วันเวลาปัจจุบัน 21 ก.ค. 2025, 17:20  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 57 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 03:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ก.พ. 2011, 19:56
โพสต์: 1798


 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
โลกสวย เขียน:
มีคนเข้าเข้าใจว่าแบบนี้อ่ะค๊ะ คุณลุงกรัชกาย

"เมื่อกำหนดหมายพุทโธ แทนพระพุทธเจ้า ทำไว้ในใจเอาไว้อย่างนี้แล้ว หมั่นนึกพุทโธ บริกรรมพุทโธในใจ จิตย่อมผ่องใส เกิดความปราโมทย์ ละเครื่องเศร้าหมองแห่งจิตเสียได้ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน"

โลกสวย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
การเพ่งฌานในระดับขั้นต่างๆ ที่เป็นอารัมณูปนิฌาน เป็นความสุขที่ยิ่งกว่ากามสุข ถามว่าเป็นความสุขที่ควรเจริญมั้ย ตอบว่าก็ควร แต่การประพฤติธรรมในเพศคฤหัสถ์ จะให้จิตสงบถึงขั้นฌานจิตเป็นเรื่องยาก ต่างกับนักบวชที่เจริญฌานได้ง่ายกว่า ข้อประพฤติปฏิบัติของผู้ครองเรือนที่พระพุทธเจ้าได้ทรงแนะนำสั้งสอนไว้ก็มีมาก ควรจะได้หันมาศึกษาตรงนี้ให้มาก ไม่ควรที่จะละเลยการศึกษา เอะอะก็จะเพ่งฌานแบบไม่ได้สำรวจตัวเองเลยว่าอยู่ในสถานะไหน เป็นผู้ครองเรือนที่ยังเสพกามอยู่มากหรือนักบวช มีกิเลสมากหรือน้อย ถ้ากิเลสมากๆหนาแน่น คืออกุศลวิตกมีเยอะๆ จะเจริญฌานให้ได้ถึงฌานจิตเป็นสบายๆ นี่ก็ยากหน่อย ควรเริ่มจากพื้นฐาน การให้ทาน การศึกษาในอธิศีล การฟังพระธรรม ถือกรรมบถ รักษาสัจจะ มีความอ่อนน้อม ไม่ริษยา เป็นต้น ฝึกตน ประพฤติธรรมตามควรแก่เพศและอินทรีย์ของตน ถ้าได้อบรมตนขั้นต้นดีแล้วก็สามารถจะประพฤติกุศลขั้นที่สูงๆต่อไปได้


แบบนี้ เป็นไงค๊ะ เจ๋งมั๊ยล่ะค๊ะ
s006 เอ่

http://www.84000.org/tipitaka/read/v.ph ... agebreak=0
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v ... =867&Z=883


อนุโมทนา สาธุครับ คุณปฤษฎีที่กล่าวมานั้นคือโสดาปฏิยังคะ
1. คบสัตบุรุษ
2. ฟังธรรม
3. ทำในใจด้วยอุบายอันแยบคาย
4. ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
ทำให้มาก เจริญให้มาก ย่อมเป็นไปเพื่ออริยผลได้ทุกขั้น


การประพฤติธรรม ก็ควรเป็นไปตามลำดับครับ
ฟังพระธรรม พิจารณาและน้อมนำไปปฏิบัติ แม้เล็กน้อยก็มีประโยชน์มหาศาล
พระธรรมเป็นของละเอียด ต้องไม่พิจารณอย่างตื้นเขิน และไม่ยึดติดกับทิฏฐิของตน แล้วจะได้รับสาระจากพระธรรม


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 03:19 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


"เมื่อกำหนดหมายพุทโธ แทนพระพุทธเจ้า ทำไว้ในใจเอาไว้อย่างนี้แล้ว หมั่นนึกพุทโธ บริกรรมพุทโธในใจ จิตย่อมผ่องใส เกิดความปราโมทย์ ละเครื่องเศร้าหมองแห่งจิตเสียได้ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน"

แถมแสดงความตื้นเขิน เพราะไม่ได้เรียนจริง อ่านตำราไม่แตก เข้าใจผิดๆๆ


เพราะพระอรรถกถา กล่าวแต่ว่า เป็นประโยชน์แก่วิปัสสนา


ในกรรมฐาน ๑๐ เหล่านี้ กรรมฐาน ๓ อย่างนี้ คือ อานาปานสติ มรณสติ กายคตาสติ ย่อมเป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาอย่างเดียว กรรมฐานที่เหลือ ๗ อย่างเป็นประโยชน์แก่การทำจิตให้ร่าเริงด้วย เป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาด้วย ด้วยประการฉะนี้.

จบอรรถกถาวรรคที่ ๑


smiley กั๊กๆ ยังอีกหลายก้าวนะเธอ[/quote]

[๑๗๙]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมอย่างหนึ่งที่บุคคลเจริญแล้ว กระทำ
ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อ
ความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ธรรม
อย่างหนึ่งคืออะไร คือพุทธานุสสติ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมอย่างหนึ่งนี้แล
อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว
เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้
เพื่อนิพพาน ฯ

ในกรรมฐาน ๑๐ เหล่านี้ กรรมฐาน ๓ อย่างนี้ คือ อานาปานสติ มรณสติ กายคตาสติ
ย่อมเป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาอย่างเดียว กรรมฐานที่เหลือ ๗ อย่างเป็นประโยชน์แก่
การทำจิตให้ร่าเริงด้วย เป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาด้วย ด้วยประการฉะนี้.


"เมื่อกำหนดหมายพุทโธ แทนพระพุทธเจ้า ทำไว้ในใจเอาไว้อย่างนี้แล้ว หมั่นนึกพุทโธ บริกรรมพุทโธในใจ จิตย่อมผ่องใส เกิดความปราโมทย์ ละเครื่องเศร้าหมองแห่งจิตเสียได้ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน"

สิ่งที่ผมกล่าวสอดคล้องกัน ทั้งกับพระสูตร ทั้งอรรถกถาที่คุณยกมา
ผมว่าเพราะคุณโลกสวยไม่มีประสบการณ์ สมถะ วิปัสสนา จึงไม่เข้าใจ
สิ่งที่ผมกล่าว สิ่งที่พระสูตรกล่าว สิ่งที่อรรถกถากล่าว พอไม่เข้าใจ
จึงปฏิเสธแบบหลังชนฝา หาหลักฐานมาแย้งซึ่งมันแย้งไม่ได้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 03:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
"เมื่อกำหนดหมายพุทโธ แทนพระพุทธเจ้า ทำไว้ในใจเอาไว้อย่างนี้แล้ว หมั่นนึกพุทโธ บริกรรมพุทโธในใจ จิตย่อมผ่องใส เกิดความปราโมทย์ ละเครื่องเศร้าหมองแห่งจิตเสียได้ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน"

แถมแสดงความตื้นเขิน เพราะไม่ได้เรียนจริง อ่านตำราไม่แตก เข้าใจผิดๆๆ


เพราะพระอรรถกถา กล่าวแต่ว่า เป็นประโยชน์แก่วิปัสสนา


ในกรรมฐาน ๑๐ เหล่านี้ กรรมฐาน ๓ อย่างนี้ คือ อานาปานสติ มรณสติ กายคตาสติ ย่อมเป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาอย่างเดียว กรรมฐานที่เหลือ ๗ อย่างเป็นประโยชน์แก่การทำจิตให้ร่าเริงด้วย เป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาด้วย ด้วยประการฉะนี้.

จบอรรถกถาวรรคที่ ๑


smiley กั๊กๆ ยังอีกหลายก้าวนะเธอ


[๑๗๙]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมอย่างหนึ่งที่บุคคลเจริญแล้ว กระทำ
ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อ
ความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ธรรม
อย่างหนึ่งคืออะไร คือพุทธานุสสติ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมอย่างหนึ่งนี้แล
อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว
เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้
เพื่อนิพพาน ฯ

ในกรรมฐาน ๑๐ เหล่านี้ กรรมฐาน ๓ อย่างนี้ คือ อานาปานสติ มรณสติ กายคตาสติ
ย่อมเป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาอย่างเดียว กรรมฐานที่เหลือ ๗ อย่างเป็นประโยชน์แก่
การทำจิตให้ร่าเริงด้วย เป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาด้วย ด้วยประการฉะนี้.


"เมื่อกำหนดหมายพุทโธ แทนพระพุทธเจ้า ทำไว้ในใจเอาไว้อย่างนี้แล้ว หมั่นนึกพุทโธ บริกรรมพุทโธในใจ จิตย่อมผ่องใส เกิดความปราโมทย์ ละเครื่องเศร้าหมองแห่งจิตเสียได้ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน"

สิ่งที่ผมกล่าวสอดคล้องกัน ทั้งกับพระสูตร ทั้งอรรถกถาที่คุณยกมา
ผมว่าเพราะคุณโลกสวยไม่มีประสบการณ์ สมถะ วิปัสสนา จึงไม่เข้าใจ
สิ่งที่ผมกล่าว สิ่งที่พระสูตรกล่าว สิ่งที่อรรถกถากล่าว พอไม่เข้าใจ
จึงปฏิเสธแบบหลังชนฝา หาหลักฐานมาแย้งซึ่งมันแย้งไม่ได้[/quote]
huh

พระอรรถกถา เรยหยุดหล่อนไว้ไงค๊ะ
ที่จุด วิปัสสนา
เพราะหล่อน อ่านพระธรรมไม่แตก

นี่น๊ะ จะยกตัวอย่างเหมาๆ แบบหล่อนให้ดูน๊ะ

ก็บอกคำเดียวง่ายๆ ว่าพระพุทธศาสนา สอนให้ถึงนิพพาน

แบบนี้ สอดคล้องพระไตรปิฎก พระปริยัติหมดเรย มั๊ยค๊ะ



ฝันดีนะหล่อน พยาบาทติดตัวไป มันยังเป็นมิจฉาทิฎฐินะหล่อน

กั๊กๆๆ ไปนอนดีก่า huh


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 03:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


แนะนำเพิ่มให้นะหล่อน เดี่ยวหาว่าทอดทิ้งกัน

ไปนอนสบาย ปล่อยให้หล่อน ปวดหัวนอนไม่หลับ

คอยอ่านที่ลุงกรัชกาย เอามาให้อ่านให้ดีๆน๊ะ

เพราะคำของ เม จะทำให้เกิดกระทู้ใหม่ๆได้อีกเยอะ
เพราะพิศดาร 555

ลุงเค้าจะเอามาสร้างกระทู้ใหม่อยู่เรื่อยๆ
เพื่อให้ธรรมทาน ให้ได้รับความละเอียดพิศดารมากขึ้น
ไม่ได้เพื่อช่วยหล่อนคนเดียว แต่เพื่อสมาชิกทุกคนด้วย
ทั้งพระธรรม ทั้งปัญญา

พี่ปอก็บอกแล้ว ว่า

อย่าพิจารณาตื้นๆๆ นะหล่อน
ฝันดีน๊ะ

huh


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 03:39 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
"เมื่อกำหนดหมายพุทโธ แทนพระพุทธเจ้า ทำไว้ในใจเอาไว้อย่างนี้แล้ว หมั่นนึกพุทโธ บริกรรมพุทโธในใจ จิตย่อมผ่องใส เกิดความปราโมทย์ ละเครื่องเศร้าหมองแห่งจิตเสียได้ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน"

แถมแสดงความตื้นเขิน เพราะไม่ได้เรียนจริง อ่านตำราไม่แตก เข้าใจผิดๆๆ


เพราะพระอรรถกถา กล่าวแต่ว่า เป็นประโยชน์แก่วิปัสสนา


ในกรรมฐาน ๑๐ เหล่านี้ กรรมฐาน ๓ อย่างนี้ คือ อานาปานสติ มรณสติ กายคตาสติ ย่อมเป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาอย่างเดียว กรรมฐานที่เหลือ ๗ อย่างเป็นประโยชน์แก่การทำจิตให้ร่าเริงด้วย เป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาด้วย ด้วยประการฉะนี้.

จบอรรถกถาวรรคที่ ๑


smiley กั๊กๆ ยังอีกหลายก้าวนะเธอ


[๑๗๙]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมอย่างหนึ่งที่บุคคลเจริญแล้ว กระทำ
ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อ
ความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ธรรม
อย่างหนึ่งคืออะไร คือพุทธานุสสติ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมอย่างหนึ่งนี้แล
อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว
เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้
เพื่อนิพพาน ฯ

ในกรรมฐาน ๑๐ เหล่านี้ กรรมฐาน ๓ อย่างนี้ คือ อานาปานสติ มรณสติ กายคตาสติ
ย่อมเป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาอย่างเดียว กรรมฐานที่เหลือ ๗ อย่างเป็นประโยชน์แก่
การทำจิตให้ร่าเริงด้วย เป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาด้วย ด้วยประการฉะนี้.


"เมื่อกำหนดหมายพุทโธ แทนพระพุทธเจ้า ทำไว้ในใจเอาไว้อย่างนี้แล้ว หมั่นนึกพุทโธ บริกรรมพุทโธในใจ จิตย่อมผ่องใส เกิดความปราโมทย์ ละเครื่องเศร้าหมองแห่งจิตเสียได้ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน"

สิ่งที่ผมกล่าวสอดคล้องกัน ทั้งกับพระสูตร ทั้งอรรถกถาที่คุณยกมา
ผมว่าเพราะคุณโลกสวยไม่มีประสบการณ์ สมถะ วิปัสสนา จึงไม่เข้าใจ
สิ่งที่ผมกล่าว สิ่งที่พระสูตรกล่าว สิ่งที่อรรถกถากล่าว พอไม่เข้าใจ
จึงปฏิเสธแบบหลังชนฝา หาหลักฐานมาแย้งซึ่งมันแย้งไม่ได้

huh

พระอรรถกถา เรยหยุดหล่อนไว้ไงค๊ะ
ที่จุด วิปัสสนา
เพราะหล่อน อ่านพระธรรมไม่แตก

นี่น๊ะ จะยกตัวอย่างเหมาๆ แบบหล่อนให้ดูน๊ะ

ก็บอกคำเดียวง่ายๆ ว่าพระพุทธศาสนา สอนให้ถึงนิพพาน

แบบนี้ สอดคล้องพระไตรปิฎก พระปริยัติหมดเรย มั๊ยค๊ะ



ฝันดีนะหล่อน พยาบาทติดตัวไป มันยังเป็นมิจฉาทิฎฐินะหล่อน

กั๊กๆๆ ไปนอนดีก่า huh[/quote]

ผมว่าเพราะคุณโลกสวยไม่มีประสบการณ์ สมถะ วิปัสสนา จึงไม่เข้าใจ
สิ่งที่ผมกล่าว สิ่งที่พระสูตรกล่าว สิ่งที่อรรถกถากล่าว พอไม่เข้าใจ
จึงปฏิเสธแบบหลังชนฝา หาหลักฐานมาแย้งซึ่งมันแย้งไม่ได้

ไม่รู้บอกไม่รู้ ยังมีโอกาสได้รู้
ไม่รู้อวดว่ารู้ อวดได้แต่กับคนไม่รู้
แฝงตนเป็นคนฉลาดกาฝากศาสนา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 03:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
"เมื่อกำหนดหมายพุทโธ แทนพระพุทธเจ้า ทำไว้ในใจเอาไว้อย่างนี้แล้ว หมั่นนึกพุทโธ บริกรรมพุทโธในใจ จิตย่อมผ่องใส เกิดความปราโมทย์ ละเครื่องเศร้าหมองแห่งจิตเสียได้ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน"

แถมแสดงความตื้นเขิน เพราะไม่ได้เรียนจริง อ่านตำราไม่แตก เข้าใจผิดๆๆ


เพราะพระอรรถกถา กล่าวแต่ว่า เป็นประโยชน์แก่วิปัสสนา


ในกรรมฐาน ๑๐ เหล่านี้ กรรมฐาน ๓ อย่างนี้ คือ อานาปานสติ มรณสติ กายคตาสติ ย่อมเป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาอย่างเดียว กรรมฐานที่เหลือ ๗ อย่างเป็นประโยชน์แก่การทำจิตให้ร่าเริงด้วย เป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาด้วย ด้วยประการฉะนี้.

จบอรรถกถาวรรคที่ ๑


smiley กั๊กๆ ยังอีกหลายก้าวนะเธอ


[๑๗๙]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมอย่างหนึ่งที่บุคคลเจริญแล้ว กระทำ
ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อ
ความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ธรรม
อย่างหนึ่งคืออะไร คือพุทธานุสสติ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมอย่างหนึ่งนี้แล
อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว
เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้
เพื่อนิพพาน ฯ

ในกรรมฐาน ๑๐ เหล่านี้ กรรมฐาน ๓ อย่างนี้ คือ อานาปานสติ มรณสติ กายคตาสติ
ย่อมเป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาอย่างเดียว กรรมฐานที่เหลือ ๗ อย่างเป็นประโยชน์แก่
การทำจิตให้ร่าเริงด้วย เป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาด้วย ด้วยประการฉะนี้.


"เมื่อกำหนดหมายพุทโธ แทนพระพุทธเจ้า ทำไว้ในใจเอาไว้อย่างนี้แล้ว หมั่นนึกพุทโธ บริกรรมพุทโธในใจ จิตย่อมผ่องใส เกิดความปราโมทย์ ละเครื่องเศร้าหมองแห่งจิตเสียได้ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน"

สิ่งที่ผมกล่าวสอดคล้องกัน ทั้งกับพระสูตร ทั้งอรรถกถาที่คุณยกมา
ผมว่าเพราะคุณโลกสวยไม่มีประสบการณ์ สมถะ วิปัสสนา จึงไม่เข้าใจ
สิ่งที่ผมกล่าว สิ่งที่พระสูตรกล่าว สิ่งที่อรรถกถากล่าว พอไม่เข้าใจ
จึงปฏิเสธแบบหลังชนฝา หาหลักฐานมาแย้งซึ่งมันแย้งไม่ได้

huh

พระอรรถกถา เรยหยุดหล่อนไว้ไงค๊ะ
ที่จุด วิปัสสนา
เพราะหล่อน อ่านพระธรรมไม่แตก

นี่น๊ะ จะยกตัวอย่างเหมาๆ แบบหล่อนให้ดูน๊ะ

ก็บอกคำเดียวง่ายๆ ว่าพระพุทธศาสนา สอนให้ถึงนิพพาน

แบบนี้ สอดคล้องพระไตรปิฎก พระปริยัติหมดเรย มั๊ยค๊ะ



ฝันดีนะหล่อน พยาบาทติดตัวไป มันยังเป็นมิจฉาทิฎฐินะหล่อน

กั๊กๆๆ ไปนอนดีก่า huh


ผมว่าเพราะคุณโลกสวยไม่มีประสบการณ์ สมถะ วิปัสสนา จึงไม่เข้าใจ
สิ่งที่ผมกล่าว สิ่งที่พระสูตรกล่าว สิ่งที่อรรถกถากล่าว พอไม่เข้าใจ
จึงปฏิเสธแบบหลังชนฝา หาหลักฐานมาแย้งซึ่งมันแย้งไม่ได้

ไม่รู้บอกไม่รู้ ยังมีโอกาสได้รู้
ไม่รู้อวดว่ารู้ อวดได้แต่กับคนไม่รู้
แฝงตนเป็นคนฉลาดกาฝากศาสนา
[/quote]
huh กั๊กๆๆ

แย้งไปตะพึดตพือ แต่ อ่านไม่เจอ มองไม่เห้นเอง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 03:50 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
โลกสวย เขียน:
Love J. เขียน:
"เมื่อกำหนดหมายพุทโธ แทนพระพุทธเจ้า ทำไว้ในใจเอาไว้อย่างนี้แล้ว หมั่นนึกพุทโธ บริกรรมพุทโธในใจ จิตย่อมผ่องใส เกิดความปราโมทย์ ละเครื่องเศร้าหมองแห่งจิตเสียได้ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน"

แถมแสดงความตื้นเขิน เพราะไม่ได้เรียนจริง อ่านตำราไม่แตก เข้าใจผิดๆๆ


เพราะพระอรรถกถา กล่าวแต่ว่า เป็นประโยชน์แก่วิปัสสนา


ในกรรมฐาน ๑๐ เหล่านี้ กรรมฐาน ๓ อย่างนี้ คือ อานาปานสติ มรณสติ กายคตาสติ ย่อมเป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาอย่างเดียว กรรมฐานที่เหลือ ๗ อย่างเป็นประโยชน์แก่การทำจิตให้ร่าเริงด้วย เป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาด้วย ด้วยประการฉะนี้.

จบอรรถกถาวรรคที่ ๑


smiley กั๊กๆ ยังอีกหลายก้าวนะเธอ


[๑๗๙]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมอย่างหนึ่งที่บุคคลเจริญแล้ว กระทำ
ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อ
ความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ธรรม
อย่างหนึ่งคืออะไร คือพุทธานุสสติ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมอย่างหนึ่งนี้แล
อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว
เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้
เพื่อนิพพาน ฯ

ในกรรมฐาน ๑๐ เหล่านี้ กรรมฐาน ๓ อย่างนี้ คือ อานาปานสติ มรณสติ กายคตาสติ
ย่อมเป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาอย่างเดียว กรรมฐานที่เหลือ ๗ อย่างเป็นประโยชน์แก่
การทำจิตให้ร่าเริงด้วย เป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาด้วย ด้วยประการฉะนี้.


"เมื่อกำหนดหมายพุทโธ แทนพระพุทธเจ้า ทำไว้ในใจเอาไว้อย่างนี้แล้ว หมั่นนึกพุทโธ บริกรรมพุทโธในใจ จิตย่อมผ่องใส เกิดความปราโมทย์ ละเครื่องเศร้าหมองแห่งจิตเสียได้ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน"

สิ่งที่ผมกล่าวสอดคล้องกัน ทั้งกับพระสูตร ทั้งอรรถกถาที่คุณยกมา
ผมว่าเพราะคุณโลกสวยไม่มีประสบการณ์ สมถะ วิปัสสนา จึงไม่เข้าใจ
สิ่งที่ผมกล่าว สิ่งที่พระสูตรกล่าว สิ่งที่อรรถกถากล่าว พอไม่เข้าใจ
จึงปฏิเสธแบบหลังชนฝา หาหลักฐานมาแย้งซึ่งมันแย้งไม่ได้

huh

พระอรรถกถา เรยหยุดหล่อนไว้ไงค๊ะ
ที่จุด วิปัสสนา
เพราะหล่อน อ่านพระธรรมไม่แตก

นี่น๊ะ จะยกตัวอย่างเหมาๆ แบบหล่อนให้ดูน๊ะ

ก็บอกคำเดียวง่ายๆ ว่าพระพุทธศาสนา สอนให้ถึงนิพพาน

แบบนี้ สอดคล้องพระไตรปิฎก พระปริยัติหมดเรย มั๊ยค๊ะ



ฝันดีนะหล่อน พยาบาทติดตัวไป มันยังเป็นมิจฉาทิฎฐินะหล่อน

กั๊กๆๆ ไปนอนดีก่า huh


ผมว่าเพราะคุณโลกสวยไม่มีประสบการณ์ สมถะ วิปัสสนา จึงไม่เข้าใจ
สิ่งที่ผมกล่าว สิ่งที่พระสูตรกล่าว สิ่งที่อรรถกถากล่าว พอไม่เข้าใจ
จึงปฏิเสธแบบหลังชนฝา หาหลักฐานมาแย้งซึ่งมันแย้งไม่ได้

ไม่รู้บอกไม่รู้ ยังมีโอกาสได้รู้
ไม่รู้อวดว่ารู้ อวดได้แต่กับคนไม่รู้
แฝงตนเป็นคนฉลาดกาฝากศาสนา

huh กั๊กๆๆ

แย้งไปตะพึดตพือ แต่ อ่านไม่เจอ มองไม่เห้นเอง

เห็นอะไร ขนาดยกอรรถกถามาปอ้างเพื่อฏิเสธ อรรถกถายังสนับสนุนคำกล่าวของผมเลย
พุทธานุสติ เป็นประโยชน์ต่อวิปัสสนา ( เป็นประโยชน์ต่อการเห็นธรรมด้วยปัญญาอันยิ่ง )
แถมยังช่วยให้จิตใจร่าเริงด้วย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 09:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


พ่ะน่ะ นอนหลับไปคืนเดียวตื่นมากระทู้วิ่งไปหน้าสองแระ คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 09:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
สมถะ

สมถะ แปลง่ายๆว่า ความสงบ แต่ที่ใช้ทั่วไป หมายถึงวิธีทำใจให้สงบ

ขยายความว่า ได้แก่ ข้อปฏิบัติต่างๆ ในการฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบ จนตั้งมั่นเป็นสมาธิ ถึงขั้นได้ฌานระดับต่างๆ จุดมุ่งหมายของสมถะคือสมาธิ ซึ่งหมายเอาสมาธิขั้นสูงที่ทำให้เกิดฌาน

หลักการของสมถะ คือ กำหนดใจไว้กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (เรียกว่า อารมณ์) ให้แน่วแน่จนจิตน้อมดิ่งอยู่ในสิ่งนั้นสิ่งเดียว (เรียกกันว่า จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง หรือจิตมีอารมณ์อันเดียว) ความ แน่วแน่หรือตั้งมั่นของจิต นี้เรียกว่า "สมาธิ"

เมื่อสมาธิแนบสนิทเต็มที่แล้ว ก็จะเกิดภาวะจิตที่เรียกว่า ฌาน ซึ่งแบ่งเป็นระดับต่างๆ ระดับที่กำหนดเอารูปธรรมเป็นอารมณ์ เรียกว่า รูปฌาน หรือเรียกง่ายๆ ว่า ฌาน มี ๔ ขั้น ระดับที่กำหนดอรูปธรรมเป็นอารมณ์ เรียกว่า อรูปฌาน มี ๔ ขั้น ทั้งรูป ฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ เรียกรวมกันว่า สมาบัติ (๘)


s006 เอ่?

แวะมาดูแล้ว ยังไม่เห็นความสงบยังนั้นเรยค่ะ

เพราะว่า

สัมมาสมาธิ จะเกิดได้ ต้องมีสัมมาสติก่อน
ไม่ใช่ แค่การเอาสติไปจดจ่อกะอารมณ์ใด อารมณ์หนึ่ง
แล้วจะเป็นสัมมาสติ

แต่สัมมาสติจะต้องเกิดและเป็นไปพร้อมๆ
กับสัทธาเจตสิก
อโนตัปปะเจตสิก
อโลภะเจตสิก
ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก
และยุคลธรรมเจตสิก 12ดวง

จึงเป็นโสภณเจตสิก 18 ดวง และโสภณเจตสิก ดวงนี้เอง ที่ปรากฎ
เป็นอัญญมัญญปัจจัย ที่อาศัยซึ่งกันและกัน
และอาศัยสัญญาด้วย จึงมีปัญญาเห็นเป็นสัมมาสติ

ถ้าขาดตรงนี้ไป จะไป
การแค่จะไปใช้สติจดจ่อในอารณ์หนึงอารมณ์ใด ๆ ยังไม่จัดว่า เป็นสัมมาสติ ค่ะ
ไปต่อ ยังสัมมาสมาธิไม่ได้ค่ะ เพราะยังเป็นมิจฉาสติค่ะ

ที่สำคัญที่สุด ปริยัติ กับปฎิบัติต้องสอดคล้องกัน


ก็ลุงพูดดักคอไว้แล้ว ไม่เชื่อกันมั่งเบย

อ้างคำพูด:
อดไม่ได้ เลยนำหลักให้ดู แต่ถึงจะดูหลักแล้ว ตราบใดที่ยังไม่ลงมือทำลงมือภาวนาก็ดี ยังถกเถียงกันโดยไม่ลงมือทำก็ดี เสียเวลาปลูกผักปลูกหญ้าอยู่ตราบนั้น


ว่า ต้องลงมือทำๆๆๆๆๆ ตัวอย่างก็ยกมาให้ดูแบ้ว :b32: ไม่เชื่อ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 09:20 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
พ่ะน่ะ นอนหลับไปคืนเดียวตื่นมากระทู้วิ่งไปหน้าสองแระ คิกๆๆ


โทษทีครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 09:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
สมถะ

สมถะ แปลง่ายๆว่า ความสงบ แต่ที่ใช้ทั่วไป หมายถึงวิธีทำใจให้สงบ

ขยายความว่า ได้แก่ ข้อปฏิบัติต่างๆ ในการฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบ จนตั้งมั่นเป็นสมาธิ ถึงขั้นได้ฌานระดับต่างๆ จุดมุ่งหมายของสมถะคือสมาธิ ซึ่งหมายเอาสมาธิขั้นสูงที่ทำให้เกิดฌาน

หลักการของสมถะ คือ กำหนดใจไว้กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (เรียกว่า อารมณ์) ให้แน่วแน่จนจิตน้อมดิ่งอยู่ในสิ่งนั้นสิ่งเดียว (เรียกกันว่า จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง หรือจิตมีอารมณ์อันเดียว) ความ แน่วแน่หรือตั้งมั่นของจิต นี้เรียกว่า "สมาธิ"

เมื่อสมาธิแนบสนิทเต็มที่แล้ว ก็จะเกิดภาวะจิตที่เรียกว่า ฌาน ซึ่งแบ่งเป็นระดับต่างๆ ระดับที่กำหนดเอารูปธรรมเป็นอารมณ์ เรียกว่า รูปฌาน หรือเรียกง่ายๆ ว่า ฌาน มี ๔ ขั้น ระดับที่กำหนดอรูปธรรมเป็นอารมณ์ เรียกว่า อรูปฌาน มี ๔ ขั้น ทั้งรูป ฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ เรียกรวมกันว่า สมาบัติ (๘)


s006 เอ่?

แวะมาดูแล้ว ยังไม่เห็นความสงบยังนั้นเรยค่ะ

เพราะว่า

สัมมาสมาธิ จะเกิดได้ ต้องมีสัมมาสติก่อน
ไม่ใช่ แค่การเอาสติไปจดจ่อกะอารมณ์ใด อารมณ์หนึ่ง
แล้วจะเป็นสัมมาสติ

แต่สัมมาสติจะต้องเกิดและเป็นไปพร้อมๆ
กับสัทธาเจตสิก
อโนตัปปะเจตสิก
อโลภะเจตสิก
ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก
และยุคลธรรมเจตสิก 12ดวง


จึงเป็นโสภณเจตสิก 18 ดวง และโสภณเจตสิก ดวงนี้เอง ที่ปรากฎ
เป็นอัญญมัญญปัจจัย ที่อาศัยซึ่งกันและกัน
และอาศัยสัญญาด้วย จึงมีปัญญาเห็นเป็นสัมมาสติ

ถ้าขาดตรงนี้ไป จะไป
การแค่จะไปใช้สติจดจ่อในอารณ์หนึงอารมณ์ใด ๆ ยังไม่จัดว่า เป็นสัมมาสติ ค่ะ
ไปต่อ ยังสัมมาสมาธิไม่ได้ค่ะ เพราะยังเป็นมิจฉาสติค่ะ

ที่สำคัญที่สุด ปริยัติ กับปฎิบัติต้องสอดคล้องกัน



ที่จำแนกแจกแจงเจตสิกนั่นนี่ มันเป็นสัมปยุตธรรมๆ ที่ดีเป็นกุศลมันก็เกิดร่วมกับกุศล ที่เป็นอกุศลก็เกิดร่วมกัน ท่านจึงเรียกสัมปยุตต์

ที่ว่าสัมมานั่น สัมมานี่ สัมมาสติ จริงๆก็เป็นสังขาร สติเป็นสังขารตัวหนึ่ง โยงไปที่สติปัฏฐานก็ได้ มันก็คือสติที่กำหนดฐานทั้ง ๔ ฐาน (กาย เวทนา จิต นิวรณ์ธรรม) เมื่อเราทำเรากำหนดตามฐานนั่นๆแล้ว ก็แปลว่า สติ สมาธิ ปัญญา เป็นต้น (สัมปยุตต์) มันทำหน้าที่ของมัน เขาไม่ใช่ให้ไปนั่งแยกอะไรอย่างนั้น

ถ้าพูดไปแล้วนะ การทดสอบอารมณ์ ก็คือดูว่า ผู้นั้นผู้นี้ผ่านอะไรยังไงมาบ้าง เขาก็ดูกันอย่างนี้แหละ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 09:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ผู้ที่ดูแต่ตำรา เช่น อ่านพระสูตรเป็นต้นมา พอมาเจอะแบบนี้เข้าไป บ้างก็ว่าไม่ใช่ ในตำราไม่มีพูดอย่างนี้ อะไรต่ออะไรก็ว่าไป อย่างเห็นๆ

อ้างคำพูด:
ทำสมาธิแล้วรู้สึกมีใครอยู่ข้างๆ

เหตุการณ์คือ พอผมนั่งสมาธิไปสักพักผมเริ่มได้ยินเสียงวิ้งๆๆ ในหู และรู้สึกว่ามีคนมานั่งข้างๆ กับยืนข้างหลัง ผมคิดไปเองหรือว่ามันมีอะไรครับ


นั่นทำให้เขารู้ว่า ผู้นั้นไม่เคยทำเคยฝึกจิตมาเบย สมมติว่าผู้เช่นนั้นไปทำไปฝึกดู เปิดตูดกลับบ้านดีกว่า ไม่เอาแล้ว ยิ่งไปพบกับความขี้เกียจความง่วงเหงาหาวนอนข้าไป นอนเลยขอรับท่าน :b1: แต่หารู้ไม่ว่า นั่นแหละอกุศลเจตสิก (สังขารฝ่ายร้าย) เล่นงานคุณเข้าให้แล้ว :b13:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 12:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
วิปัสสนา

วิปัสสนา แปลง่ายๆว่า การเห็นแจ้ง หรือ วิธีทำให้เกิดการเห็นแจ้ง หมายถึงข้อปฏิบัติต่างๆ ในการฝึกฝนอบรมปัญญาให้เกิดความเห็นแจ้งรู้ชัดสิ่งทั้งหลายตรงต่อสภาวะของมัน คือให้เข้าใจตามความเป็นจริง หรือ ตามที่สิ่งเหล่านั้น มันเป็นของมันเอง (ไม่ใช่เห็นไปตามที่เราวาดภาพให้มันเป็น ด้วยความชอบ ความชัง ความอยากได้ หรือความขัดใจของเรา) รู้แจ้งชัดเข้าใจจริง จนถอนความหลงผิด รู้ผิด และยึดติดในสิ่งทั้งหลายได้ ถึงขั้นเปลี่ยนท่าที่ต่อโลกและชีวิตใหม่ ทั้งท่าทีแห่งการมอง การรับรู้ การวางจิตใจ และความรู้สึกทั้งหลาย

ความรู้ความเข้าใจถูกต้อง ที่เกิดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในระหว่างการปฏิบัตินั้น เรียกว่า ญาณ มีหลายระดับ ญาณสำคัญในขั้นสุดท้ายเรียกว่า วิชชา เป็นภาวะตรงข้ามที่กำจัดอวิชชา คือ ความหลงผิด ไม่รู้แจ้ง ไม่รู้จริงให้หมดไป


ต่อ (แยกความหมาย ฌาน -ญาณ ออกจากกันให้ได้)


ภาวะจิตที่มีญาณ หรือ วิชชานั้น เป็นภาวะที่สุขสงบผ่องใส และเป็นอิสระ เพราะลอยตัวพ้นจากอำนาจครอบงำของกิเลส เช่น ความชอบความชัง ความติดใจ และความขัดใจ เป็นต้น
ไม่ถูกบังคับ หรือ ชักจูงโดยกิเลสเหล่านั้น ให้มองเห็น หรือ รับรู้สิ่งต่างๆ อย่างบิดเบือน จนพาความคิดและการกระทำที่ติดตามมา ให้เห็นเหเฉไป และไม่ต้องเจ็บปวด หรือ เร่าร้อน เพราะ ถูกบีบคั้น หรือ ต่อสู้กับ กิเลสเหล่านั้น

ญาณและวิชชา จึงเป็นจุดมุ่งของวิปัสสนา เพราะนำไปสู่วิมุตติ คือ ความหลุดพ้นเป็นอิสระที่แท้จริง ซึ่งยั่งยืนถาวร (ท่านเรียกว่า สมุจเฉทนิโรธ หรือ สมุจเฉทวิมุตติ แปลว่า ดับกิเลส หรือ หลุดพ้นโดยเด็ดขาด)

ถ้าพูดอย่างรวบรัด ก็ว่า ผลที่มุ่งหมายของสมถะ คือ ฌาน ผลที่มุ่งหมายของวิปัสสนา คือ ญาณ หรือ ว่า สมถะนำไปสู่ฌาน* วิปัสสนานำไปสู่ญาณ


ที่อ้างอิง *

*ที่พูดว่า สมถะอาจให้ได้อภิญญา ๕ ซึ่งได้แก่ญาณต่างๆพวกหนึ่งนั้น ความจริงก็ต้องให้ได้ฌานก่อนแล้วจึงน้อมจิตที่เป็นสมาธิพร้อมดี ด้วยกำลังฌานนั้นไปเพื่อได้ญาณจำพวกอภิญญาอีกต่อหนึ่ง
ถ้าพูดให้เคร่งครัด จึงต้องว่า สมถะ (ล้วนๆ) จบหรือสิ้นสุดลงเพียงแค่ ฌาน (คือไม่เกินเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ดู วิสุทธิ. ฎีกา 3/647-8)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 12:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


คคห.นี้ จะเห็นจุดแยก จุดร่วม ระหว่างสมถะ กับ วิปัสสนา (นึกถึงสมาธิด้วย) ซึ่งมีวิธีปฏิบัติที่ผลิกแผลงตะแคงคว่ำได้ อยู่ที่ว่าเราเข้าใจแค่ไหน :b32:

ต่อ

ผู้ปฏิบัติสมถะ (สำนวนแบบเรียกว่า บำเพ็ญ หรือเจริญสมถะ) อาจทำแต่สมถะอย่างเดียว โดยมุ่งหวังจะชื่นชมเสพผลของสมถะ คือ ฌานสมาบัติ และอภิญญาทั้ง ๕ ไม่ต้องเกี่ยวข้องกับวิปัสสนาเลย ก็ได้ เรียก ว่า หยุดเพียงขั้นสมถะ ไม่ก้าวถึงขั้นปัญญา

ผู้ปฏิบัติวิปัสสนา ต้องอาศัยสมถะไม่มากก็น้อย คือ อาจเจริญสมถะจนได้ฌานสมาบัติก่อนแล้ว จึงก้าวต่อไปสู่วิปัสสนา คือ เอาฌานเป็นบาทของวิปัสสนา (เรียกว่าเจริญวิปัสสนา ที่มีฌานเป็นบาท) ก็ได้
อาจเริ่มเจริญวิปัสสนาไปก่อนแล้ว จึงเจริญสมถะตามหลัง ก็ได้ หรือ
อาจเจริญทั้งสมถะและวิปัสสนาควบคู่กัน ก็ได้

แม้แต่ผู้ที่ได้ชื่อ ว่า เจริญวิปัสสนาอย่างเดียวล้วน (สุทธวิปัสสนายานิก) ไม่อาศัยสมถะเลย ก็หมายถึง ไม่อาศัยสมถะในความหมายโดยนิปริยาย หรือ ความหมายจำเพาะที่เคร่งครัด คือ ไม่ได้ทำสมถะจนได้ฌานสมาบัติก่อนเจริญวิปัสสนา

แต่ตามความเป็นจริงก็อาศัยสมถะในความหมายอย่างกว้างๆ คือ อาศัยสมาธินั่นเอง สมาธิของผู้เจริญวิปัสสนาแบบนี้ อาจเริ่มต้นด้วยขณิกสมาธิ ก็ได้
แต่เมื่อถึงขณะที่บรรลุมรรคผล สมาธินั้นจะแน่วแน่สนิท (เป็นอัปปนาสมาธิ) ถึงระดับปฐมฌาน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 12:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
พ่ะน่ะ นอนหลับไปคืนเดียวตื่นมากระทู้วิ่งไปหน้าสองแระ คิกๆๆ



อย่ามัวนอนหลับอยู่เลย จงตื่นขึ้นเถิด อย่า ให้มัจจุราชผู้เป็นพวกพ้องของคนประมาทชนะ

s006 เอ่? พาพวกมาด้วยเหรอเนี่ย?


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 57 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร