วก็กลับมาหายใจแบบปกติ,
แต่ในครั้งหลังๆ ผมจะพยายามทนอยู่กับสภาวะนี้ ซึ่งผมจะอึดอัดมาก และในที่สุดผมก็ทนไม่ไหว จนต้องบังคับให้ตัวเองหายใจด้วยการสูดยาว จึงจะกลับมารู้สึกว่าผมหายใจแล้ว ผมจึงเริ่มรู้ลมใหม่ .. แล้วลมก็แผ่ว .. แล้วลมก็หาย .. แล้วผมก็ทน .. แล้วผมก็ทนไม่ไหว .. แล้วผมก็สูดลม .. แล้วผมก็รู้ลม .. แล้วลมก็แผ่ว .. ฯลฯ วนรอบอยู่อย่างนี้ ซ้ำรอบอยู่อย่างนี้

ข้อคำถาม

1. อาการมือหายคืออะไรครับ? ผมเข้าใจว่าไม่ต้องไปสนใจมัน ปล่อยมันใช่ไหมครับ?

2. สภาวะอาการเรื่องลมหายใจ เป็นปัญหาใช่ไหมครับ? ผมควรทำอย่างไรต่อไปครับ?

3. ผมเข้าใจว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจ แต่ผมไม่แน่ใจจริงๆว่า ที่ผมคิดว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจนั้น ผมเข้าใจถูกไหม? ผมยังควรใช้วิธีรู้ลมต่อไปไหม? หรือควรใช้วิธีอื่นดีกว่า? ผมควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากเว็บไหน คลิปไหน กระทู้ไหน จึงจะเหมาะกับสภาวะอาการที่พบเจออยู่?

ขอความกรุณาทุกท่านช่วยแนะนำผมทีเถอะครับ ชี้ทางออกให้ผมด้วยนะครับ ขอขอบคุณมาล่วงหน้าครับ



ข่มไม่ข่มไม่ทราบ อยู่ที่ใจคุณเอง สรุปว่าผมตีโพยตีพายไปเอง โอเคป่ะ



คุณปฤษฎี เท่าที่ถกเถียงกับคุณโรสไปหลายช่วงหลายตอน ก็พอรู้แล้วว่า แม่สุจิน ไม่ให้ทำสมาธิ ข้อนี้เราก็ต่างกันในเบื้องต้นแล้ว

แล้วก็เท่ากับปฏิเสธ สมาธิ ซึ่งเป็นหนึ่งในสิกขา ๓ (ศีล สมาธิ ปัญญา) ถูกไหม

555
รู้จักสมาธิไหม
สมาธิเป็นธัมมะชนิดหนึ่ง
ต้องรู้จักว่าเป็นธัมมะประเภทไหน
เกิดตอนไหนเกิดยังไงและเกิดคู่กับธัมมะอะไร
ถ้าไม่สามารถแสดงรายละเอียดให้คนอื่นเข้าใจได้แสดงว่าไม่รู้
แปลว่ามีแต่บอกให้ไปทำแล้วจะคิดได้เองรู้ได้เองเป็นไปได้ไหมมันดับแล้วนับไม่ถ้วนจะรู้เองก็ไม่พึ่งฟังคำสอน
:b32: :b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 23:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7520

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะ เป็นสิ่งอันตราย
s007


มานะ เป็นสังโยชน์ขั้นละเอียด พระอรหันต์โน่นจึงละได้ ต้องปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาอย่างถูกต้องด้วย จึงละมานะได้ มิใช่ละนั่นละนี่ตามอำเภอใจ :b1: ถ้าแบบนี้เดี๋ยวพระอรหันต์เกลื่อนเมือง :b32: หรือคุณปฤษฎีเป็นอรหันต์

แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรืออริยบุคคล ๘

เกณฑ์แบ่งแบบนี้ จัดตามกิเลส คือ สังโยชน์ที่ละได้ในแต่ละขั้น พร้อมไปกับความความก้าวหน้าในการบำเพ็ญไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ดังนั้นจึงควรรู้จักสังโยชน์ไว้ก่อน

สังโยชน์ แปลตามศัพท์ว่า เครื่องผูก หมายถึงกิเลสที่ผูกใจสัตว์ หรืออกุศลธรรมที่ผูกมัดสัตว์ไว้กับทุกข์ในสังสารวัฏฏ์ เหมือนผูกเทียมสัตว์ไว้กับรถ มี ๑๐ อย่าง * คือ

ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องต่ำ หรือขั้นหยาบ) ๕ อย่าง คือ

๑ . สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ความเห็นที่ยังติดแน่นในสมมติว่าเป็นตัวตน เราเขา เป็นนั่นเป็นนี่ มองไม่เห็นสภาพความจริง ที่สัตว์บุคคลเป็นเพียงองค์ประกอบต่างๆ มาประชุมกันเข้า ทำให้มีความเห็นแก่ตัวในขั้นหยาบ และความรู้สึกกระทบกระทั่งบีบคั้นเป็นทุกข์ได้รุนแรง *

๒. วิจิกิจฉา ความลังเล สงสัย เคลือบแคลงต่างๆ เช่น สงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในเรื่องที่มาที่ไปของชีวิต ในปฏิจจสมุปบาท เป็นต้น ทำให้ไม่มั่นใจ ไม่เข้มแข็งแกล้วกล้าที่จะดำเนินชีวิตตามหลักธรรม ด้วยความมีเหตุมีผล และในการที่จะเดินหน้าแน่วดิ่งไปในอริยมรรคา

๓. สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต คือความยึดถือผิดพลาดไปว่า จะบริสุทธิ์ จะหลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและพรต ได้แก่ การถือศีล ระเบียบ แบบแผน บทบัญญัติ และข้อปฏิบัติต่างๆ โดยสักว่าทำตามๆกันไปอย่างงมงาย เห็นเป็นขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ ติดอยู่แต่รูปแบบหรือพิธีรีตอง ก็ดี
ถือด้วยตัณหาและทิฏฐิ คือ ปฏิบัติเพราะอยากได้ผลประโยชน์ตอบแทนอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเพราะเห็นว่าจะทำให้ได้เป็นนั่นเป็นนี่ ก็ดี
ไม่เป็นไปตามความหมาย และความมุ่งหมายที่แท้จริงของศีลและพรต ทำให้เขวออกนอกลู่นอกทาง หรือเลยเถิดไป เป็นอย่างศีลและพรตของนักบำเพ็ญตบะ เป็นต้น ไม่เข้าสู่อริยมรรค

๔. กามราคะ ความติดใคร่ในกาม ความอยากได้ใฝ่หาในเรื่องรูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่ชอบใจ

๕. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ความหงุดหงิดขัดเคือง หรืองุ่นง่านใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องสูง หรือขั้นละเอียด) ๕ อย่าง คือ

๖. รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน พอใจในรสความสุข ความสงบของสมาธิขั้นรูปฌาน ติดใจปรารถนาในรูปภพ เป็นต้น

๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน ติดใจปรารถนาในอรูปภพ เป็นต้น

๘. มานะ ความถือตัว ความสำคัญตนเป็นนั่นเป็นนี่ เช่นว่า สูงกว่าเขา เท่าเทียบเขา ต่ำกว่าเขา เป็นต้น

๙. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน จิตใจไม่สงบ ว้าวุ่น ซัดส่าย คิดพล่านไป

๑๐. อวิชชา ความไม่รู้จริง ไม่รู้เท่าทันสภาวะ ไม่เข้าใจกฎธรรมดาแห่งเหตุและผล หรือไม่รู้อริยสัจ


ละไม่ได้ ก็ควรรู้ว่ามี แล้วก็ไม่ต้องเอามาอวด เอามาข่มมาบลัฟกัน มาดูถูกกันจริงไหม
แล้วแต่นะ เรื่อง ข่มกันด้วยธรรมะ นี่มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว คือมันไม่มีประโยชน์


คุณตีโพยตีพายไปเองแท้ๆ ไม่ได้เอามาข่ม นำมาให้ดู เช่น (ตัดมา)

ประเด็นที่พบ

การนั่งครั้งหลังๆมานี้ เกิดสภาวะคล้ายๆเดิม ตลอดเกือบทุกครั้ง คือ มือหายไปจากความรู้สึก ไม่รู้สึกว่ามีมืออยู่ (รู้ว่ามี แต่รู้สึกว่าไม่มี ผมอธิบายไม่ถูก เชื่อว่าท่านผู้รู้คงเข้าใจผม) ก้น และต้นขาที่นั่งทับพื้นยังรู้สึกว่ามีอยู่ หลังที่นั่งพิงเก้าอี้ก็รู้สึกว่ายังมีอยู่ คือสรุปว่า มือหายทั้งสองข้าง อย่างอื่นที่เหลือยังรู้สึกถึงได้ อยู่ครบยังไม่หาย มีอาการตัวพองๆ ยุบๆ บ้าง แต่ก็ไม่บ่อย มีอาการหายเกือบทั้งตัวบ้างแต่น้อยมาก แต่ที่แน่ๆ คือ มือทั้งสองข้างหายทุกครั้ง, ทุกครั้งจริงๆครับ นั่งแป๊บเดียวก็หายแล้ว และหายไปจากความรู้สึกตลอดเวลาที่ยังนั่งอยู่

ลมหายใจ เริ่มแผ่วเบาลงเรื่อยๆ จนกระทั่งเหมือนลมหายไป เหมือนไม่ได้หายใจ ในครั้งแรกๆที่เจอสภาวะนี้ ผมตกใจทำอะไรไม่ถูก ตะลีตะลานรีบควานหาลม แล้วก็กลับมาหายใจแบบปกติ,
แต่ในครั้งหลังๆ ผมจะพยายามทนอยู่กับสภาวะนี้ ซึ่งผมจะอึดอัดมาก และในที่สุดผมก็ทนไม่ไหว จนต้องบังคับให้ตัวเองหายใจด้วยการสูดยาว จึงจะกลับมารู้สึกว่าผมหายใจแล้ว ผมจึงเริ่มรู้ลมใหม่ .. แล้วลมก็แผ่ว .. แล้วลมก็หาย .. แล้วผมก็ทน .. แล้วผมก็ทนไม่ไหว .. แล้วผมก็สูดลม .. แล้วผมก็รู้ลม .. แล้วลมก็แผ่ว .. ฯลฯ วนรอบอยู่อย่างนี้ ซ้ำรอบอยู่อย่างนี้

ข้อคำถาม

1. อาการมือหายคืออะไรครับ? ผมเข้าใจว่าไม่ต้องไปสนใจมัน ปล่อยมันใช่ไหมครับ?

2. สภาวะอาการเรื่องลมหายใจ เป็นปัญหาใช่ไหมครับ? ผมควรทำอย่างไรต่อไปครับ?

3. ผมเข้าใจว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจ แต่ผมไม่แน่ใจจริงๆว่า ที่ผมคิดว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจนั้น ผมเข้าใจถูกไหม? ผมยังควรใช้วิธีรู้ลมต่อไปไหม? หรือควรใช้วิธีอื่นดีกว่า? ผมควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากเว็บไหน คลิปไหน กระทู้ไหน จึงจะเหมาะกับสภาวะอาการที่พบเจออยู่?

ขอความกรุณาทุกท่านช่วยแนะนำผมทีเถอะครับ ชี้ทางออกให้ผมด้วยนะครับ ขอขอบคุณมาล่วงหน้าครับ



ข่มไม่ข่มไม่ทราบ อยู่ที่ใจคุณเอง สรุปว่าผมตีโพยตีพายไปเอง โอเคป่ะ



คุณปฤษฎี เท่าที่ถกเถียงกับคุณโรสไปหลายช่วงหลายตอน ก็พอรู้แล้วว่า แม่สุจิน ไม่ให้ทำสมาธิ ข้อนี้เราก็ต่างกันในเบื้องต้นแล้ว

แล้วก็เท่ากับปฏิเสธ สมาธิ ซึ่งเป็นหนึ่งในสิกขา ๓ (ศีล สมาธิ ปัญญา) ถูกไหม

555
รู้จักสมาธิไหม
สมาธิเป็นธัมมะชนิดหนึ่ง
ต้องรู้จักว่าเป็นธัมมะประเภทไหน
เกิดตอนไหนเกิดยังไงและเกิดคู่กับธัมมะอะไร
ถ้าไม่สามารถแสดงรายละเอียดให้คนอื่นเข้าใจได้แสดงว่าไม่รู้
แปลว่ามีแต่บอกให้ไปทำแล้วจะคิดได้เองรู้ได้เองเป็นไปได้ไหมมันดับแล้วนับไม่ถ้วนจะรู้เองก็ไม่พึ่งฟังคำสอน
:b32: :b32: :b32:

กุศลและอกุศลคือสังขารขันธ์ปรุงคนละขณะจิต
สติเป็นโสภณเจตสิกที่ไม่เกิดร่วมกับอกุศลเจตสิก
ศีลคือเจตสิกเกิดได้ทั้งขณะที่เป็นกุศลหรืออกุศล
สมาธิคือเจตสิกเกิดได้ทั้งขณะที่เป็นกุศลหรืออกุศล
ปัญญาคือเจตสิกที่ไม่เกิดกับอกุศลและต้องกำลังระลึกตามคำสอนคือมีสติที่เป็นกุศลเจตสิกเกิดร่วมด้วย
ทั้งปัญญาและสติเกิดกับกุศลจิตตอนฟังคำสอนแล้วคิดถูกตามตรงความจริงตรงขณะที่กายตัวเองกำลังมีจ้ะ
แยกออกไหมตอนนั่งหลับตาไม่รู้อะไรเลยตามคำสอนนั่นน่ะทำกิเลสส่วนตัวอยู่นั่งเดาไปเรื่อยๆอย่างนั้นหรือ
:b32: :b32:


แก้ไขล่าสุดโดย Rosarin เมื่อ 12 มี.ค. 2019, 00:05, แก้ไขแล้ว 3 ครั้ง.

แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 88 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร