วันเวลาปัจจุบัน 28 ก.ค. 2025, 02:39  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 63, 64, 65, 66, 67, 68, 69 ... 151  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสต์ เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 08:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระเจ้ามหาปิงคละเสวยราชสมบัติมานานแล้ว ก็เสด็จสวรรคต.
เมื่อพระเจ้าปิงคละเสด็จสวรรคตแล้ว ชาวกรุงพาราณสีทั้งสิ้น
ก็ร่าเริงยินดี ยิ้มแย้มแจ่มใสกันยกใหญ่ เผาศพพระเจ้ามหาปิงคละ
ด้วยฟืนพันเล่มเกวียน ดับเชิงตะกอนด้วยน้ำหลายพันหม้อ แล้ว
อภิเษกพระโพธิสัตว์ขึ้นครองราชย์ ต่างก็ร่าเริงยินดีว่า เราได้

พระราชาผู้ตั้งอยู่ในธรรมแล้ว เที่ยวตีกลองแห่กันครึกครื้น
ตกแต่งพระนครด้วยธงทิวต่าง ๆ ทำประรำตามประตูบ้านทุก
ประตู นั่งกินเลี้ยงกันที่ปะรำอันได้ตกแต่งแล้ว มีพื้นโปรยปราย
ด้วยข้าวตอกและดอกไม้. แม้พระโพธิสัตว์ก็ประทับนั่งทรงยศ

อันยิ่งใหญ่ ท่ามกลางบัลลังก์ซึ่งกั้นด้วยเศวตฉัตร ณ ท้องพระโรง
อันประดับประดาแล้ว. พวกอำมาตย์ พราหมณ์ คหบดี และ
เจ้าพนักงานและยามประตูเป็นต้น ต่างก็ยืนแวดล้อมพระราชา
อยู่. ลำดับนั้นมียามประตูนายหนึ่งยืนอยู่ในที่ไม่ไกล ได้ถอนใจ

สะอื้นร้องไห้อยู่. พระโพธิสัตว์ทอดพระเนตรเห็นยามประตูนั้น
จึงถามว่า ดูก่อนยามประตู เมื่อพระบิดาของเราสวรรคตแล้ว
ชนทั้งปวงต่างก็ร่าเริงยินดีเที่ยวเล่นมหรสพกัน. ส่วนท่านกลับ
ยืนร้องไห้ เมื่อจะตรัสถามว่า พระบิดาของเราเป็นที่รัก เป็นที่
ชอบใจของท่านนักหรือ จึงกล่าวคาถาแรกว่า :-

ชนทั้งปวงถูกพระเจ้าปิงคละเบียดเบียน
แล้ว เมื่อพระเจ้าปิงคละนั้นสวรรคตแล้ว ชน
ทั้งหลายต่างก็พากันยินดี ดูก่อนนายประตู
พระเจ้าปิงคละผู้ไม่มีพระเนตรดำ เป็นที่รักของ
ท่านหรือ เพราะเหตุไรท่านจึงร้องไห้.

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 08:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ในบทเหล่านั้น บทว่า หึสิโต ได้แก่ ถูกเบียดเบียนด้วย
อาชญาและภาษีอากรนานาประการ. บทว่า ปิงฺคเลน แปลว่า
มีตาเหลือง. นัยว่าพระเจ้าปิงคละนั้นมีพระเนตรทั้งสองข้าง
เหลือง มีสีเหมือนตานกพิลาป. จึงมีชื่อว่า ปิงคละ. บทว่า
ปจฺจยํ เวทยนฺติ คือพากันยินดี. บทว่า อกณฺหเนตฺโต คือมี
พระเนตรเหลือง. บทว่า กสฺมา น ตฺวํ. คือ ท่านร้องไห้ทำไม.

นายประตูนั้นฟังคำพระโพธิสัตว์จึงกราบทูลว่า ข้าพระองค์
มิได้ร้องไห้ เพราะพระเจ้ามหาปิงคละสวรรคต แต่ร้องไห้
เพราะเกรงว่า ศีรษะของข้าพระองค์เป็นสุขแล้ว เพราะพระเจ้า
ปิงคละเมื่อเสด็จลงและเสด็จขึ้นปราสาท ทรงเขกศีรษะข้าพระองค์

เที่ยวละแปด เที่ยวละแปด ดุจเคาะด้วยฆ้อนของช้างทองฉะนั้น
พระองค์เสด็จไปสู่ปรโลกแล้ว จะเขกศีรษะพวกนายนิริยบาล
บ้าง พญายมบ้าง เหมือนกับเขกศีรษะข้าพระองค์ ทีนั้นพวก
นายนิริยบาลคิดว่า พระเจ้าปิงคละนี้เบียดเบียนพวกเรานัก
จักนำมาปล่อยคืนที่นี้อีก เมื่อเป็นเช่นนั้นพระองค์ก็จะพึงเขก

ศีรษะข้าพระองค์อีก เมื่อจะประกาศความนี้ จึงกล่าวคาถา
ที่ ๒ ว่า :-
พระเจ้าปิงคละผู้ไม่มีพระเนตรดำจะเป็น
ที่รักของข้าพระพุทธเจ้าก็หามิได้ แต่ข้าพระ-
พุทธเจ้ากลัวว่า พระเจ้าปิงคละนั้นจะกลับมาอีก

ลำดับนั้น พระโพธิสัตว์เมื่อจะตรัสปลอบใจนายประตู
ผู้นั้นว่า พระราชาพระองค์นั้นถูกเผาด้วยฟืนพันเล่มเกวียน
ถูกเอาน้ำรดตั้งร้อยหม้อ แม้บริเวณป่าช้าของพระราชานั้น ก็
ล้อมรั้วรอบแล้ว และตามปกติผู้ไปสู่ปรโลกแล้ว ก็ไปที่อื่นทีเดียว
เขาจะไม่กลับมาด้วยร่างกายนั้นอีก ท่านอย่ากลัวเลย จึงกล่าว
คาถานี้ว่า :-

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 08:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระเจ้าปิงคละนั้นพวกเราช่วยกันเผาแล้ว
ด้วยฟืนพันเล่มเกวียน รดด้วยน้ำหลายร้อยหม้อ
พื้นที่ดินนั้นเราป้องกันไว้อย่างดีแล้ว ท่านอย่า
กลัวเลย พระเจ้าปิงคละจักไม่เสด็จกลับมาอีก.
ตั้งแต่นั้นนายประตูก็ได้รับความโล่งใจ. พระโพธิสัตว์
เสวยราชสมบัติโดยธรรม ทรงบำเพ็ญบุญมีทานเป็นต้น แล้ว.
ก็เสด็จไปตามยถากรรม.

พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุม
ชาดก. พระเจ้าปิงคละในครั้งนั้นได้เป็นเทวทัตในครั้งนี้ ส่วน
พระโอรส คือ เราตถาคตนี้แล.
จบ อรรถกถามหาปิงคลชาดกที่ ๑๐

รวมชาดกที่มีในวรรคนี้ คือ
๑. อุปาหนชาดก ๒. วีณาถูณชาดก ๓. วิกัณณกชาดก
๔. อสิตาภุชาดก ๕. วัจฉนขชาดก ๖. พกชาดก ๗. สาเกต
ชาดก ๘. เอกปทชาดก ๙. หริตมาตชาดก ๑๐. มหาปิงคลชาดก.
จบ อุปาหนวรรคที่ ๙

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 08:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อรรถกถาสัพพทาฐชาดกที่ ๑

พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระเวฬุวันมหาวิหาร ทรง
ปรารภพระเทวทัต ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า
สิคาโล มานถทฺโธ จ ดังนี้.

พระเทวทัตยังพระเจ้าอชาตศัตรูให้เลื่อมใสแล้ว ก็ไม่
สามารถจะทำลาภสักการะที่เกิดขึ้นแล้วให้ตั้งอยู่ได้นาน. ลาภ
สักการะของพระเทวทัตได้หมดสิ้นไปตั้งแต่ครั้งที่ได้เห็นปาฏิหาริย์
กันในการปล่อยช้างนาฬาคิรีแล้ว. อยู่มาวันหนึ่ง ภิกษุทั้งหลาย
ประชุมสนทนากันในโรงธรรมว่า อาวุโสทั้งหลาย พระเทวทัต

ยังลาภสักการะให้เกิดขึ้นแล้ว ก็มิได้อาจจะให้ดำรงอยู่ได้นาน.
พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้พวก
เธอสนทนากันด้วยเรื่องอะไร เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลให้ทรง
ทราบแล้ว จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เทวทัตมิใช่ทำลาภ
สักการะที่เกิดแก่ตนให้หมดสิ้นไปในบัดนี้เท่านั้น แม้ในกาลก่อน
ก็ได้หมดสิ้นไปแล้วเหมือนกัน ทรงนำเรื่องอดีตมาตรัสเล่า.

ในอดีตกาลครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
กรุงพาราณสี พระโพธิสัตว์ได้เป็นปุโรหิตของพระองค์ เป็นผู้
จบไตรเพทและศิลปศาสตร์ ๑๘ ประการ. รอบรู้ปฐวีวิชัยมนต์.

ที่เรียกว่า ปฐวีวิชัยมนต์นั้น คือมนต์กลับใจให้หลง. อยู่มาวันหนึ่ง
พระโพธิสัตว์คิดว่าจักสาธยายมนต์นั้น จึงนั่งทำการสาธยาย
มนต์บนหินดาดที่เนินผาแห่งหนึ่ง. นัยว่ามนต์นั้นผู้มีใจวอกแวก
ความทรงจำไม่ดี ไม่สามารถจะให้สำเร็จได้. เพราะฉะนั้นปุโรหิต

นั้นจึงสาธยายในที่เช่นนั้น. ในเวลาที่ท่านปุโรหิตทำการสาธยาย
มีสุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่งนอนอยู่ในโพรงแห่งหนึ่ง ได้ยินมนต์นั้น
เหมือนกัน ได้ท่องจำจนแคล่วคล่อง. นัยว่าสุนัขจิ้งจอกตัวนั้น
ในอัตภาพอดีตถัดไป ได้เป็นพราหมณ์ผู้หนึ่ง ซึ่งแสดงแคล่วคล่อง
ปฐวีวิชัยมนต์. พระโพธิสัตว์ทำการสาธยายแล้วลุกไป กล่าวว่า

มนต์ของเรานี้แคล่วคล่องหนอ. สุนัขจิ้งจอกออกจากโพรงกล่าว
ว่า ท่านพราหมณ์ผู้เจริญ มนต์นี้แคล่วคล่องแก่ข้าพเจ้ายิ่งกว่า

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 08:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ท่านเสียอีก แล้ววิ่งหนีไป. พระโพธิสัตว์คิดว่า สุนัขจิ้งจอกนี้
จักทำอกุศลใหญ่หลวง จึงติดตามไปได้หน่อยหนึ่ง. สุนัขจิ้งจอก
ได้หนีเข้าป่าไป. สุนัขจิ้งจอกไปงับนางสุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่ง เมื่อ
นางสุนัขจิ้งจอกถามว่า อะไรกันนี่ กล่าวว่า เจ้ารู้จักเราหรือไม่
รู้จัก. นางสุนัขจิ้งจอกตอบว่า รู้จักซิ. สุนัขจิ้งจอกนั้นร่าย

ปฐวีวิชัยมนต์บังคับสุนัขจิ้งจอกเป็นร้อย ๆ ไว้ในอำนาจ กระทำ
สัตว์ ๔ เท้า มีช้าง ม้า สิงห์ เสือ กระต่าย สุกรและเนื้อ
เป็นต้น ทั้งหมดไว้ในสำนักของตนและแล้วได้เป็นพญาสัตว์ ชื่อว่า
สัพพทาฐะ. นางสุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่งเป็นอัครมเหสี. ราชสีห์

ยืนอยู่บนหลังช้างสองเชือก. พญาสุนัขจิ้งจอกนั่งบนหลังราชสีห์
กับนางสุนัขจิ้งจอกผู้เป็นอัครมเหสี นับเป็นยศอันยิ่งใหญ่.
พญาสุนัขจิ้งจอกเมาด้วยยศมหันต์ เกิดความมานะคิดชิงราช-
สมบัติกรุงพาราณสี แวดล้อมด้วยสัตว์จตุบาททั้งปวง บรรลุ
ถึงที่ไม่ไกลจากกรุงพาราณสี. มีบริษัทบริวารได้ ๑๒ โยชน์.

พญาสุนัขจิ้งจอกตั้งอยู่ไม่ไกลนัก ส่งสาสน์ไปถึงพระราชาว่า
จงมอบราชสมบัติให้หรือจงรบ. ชาวกรุงพาราณสีต่างพากัน
สะดุ้งหวาดกลัว ปิดประตูพระนครตั้งมั่นอยู่. พระโพธิสัตว์
เข้าไปเฝ้าพระราชากราบทูลว่า ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์อย่า

กลัวเลย การต่อสู้ด้วยการรบกับสุนัขจิ้งจอกสัพพทาฐะ เป็น
ภาระของข้าพระองค์เอง เว้นข้าพระองค์เสีย ไม่มีผู้อื่นสามารถ
รบกับมันได้ ปลอบใจพระราชากับประชาชนแล้ว คิดว่า สัพพ-

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 13:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ทาฐะจะทำอย่างไรจึงจะยึดราชสมบัติ เราจักถามมันดูก่อน
จึงขึ้นป้อมที่ประตูเมืองถามว่า ดูก่อนสัพพทาฐะผู้สหาย ท่าน
จักทำประการใดจึงจะชิงเอาราชสมบัตินี้ได้. สัพพทาฐะตอบว่า
เราจะให้ราชสีห์เปล่งสีหนาททำให้มหาชนสะดุ้งตกใจกลัวเสียง

แล้วจักยึดเอาราชสมบัติ. พระโพธิสัตว์ก็รู้ว่า มีอุบายแก้ จึงลง
จากป้อมให้เที่ยวตีกลองประกาศว่า ชาวกรุงพาราณสีทั้งหมด
๑๒ โยชน์ จงเอาแป้งถั่วราชมาศปิดช่องหูเสีย. มหาชนฟังเสียง
ป่าวร้องพากันเอาแป้งถั่วราชมาศปิดช่องหูของตน และของสัตว์
๔ เท้าทั้งหมด จนกระทั่งแมวไม่ให้ได้ยินเสียงของผู้อื่น. ครั้งนั้น

พระโพธิสัตว์ขึ้นสู่ป้อมร้องเรียกอีกว่า ดูก่อนสัพพทาฐะ พญา-
สุนัขจิ้งจอกถามว่า อะไรเล่าพราหมณ์. กล่าวว่า ท่านจักทำ
อย่างไรอีกจึงจะชิงเอาราชสมบัตินี้ได้. ตอบว่าข้าพเจ้าจะให้
ราชสีห์เปล่งสีหนาทให้พวกมนุษย์ตกใจกลัว ให้ถึงแก่ความตาย

แล้วจึงจะยึดเอาราชสมบัติ. พระโพธิสัตว์กล่าวว่า ท่านไม่อาจ
ให้ราชสีห์เปล่งสีหนาทได้ เพราะพญาไกรสรสีหราชมีเท้าหน้า
เท้าหลังแดงงาม สมบูรณ์ด้วยชาติ จักไม่ทำตามคำสั่งของ
สุนัขจิ้งจอกแก่เช่นท่าน. สุนัขจิ้งจอกเป็นสัตว์ดื้อด้านอวดดี

กล่าวว่า ราชสีห์ทั้งหลาย ตัวอื่นจงยืนเฉย เรานั่งอยู่บนหลัง
ตัวใด จักให้ตัวนั้นแหละแผดเสียง. พระโพธิสัตว์กล่าวว่า ถ้า
เช่นนั้น จงให้แผดเสียงเถิด ถ้าท่านสามารถ. พญาสุนัขจิ้งจอก
จึงให้สัญญาณด้วยเท้าแก่ราชสีห์ตัวที่ตนนั่งอยู่บนหลังว่า จง

แผดเสียง. ราชสีห์นั้นจึงเม้มปากเปล่งสีหนาทบนกะพองเศียร
ช้าง ๓ ครั้ง อย่างไม่เคยเปล่งมาเลย. ช้างทั้งหลายต่างสะดุ้ง
ตกใจ สลัดสุนัขจิ้งจอกให้ตกไปที่โคนเท้า เอาเท้าเหยียบหัว

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 13:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
สุนัขจิ้งจอกนั้นแหลกละเอียดไป. สุนัขจิ้งจอกสัพพทาฐะถึงแก่
ความตาย ณ ที่นั้นเอง. ช้างเหล่านั้นได้ยินเสียงราชสีห์แล้ว ก็
กลัวภัย คือความตายต่างก็สับสนชุลมุนวุ่นวายแทงกันตาย ณ ที่นั้นเอง.
สัตว์ ๔ เท้าทั้งหมด แม้ที่เหลือมีเนื้อและสุกรเป็นต้น มีกระต่าย
และแมวเป็นที่สุด ยกเว้นราชสีห์ทั้งหลายเสีย ได้ถึงแก่ความตาย

ณ ที่นั้นเอง. ราชสีห์ทั้งหลายก็หนีเข้าป่าไป. กองเนื้อสัตว์
เกลื่อนไปทั้ง ๑๒ โยชน์. พระโพธิสัตว์ลงจากป้อมแล้ว ให้เปิด
ประตูพระนคร ให้ตีกลองเที่ยวประกาศไปในพระนครว่า ชาว
เมืองทั้งหมดจงเอาแป้งที่หูของตนออก มีความต้องการเนื้อก็จง

ไปเก็บเอามา. มนุษย์ทั้งหลายได้บริโภคเนื้อสด ที่เหลือก็ตาก
แห้งทำเป็นเนื้อแผ่นไว้. กล่าวกันว่า นัยว่าการทำเนื้อแผ่นตากแห้ง
เกิดขึ้นในครั้งนั้นเอง.

พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ตรัสอภิ-
สัมพุทธคาถาเหล่านี้แล้วทรงประชุมชาดกว่า :-
สุนัขจิ้งจอกกระด้างด้วยมานะ มีความ
ต้องการด้วยบริวาร ได้บรรลุถึงสมบัติใหญ่ ได้
เป็นราชาแห่งสัตว์มีเขี้ยวงาทั้งปวง ฉันใด ใน
หมู่มนุษย์ผู้ใดมีบริวารมาก ผู้นั้นชื่อว่าเป็นใหญ่
ในบริวารเหล่านั้น ดุจสุนัขจิ้งจอกได้เป็นใหญ่
กว่าสัตว์มีเขี้ยวงาฉะนั้น.

ในบทเหล่านั้น บทว่า มานถทฺโธ ได้แก่ สุนัขจิ้งจอก
กระด้างด้วยมานะเกิดขึ้นเพราะอาศัยบริวาร. บทว่า ปริวาเรน
ิอตฺถิโก คือ มีความต้องการด้วยบริวารให้ยิ่งขึ้นไป. บทว่า
มหตึ ภูมึ ได้แก่ สมบัติใหญ่. บทว่า ราชาสิ สพฺพทาฐินํ คือ
ได้เป็นราชาแห่งสัตว์มีเขี้ยวงาทั้งหมด. บทว่า โส ฯเปฯ โหติ

ความว่า บุรุษผู้ถึงพร้อมด้วยบริวารนั้น ชื่อว่าเป็นใหญ่ใน
บริวารเหล่านั้น. บทว่า สิคาโล วิย ทาฐินํ ได้แก่ ได้เป็นใหญ่
เหมือนสุนัขจิ้งจอกได้เป็นใหญ่กว่าสัตว์มีเขี้ยวงาฉะนั้น. ทีนั้น
เขาถึงความประมาท ก็ย่อมถึงความพินาศ เพราะอาศัยบริวาร
นั้น ดุจสุนัขจิ้งจอกฉะนั้น.

สุนัขจิ้งจอกในครั้งนั้นได้เป็นเทวทัตในครั้งนี้ พระราชา
ได้เป็นสาริบุตร ส่วนปุโรหิต คือเราตถาคตนี้แล.
จบ อรรถกถาสัพพทาฐชาดกที่ ๑

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 13:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรง
ปรารภสุนัขกินอาหารที่ศาลานั่งพัก ใกล้ซุ้มรางน้ำ ตรัสพระ-
ธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า พาโล วตายํ สุนโข ดังนี้.

ได้ยินว่า พวกตักน้ำนำสุนัขนั้นมาเลี้ยงไว้ในที่นั้นตั้งแต่
เกิด. ครั้นต่อมาสุนัขนั้นได้กินอาหารในที่นั้นจนมีร่างกายอ้วนพี.
วันหนึ่งมีบุรุษชาวบ้านผู้หนึ่งมาถึงที่นั่น เห็นสุนัขจึงให้ผ้าสาฏก
เนื้อดีและเงินแก่คนตักน้ำ แล้วเอาโซ่ผูกพาสุนัขไป. สุนัขนั้น
ถูกเขานำไปก็ไม่ดิ้นรน กินอาหารที่เขาให้เดินตามไปข้างหลัง.

บุรุษนั้นคิดว่าเดี๋ยวนี้สุนัขนี้รักเรา จึงแก้โซ่ออก. สุนัขพอเขา
แก้แล้วเท่านั้น วิ่งรวดเดียวถึงศาลานั่งพักตามเดิม. ภิกษุทั้งหลาย
เห็นสุนัขนั้น ทราบเหตุที่มันทำ จึงสนทนากันในโรงธรรมใน
ตอนเย็นว่า อาวุโสทั้งหลาย สุนัขที่ศาลานั่งพัก ฉลาดในการทำ
ให้พ้นจากเครื่องผูก พอเขาปล่อยเท่านั้นกลับหนีมาได้. พระ-

ศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้พวกเธอ
นั่งสนทนากันด้วยเรื่องอะไร เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลให้ทรง
ทราบแล้ว จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สุนัขนั้นมิใช่ฉลาด
ในการทำให้พ้นจากเครื่องผูกในบัดนี้เท่านั้น แม้เมื่อก่อนก็ฉลาด

ในการทำให้พ้นจากเครื่องผูกเหมือนกัน แล้วทรงนำเรื่องอดีต
มาตรัสเล่า.

ในอดีตกาลครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
กรุงพาราณสี พระโพธิสัตว์อุบัติในตระกูลที่มีสมบัติมากตระกูล
หนึ่งในแคว้นกาสี ครั้นเจริญวัยได้ครองฆราวาส. ครั้งนั้นมนุษย์
คนหนึ่งในกรุงพาราณสี ได้มีสุนัขอยู่ตัวหนึ่ง. สุนัขนั้นได้ก้อนข้าว

กินจนอ้วนท้วน. ชาวบ้านคนหนึ่งมากรุงพาราณสี เห็นสุนัขนั้น
จึงให้ผ้าสาฎกเนื้อดีและเงินแก่มนุษย์นั้น แล้วเอาสุนัขไป เอา

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 13:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เชือกหนังล่าม ถือปลายเชือกเดินจูงไป จึงเข้าไปยังศาลาไม้อ้อ
แห่งหนึ่งใกล้ปากดง จึงผูกสุนัขไว้ นอนหลับบนแผ่นกระดาน.
ในกาลนั้นพระโพธิสัตว์เดินผ่านดงไปทำธุระอย่างหนึ่ง เห็นสุนัข
นั้นถูกล่ามไว้จึงกล่าวคาถาแรกว่า :-

สุนัขตัวใด ไม่กัดเชือกหนังให้ขาด สุนัข
ตัวนั้นโง่เขลามาก สุนัขควรจะเปลื้องตนเสียจาก
เครื่องผูก กินเชือกหนังเสียให้อิ่ม แล้วจึงค่อย
กลับไปยังที่อยู่ของตน.
สุนัขได้ฟังดังนั้นจึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :-

คำที่ท่านกล่าวนี้ ฝังอยู่ในหัวใจของ
ข้าพเจ้า อนึ่งข้าพเจ้ายังได้จำไว้ในใจแล้ว ข้าพเจ้า
จะรอเวลาจนกว่าคนจะหลับ.

ในบทเหล่านั้น บทว่า อฏฺฐิตํ เม มนสฺมึ เม ความว่า ท่าน
กล่าวคำใด คำนั้นเราตั้งใจไว้แล้ว คือเก็บไว้แล้วแต่ในใจของเรา.
บทว่า อโถ เม หทเย กตํ คือ แม้คำของท่านเราก็เก็บไว้ในใจ
ทีเดียว. บทว่า กาลญฺจ ปฏิกงฺขามิ คือ ข้าพเจ้ากำลังรอเวลา
อยู่. บทว่า ยาว ปสุปตุชฺชโน ความว่า ข้าพเจ้ารอเวลาจนกว่า
มหาชนจะหลับ. นอกเหนือไปจากนี้ สุนัขนี้คิดว่า ความปรารถนา
ของตนพึงเกิดขึ้นว่าจะหนี เพราะฉะนั้น ในตอนกลางคืนเมื่อ
คนหลับกันหมด เราจะกัดเชือกหนีไป.

สุนัขนั้นครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว เมื่อมหาชนพากันหลับ
จึงกัดเชือกกินแล้วหนีไปยังเรือนของเจ้าของตนตามเดิม.
พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุม
ชาดก. สุนัขในครั้งนั้นได้เป็นสุนัขในครั้งนี้ ส่วนบุรุษบัณฑิต
คือ เราตถาคตนี้แล.
จบ อรรถกถาสุนขชาดกที่ ๒

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 13:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ เวฬุวันมหาวิหาร ทรงปรารภ
พระเทวทัต ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า สตฺตตนฺตึ
สุมธุรํ ดังนี้.

ความย่อมีอยู่ว่า ในครั้งนั้นภิกษุทั้งหลายกล่าวกะพระ-
เทวทัตว่า ดูก่อนพระเทวทัต พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นอาจารย์
ของท่าน ท่านอาศัยพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เล่าเรียนพระไตรปิฎก
ยังฌาน ๔ ให้เกิดขึ้น การที่จะเป็นศัตรูต่อผู้ที่ชื่อว่าเป็นอาจารย์
ไม่สมควรเลย. พระเทวทัตกล่าวว่า ดูก่อนอาวุโสทั้งหลาย พระ-

สมณโคดมเป็นอาจารย์ของเราหรือ พระไตรปิฎกเราเรียนด้วย
กำลังของตนเองทั้งนั้นมิใช่หรือ ฌานทั้ง ๔ เราก็ทำให้เกิดด้วย
กำลังของตนทั้งนั้น บอกคืนอาจารย์แล้วฉะนี้. ภิกษุทั้งหลาย
สนทนากันในโรงธรรมว่า อาวุโสทั้งหลาย พระเทวทัตบอกคืน

อาจารย์แล้วกลับเป็นศัตรูต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ถึงความ
พินาศแล้ว. พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
บัดนี้พวกเธอนั่งสนทนากันด้วยเรื่องอะไร ครั้นภิกษุทั้งหลาย
กราบทูลให้ทรงทราบแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เทวทัต
มิใช่บอกคืนอาจารย์เป็นศัตรูต่อเรา แล้วถึงความพินาศในบัดนี้
เท่านั้น แม้เมื่อก่อนก็ถึงความมหาวินาศแล้วเหมือนกัน ทรงนำ
เรื่องอดีตมาตรัสเล่า.

ในอดีตกาลครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
กรุงพาราณสี พระโพธิสัตว์อุบัติในตระกูลนักขับร้อง. มารดา
บิดาตั้งชื่อว่า คุตติลกุมาร. กุมารนั้นครั้นเจริญวัย สำเร็จศิลปะ
การขับร้อง ได้เป็นนักขับร้องชั้นยอด ในชมพูทวีปทั้งสิ้น ชื่อว่า
คุตติลคนธรรพ์. เขาไม่มีภรรยา เลี้ยงมารดาบิดาผู้ตาบอด. ใน
กาลนั้น พ่อค้าชาวกรุงพาราณสีไปค้าขายยังเมืองอุชเชนี เมื่อ

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 13:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เขาป่าวร้องมีการมหรสพ จึงเรี่ยไรกันหาดอกไม้ของหอมและ
เครื่องลูบไล้ตลอดจนของเคี้ยวของบริโภคเป็นต้น เป็นอันมาก
ประชุมกัน ณ สนามกีฬา ให้ค่าจ้างแล้วกล่าวว่า พวกท่านจง
นำนักร้องมาคนหนึ่งเถิด.

สมัยนั้นในกรุงอุชเชนี มีนักขับร้องชั้นเยี่ยม ชื่อมุสิละ.
พวกพ่อค้าจึงหาเขามาให้แสดงการขับร้องให้ตนชม. มุสิละ
เมื่อจะดีดพิณ ได้ขึ้นสายเสียงเอกดีดแล้ว. การดีดสีของเขานั้น
ได้ปรากฏดุจเสียงเกาเสื่อรำแพนแก่พวกพ่อค้าเหล่านั้น ผู้มีความ
ชินหูในการดีดสีของคุตติลคนธรรพ์ จึงมิได้แสดงอาการชอบใจ

แม้สักคนเดียว. มุสิละเมื่อพวกพ่อค้าเหล่านั้นไม่แสดงอาการพอใจ
คิดว่า เราเห็นจะดีดพิณขันตึงเกินไป จึงลดลงปานกลาง ดีด
ด้วยเสียงปานกลาง. พวกพ่อค้าเหล่านั้นก็คงเฉยอยู่ในเสียงพิณ
นั้น. ลำดับนั้นเขาคิดว่า พวกพ่อค้าเหล่านี้คงไม่รู้จักอะไร จึง

แกล้งทำเป็นไม่รู้เรื่องเสียเอง ดีดพิณหย่อน ๆ. พวกพ่อค้าก็
มิได้ว่าอะไร. มุสิละจึงกล่าวกะพ่อค้านั้นว่า ดูก่อนพ่อค้าผู้เจริญ
เมื่อข้าพเจ้าดีดพิณท่านไม่พอใจหรือ. พวกพ่อค้ากล่าวว่า ก็ท่าน
ดีดพิณอะไร พวกเรามิได้เข้าใจว่า ท่านขึ้นเสียงพิณดีดสี. มุสิละ

ถามว่า ก็ท่านรู้จักอาจารย์ที่เก่งกว่าข้าพเจ้าหรือ หรือไม่รู้สึก
ยินดีเพราะตนไม่รู้จักฟัง. พวกพ่อค้ากล่าวว่า เราเคยได้ฟัง
เสียงพิณคุตติลคนธรรพ์ที่กรุงพาราณสี เสียงพิณของท่านจึง
ฟังคล้ายเสียงสตรีกล่อมเด็ก. มุสิละกล่าวว่า ถ้าเช่นนั้นท่านจง

รับค่าจ้างที่ท่านให้คืนไปเถิด ข้าพเจ้าไม่ต้องการค่าจ้างนั้น.
ก็แต่ว่า เมื่อท่านจะกลับไปกรุงพาราณสี ช่วยพาข้าพเจ้าไปด้วย.
พวกพ่อค้าเหล่านั้นรับว่า ดีละ. ในเวลากลับได้พาเขาไปกรุง-
พาราณสี บอกมุสิละว่า นี่คือที่อยู่ของคุตติลคนธรรพ์ แล้วเลยไป

ที่อยู่ของตน. มุสิละเข้าไปบ้านพระโพธิสัตว์ เห็นพิณคู่มือของ
พระโพธิสัตว์ จึงหยิบมาดีด. ลำดับนั้นมารดาบิดาของพระ-

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 13:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
โพธิสัตว์แลไม่เห็นมุสิละ เพราะตาบอด เข้าใจว่าเห็นจะหนู
กัดพิณ จึงกล่าวว่า หนูกัดพิณ. มุสิละจึงวางพิณไหว้มารดา
บิดาพระโพธิสัตว์. เมื่อท่านถามว่า มาแต่ไหน จึงกล่าวว่ามา
จากเมืองอุชเชนี เพื่อขอเรียนศิลปะในสำนักของท่านอาจารย์.
เมื่อมารดาบิดาพระโพธิสัตว์รับดีละ แล้วจึงถามว่า ท่านอาจารย์

อยู่ไหน ได้ฟังว่า ไม่อยู่จ้ะพ่อคุณ วันนี้จะกลับมา จึงนั่งอยู่ที่นั้น
เอง. ครั้นพระโพธิสัตว์กลับมาได้รับปฏิสันถารแล้ว จึงบอก
เหตุที่ตนมา. พระโพธิสัตว์รู้องค์วิชาทำนายลักษณะคน จึงรู้ว่า
มุสิละเป็นอสัตยบุรุษ ได้บอกปัดว่า ไปเถิดพ่อ ศิลปะไม่สำเร็จ

แก่ท่านดอก. มุสิละจับเท้ามารดาบิดาพระโพธิสัตว์ลูบไล้ให้
สงสารตนแล้วอ้อนวอนว่า ขอท่านจงช่วยให้พระโพธิสัตว์ถ่ายทอด
ศิลปะให้ข้าพเจ้าเถิด. พระโพธิสัตว์ถูกมารดาบิดาช่วยพูดบ่อย ๆ
ก็ไม่อาจขัดท่านได้ จึงสอนศิลปะให้. มุสิละไปราชนิเวศน์กับ

พระโพธิสัตว์. พระราชาทอดพระเนตรเห็นเขา ตรัสถามว่า นั่น
ใครน่ะท่านอาจารย์. พระโพธิสัตว์กราบทูลว่า ขอเดชะ นี่คือ
อันเตวาสิกของข้าพระองค์. เขาจึงได้คุ้นเคยกับพระราชาโดย
ลำดับ. พระโพธิสัตว์มิได้ปิดบังอำพรางวิชาให้ศึกษาตามแบบ

ที่ตนรู้มาจนจบ แล้วกล่าวว่า แน่ะพ่อ ท่านเรียนศิลปะจบแล้ว.
มุสิละคิดว่า ศิลปะเราก็ช่ำชองแล้ว ทั้งกรุงพาราณสีนี้ก็เป็น
นครเลิศในชมพูทวีปทั้งสิ้น. แม้ถ้าอาจารย์แก่เราควรจะอยู่ใน
กรุงพาราณสีนี้แหละ. มุสิละจึงบอกอาจารย์ว่า ข้าพเจ้าจักรับ
ราชการ. อาจารย์กล่าวว่าดีแล้ว. เราจะกราบทูลพระราชา

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 13:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
จึงพาไปเฝ้าพระราชากราบทูลว่า อันเตวาสิกของข้าพระองค์
ปรารถนาจะรับราชการสนองพระคุณพระองค์ ขอพระองค์
จงพิจารณาเบี้ยหวัดให้เขา. เมื่อพระราชาตรัสว่า เขาจะได้กึ่ง
หนึ่งจากเบี้ยหวัดที่ท่านได้. จึงบอกเรื่องนั้นแก่มุสิละ. มุสิละ
กล่าวว่า เมื่อข้าพเจ้าได้รับเบี้ยหวัดเท่ากับท่าน จึงจะรับราชการ
เมื่อไม่ได้เท่าจะไม่ขอรับ. พระโพธิสัตว์ถามว่าเพราะเหตุไร.

มุสิละตอบว่า ข้าพเจ้ารู้ศิลปะที่ท่านรู้หมดมิใช่หรือ. พระโพธิสัตว์
กล่าวว่า ถูกแล้วท่านรู้ทั้งหมด. มุสิละกล่าวว่าเมื่อเป็นเช่นนั้น
เหตุไรพระราชาจึงพระราชทานแก่ข้าพเจ้ากึ่งหนึ่งเล่า. พระ-
โพธิสัตว์จึงกราบทูลแด่พระราชา. พระราชาตรัสว่า ถ้าเขา

สามารถแสดงศิลปะทัดเทียมท่านก็จะได้เท่ากัน. พระโพธิสัตว์
ฟังพระดำรัสดังนั้น จึงบอกแก่มุสิละ เมื่อเขากล่าวว่า ดีละ
ข้าพเจ้าจักแสดง จึงกราบทูลแด่พระราชา เมื่อพระองค์ตรัสว่า
ดีแล้ว จงแสดงเถิดจะแสดงแข่งขันกันวันไหนเล่า กราบทูลว่า

ข้าแต่มหาราช ขอจงแข่งขันกันในวันที่ ๗ นับแต่วันนี้. พระราชา
รับสั่งหาตัวมุสิละมาตรัสถามว่า ได้ยินว่าท่านจะทำการแข่งขัน
กับอาจารย์หรือ กราบทูลว่า ขอเดชะจริงพระเจ้าข้า แม้ทรง
ห้ามว่าอันการแข่งดีกับอาจารย์ไม่สมควรเลย. กราบทูลว่า

ข้าแต่มหาราชช่างเถิด ขอให้ข้าพระองค์แข่งขันกับอาจารย์ใน
วันที่เจ็ดเถิด จักได้ทราบว่าคนไหนจักชนะ. พระราชารับสั่งว่า
ดีแล้ว รับสั่งให้เที่ยวตีกลองป่าวร้องว่า ในวันที่เจ็ดนับแต่วันนี้
อาจารย์กับศิษย์จะแสดงศิลปะแข่งขันกันที่ประตูวัง ชาวเมือง

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 13:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
จงมาประชุมดูศิลปะกันเถิด. พระโพธิสัตว์คิดว่า มุสิละผู้นี้ยัง
หนุ่มแน่นมีกำลังแข็งแรง เราแก่ตัวถอยกำลังแล้ว. ธรรมดาว่า
กิริยาของคนแก่ย่อมไม่กระฉับกระเฉง. อนึ่ง ธรรมดาว่าลูกศิษย์
แพ้ก็ไม่แปลกอะไร แต่เมื่อลูกศิษย์ชนะเข้าไปตายเสียในป่ายัง
ดีกว่า ความละอายที่พึงจะได้รับ. พระโพธิสัตว์จึงเข้าไปป่า

แล้วก็กลับเพราะกลัวตายแล้วกลับไปอีกกลัวอาย. เมื่อพระโพธิ-
สัตว์กลับไปกลับมาดังนี้ จนล่วงไปได้ ๖ วัน ต้นหญ้าตายราบ
เกิดเป็นรอยทางเดินเท้าแล้ว. ขณะนั้นพิภพของท้าวสักกะแสดง
อาการร้อน. ท้าวสักกะทรงเล็งแลดูก็รู้เหตุการณ์นั้น ทรงดำริ

ว่า คุตติลคนธรรพ์ได้รับความทุกข์ใหญ่หลวงในป่า เพราะกลัว
อันเตวาสิก. เราควรจะเป็นที่พึ่งแก่เขา จึงรีบเสด็จไปยืนอยู่
ข้างหน้า ตรัสถามว่า ท่านอาจารย์ท่านเข้าป่าไปทำไม เมื่อ
พระโพธิสัตว์ถามว่าท่านเป็นใคร ตรัสว่าเราเป็นท้าวสักกะ.
ลำดับนั้นพระโพธิสัตว์จึงทูลท้าวสักกะว่า ข้าแต่เทวราชเจ้า
ข้าพระองค์ไปป่าก็เพราะกลัวแพ้อันเตวาสิก จึงกล่าวคาถาแรก
ว่า :-

ข้าพระองค์ได้สอนให้ศิษย์ชื่อ มุสิละ
เรียนวิชาดีดพิณ ๗ สาย มีเสียงไพเราะจับใจ
คนฟัง เขากลับมาขันดีดพิณสู้ข้าพระองค์ ณ ท่าม
กลางสนาม ข้าแต่ท้าวโกสีย์ ขอพระองค์จงเป็น
ที่พึ่งของข้าพระองค์เถิด.

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 17:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ท้าวสักกะสดับคำของพระโพธิสัตว์แล้วตรัสว่า อย่ากลัว
เลย เราจะช่วยต่อต้านป้องกันท่านเอง ได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ว่า :-
ดูก่อนสหาย ฉันจะเป็นที่พึ่งของท่าน ฉัน
เป็นผู้บูชาอาจารย์ ศิษย์จักไม่ชนะท่าน ท่านจัก
ชนะศิษย์.

ท้าวสักกะตรัสว่า ก็และเมื่อท่านจะดีดพิณ ท่านจงเด็ด
เสียสายหนึ่ง ดีด ๖ สาย เสียงพิณของเจ้าจักเหมือนเดิม แม้
มุสิละก็จะเด็ดสายพิณ แต่เสียงพิณของเขาจักไม่เหมือนเดิม
ขณะนั้นเขาจะถึงความปราชัย ครั้นทราบว่าเขาถึงความปราชัย
แล้ว ท่านพึงเด็ดแม้สายที่ ๒ สายที่ ๓ สายที่ ๔ สายที่ ๕

สายที่ ๖ สายที่ ๗ ดีดแต่คันพิณเปล่า ๆ เสียงจะออกจากเงื่อน
สายพิณที่เด็ดทิ้ง ดังไปทั่วกรุงพาราณสีทั้ง ๑๒ โยชน์ทั้งสิ้น.
ท้าวสักกะตรัสอย่างนี้แล้ว จึงประทานห่วง ๓ ห่วงให้พระโพธิสัตว์
แล้วตรัสว่า เมื่อเสียงพิณของท่านดังไปทั่วนครแล้ว ท่านจง
โยนห่วงจากจำนวนนี้ไปในอากาศห่วงหนึ่ง ลำดับนั้นนางอัปสร

๓๐๐ จักลงมาฟ้อนรำข้างหน้าท่าน ในเวลาที่นางอัปสรเหล่านั้น
ฟ้อนรำ ท่านพึงโยนห่วงที่ ๒ ไป ลำดับนั้นนางอัปสรอีก ๓๐๐
จะลงมาฟ้อนรำข้างหน้าพิณของท่าน จากนั้นพึงโยนห่วงที่ ๓ ไป
ลำดับนั้นนางอัปสรอีก ๓๐๐ จะลงมาฟ้อนรำบนลานสนามฟ้อน
แม้เราก็จักมาหาท่าน ท่านจงไปเถิด อย่ากลัวเลย.

พระโพธิสัตว์ได้กลับไปบ้านในเวลาเช้า. พวกชาวเมือง
ทำมณฑปที่ใกล้ประตูพระราชวัง ตกแต่งที่ประทับสำหรับ
พระราชา. พระราชาเสด็จลงจากปราสาทแล้วประทับนั่งกลาง
บัลลังก์ ณ มณฑปที่ประดับประดาแล้ว. สตรีตกแต่งแล้วหนึ่งหมื่น

และอำมาตย์ พราหมณ์ ชาวแว่นแคว้นเป็นต้น ต่างก็เฝ้าแหน
อยู่พร้อมพรั่ง. ชาวนครทั้งปวงชุมนุมกันแล้ว. ต่างจัดตั้งรถ

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 63, 64, 65, 66, 67, 68, 69 ... 151  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร