วันเวลาปัจจุบัน 21 ก.ค. 2025, 05:10  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 14, 15, 16, 17, 18, 19, 20 ... 151  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2018, 12:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระนครสาวัตถี
ทรงปรารภบุรุษผู้เข็ญใจอย่างหนัก ตรัสพระธรรมเทศนานี้
มีคำเริ่มต้นว่า ยถนฺโน ปุริโส โหติ ดังนี้.

ความพิสดารว่า ในพระนครสาวัตถี บางครั้งสกุลเพียง
สกุลเดียวเท่านั้น ถวายทานแต่ภิกษุสงฆ์ มีพระพุทธเจ้าเป็น
ประมุข บางครั้งสาม-สี่ตระกูลรวมกัน บางครั้งด้วยความ
ร่วมมือกันเป็นคณะ บางครั้งด้วยความร่วมใจกันของผู้ที่อย
ู่ร่วมถนน บางครั้งรวมคนที่มีฉันทะความพอใจหมดทั้งเมือง ถวาย

ทานแต่พระสงฆ์มีพระพุทธองค์เป็นประมุข ก็ในครั้งนั้น มีภัตร
ที่ชื่อว่า วิถีภัตร (คือการถวายภัตตาหารของผู้ที่อยู่ร่วมถนนกัน)
ได้มีขึ้น. ครั้งนั้นพวกมนุษย์ กล่าวเชิญชวนกันว่า เชิญท่าน
ทั้งหลายถวายข้าวยาคู นำของขบเคี้ยวมาถวายแด่ภิกษุสงฆ์
มีพระพุทธองค์เป็นประมุขกันเถิด. ในกาลนั้น ยังมีลูกจ้างของ

คนเหล่าอื่นผู้หนึ่ง เป็นคนยากจนอยู่ในถนนนั้น คิดว่า เราไม่อาจ
ถวายข้าวยาคูได้ ของขบเคี้ยวพอจัดถวายได้ แล้วนวดรำชนิด
ละเอียด ให้ชุ่มด้วยน้ำ ห่อด้วยใบรัก เผาในกองเถ้า คิดว่า เราจัก
ถวายขนมนี้แด่พระพุทธเจ้า ถือขนมนั้นไปยืนอยู่ในสำนักพระ-
ศาสดา พอพระศาสดาตรัสครั้งเดียวว่า พวกท่านจงนำของขบเคี้ยว

มาเถิด ก็ไปก่อนคนทั้งปวง ใส่ขนมนั้นในบาตรของพระศาสดา
แล้วยืนอยู่ พระศาสดาไม่ทรงรับของขบเคี้ยวที่คนอื่น ๆ ถวาย
ทรงเสวยของขบเคี้ยว คือขนมนั้นเท่านั้น.

ในขณะนั้นเองทั่วทั้งพระนคร ก็ได้มีเสียงลือตลอดไปว่า
ได้ยินว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ไม่ทรงรังเกียจของขบเคี้ยว
ทำด้วยรำ ของมหาทุคคตบุรุษ ทรงเสวยเหมือนเสวยอมฤต ฉะนั้น
อิสสรชนมีพระราชา และมหาอำมาตย์แห่งพระราชาเป็นต้น
โดยที่สุดตลอดถึงคนเฝ้าประตู ประชุมกันทั้งหมดทีเดียว ถวาย

บังคมพระศาสดาแล้ว เข้าไปหามหาทุคคตบุรุษ พากันกล่าวว่า
พ่อมหาจำเริญ เชิญพ่อรับเอาทรัพย์ร้อยหนึ่ง สองร้อย ห้าร้อย
แล้วให้ส่วนบุญแก่พวกเราเถิด. เขาตอบว่า ต้องกราบทูลสอบถาม
แล้วถึงจะรู้ แล้วไปสู่สำนักของพระศาสดา กราบทูลเนื้อความ
นั้น พระศาสดาตรัสว่า ท่านจงรับทรัพย์แล้วให้ส่วนบุญ แก่

สรรพสัตว์เถิด เขาเริ่มรับทรัพย์ พวกมนุษย์พากันให้ด้วยการ
ประมูล เป็นทวีคูณ จตุรคูณ และอัฏฐคูณเป็นต้น ได้ให้ทรัพย์
กันถึงเก้าโกฏิ. พระศาสดาทรงกระทำอนุโมทนาแล้วเสด็จไป
วิหาร เมื่อพวกภิกษุแสดงวัตตปฏิบัติถวายแล้ว ประทานพระ-

• ความรู้จะมีมาก หากมิมากไปด้วยความตระหนี่
• แบ่งปันความรู้ด้วยความเมตตา ย่อมนำพาความเจริญสุขมาให้
• ความรู้มีเพื่อแบ่งปัน ก็เราต่างก็เพื่อนร่วมเกิด แก่ เจ็บ ตายเช่นกันนี่
• ความสุขเกิดจากความสามัคคี เมื่อมีดีไม่แบ่งปันแล้วจะเกิดหรือความสามัคคีนั้น?
• อ่านแล้วอ่านอีก หากยังไม่เข้าใจ
• ชีวิตยังเหลือน้อยเต็มที ถามตัวเองว่ามีความดีมากแค่ไหนแล้ว
• โลกก้าวไกลยิ่ง ยิ่งทำใจให้ตกต่ำ (ทำแต่อกุศล)
• เพิ่มความอบอุ่นอีกนิด ด้วยจิตเมตตาต่อคนรอบข้าง
• ความตระหนี่ทำให้ห่างไกล ยังใจให้เกิดอกุศล

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2018, 12:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
สุคโตวาท เสด็จเข้าพระคันธกุฏี เวลาเย็นวันนั้น พระราชา
รับสั่งให้มหาทุคคตบุรุษเข้าเฝ้า ทรงบูชาด้วยตำแหน่งเศรษฐี.
ี พวกภิกษุตั้งเรื่องสนทนากันในโรงธรรมว่า ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย
พระศาสดามิได้ทรงรังเกียจขนมรำ ที่มหาทุคคตบุรุษถวายเลย
ทรงเสวยเหมือนอมฤต ฝ่ายมหาทุคคตบุรุษเล่า ได้ทั้งทรัพย์
จำนวนมาก ได้ทั้งตำแหน่งเศรษฐี ถึงสมบัติอันยิ่งใหญ่แล้ว.

พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้พวกเธอ
สนทนากันด้วยเรื่องอะไร ? เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลให้ทรง
ทราบแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น
ที่เราไม่รังเกียจ บริโภคขนมรำของเขา ถึงครั้งที่เป็นรุกขเทวดา
ในกาลก่อน ก็เคยบริโภคเหมือนกัน แม้ในครั้งนั้นเล่า เขาก็อาศัย
เราได้ตำแหน่งเศรษฐีเหมือนกัน แล้วทรงนำเอาเรื่องในอดีต
มาสาธก ดังต่อไปนี้ :-

ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
พระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นเทวดา สถิต
ณ ต้นละหุ่งต้นหนึ่ง ครั้งนั้น พวกมนุษย์ในหมู่บ้านนั้น พากัน
ยึดเอารุกขเทวดาเป็นมงคล เมื่อถึงงานมหรสพคราวหนึ่ง พวก
มนุษย์ต่างพากันกระทำพลีกรรมแก่รุกขเทวดาของตน ๆ ครั้งนั้น

มีทุคคตมนุษย์ผู้หนึ่ง เห็นคนเหล่านั้น พากันปรนนิบัติรุกขเทวดา
ก็ปฏิบัติต้นละหุ่งต้นหนึ่ง ผู้คนทั้งหลายพากันถือเอาดอกไม้
ของหอม เครื่องลูบไล้และของขบเคี้ยวของบริโภคเป็นต้น
นานัปการไป เพื่อเทวดาทั้งหลายของตน ฝ่ายเขามีแต่ขนมรำ

ก็ถือไปพร้อมกระบวยใส่น้ำ หยุดยืนไม่ไกลต้นละหุ่ง คิดว่า
ธรรมดาย่อมเสวยแต่ของขบเคี้ยวอันเป็นทิพย์ เทวดาคงจักไม่เสวย
ขนมรำนี้ของเรา เราจะยอมให้ขนมเสียหายไปด้วยเหตุนี้ทำไม
เรานั่นแหละจักกินขนมนั้นเสียเอง แล้วก็หวลกลับไปจากที่นั้น.
พระโพธิสัตว์ สถิตเหนือค่าคบกล่าวว่า บุรุษผู้เจริญ หากท่าน

เป็นใหญ่เป็นโต ก็ต้องให้ของขบเคี้ยวที่อร่อยแก่เรา แต่ท่าน
เป็นทุคคตะ เราไม่กินขนมของท่านแล้ว จักกินขนมอื่นได้อย่างไร
อย่าให้ส่วนของเราต้องเสียหายไปเลย แล้วกล่าวคาถานี้ ความว่า :-

• ความรู้จะมีมาก หากมิมากไปด้วยความตระหนี่
• แบ่งปันความรู้ด้วยความเมตตา ย่อมนำพาความเจริญสุขมาให้
• ความรู้มีเพื่อแบ่งปัน ก็เราต่างก็เพื่อนร่วมเกิด แก่ เจ็บ ตายเช่นกันนี่
• ความสุขเกิดจากความสามัคคี เมื่อมีดีไม่แบ่งปันแล้วจะเกิดหรือความสามัคคีนั้น?
• อ่านแล้วอ่านอีก หากยังไม่เข้าใจ
• ชีวิตยังเหลือน้อยเต็มที ถามตัวเองว่ามีความดีมากแค่ไหนแล้ว
• โลกก้าวไกลยิ่ง ยิ่งทำใจให้ตกต่ำ (ทำแต่อกุศล)
• เพิ่มความอบอุ่นอีกนิด ด้วยจิตเมตตาต่อคนรอบข้าง
• ความตระหนี่ทำให้ห่างไกล ยังใจให้เกิดอกุศล

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2018, 12:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
"บุรุษกินอย่างไร คนของบุรุษก็กิน
อย่างนั้น ท่านจงเอาขนมรำนั้นมา อย่าให้ส่วน
ของเราเสียไปเลย" ดังนี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยถนฺโน ความว่า คนบริโภค
อย่างใด.

บทว่า ตถนฺนา ความว่า แม้เทวดาของคนผู้นั้นก็บริโภค
อย่างนั้นเหมือนกัน.
บทว่า อาหเรตํ กุณฺฑปูวํ ความว่า ท่านจงนำเอาขนมที่
ทำด้วยรำนั้นมาเถิด อย่าทำลายส่วนได้ของเราเสียเลย.

เขาหันกลับมามองพระโพธิสัตว์แล้วกระทำพลีกรรม พระ-
โพธิสัตว์ ก็บริโภคโอชา จากขนมนั้น แล้วกล่าวว่า ดูก่อนบุรุษ
ท่านปฏิบัติเราเพื่อต้องการอะไร ? เขากล่าวว่า ข้าแต่ท่านผู้
เป็นใหญ่ ข้าพเจ้าเป็นคนเข็ญใจ มาปรนนิบัติ ก็ด้วยหมายใจว่า
จะอาศัยท่าน แล้วพ้นจากความเป็นทุคคตะ. พระโพธิสัตว์กล่าวว่า

ดูก่อนบุรุษผู้เจริญ ท่านอย่าคิดเสียใจไปเลย ท่านทำการบูชา
เราผู้มีกตัญญูกตเวที รอบต้นละหุ่งนี้ มีหม้อใส่ขุมทรัพย์ตั้งไว้
เรียงราย จวบจนจรดถึงคอ ท่านจงกราบทูลพระราชา เอาเกวียน
มาขนทรัพย์ กองไว้ ณ ท้องพระลานหลวง พระราชาก็จัก
โปรดปรานประทานตำแหน่งเศรษฐีแก่ท่าน. ครั้นบอกแล้ว

พระโพธิสัตว์ก็อันตรธานไป เขาได้กระทำตามนั้น แม้พระราชา
ก็โปรดปรานประทานตำแหน่งเศรษฐีแก่เขา. เขาอาศัยพระโพธิสัตว์
ถึงสมบัติอันใหญ่หลวง แล้วไปตามยถากรรมด้วยประการฉะนี้.

พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุม
ชาดกว่า ทุคคตบุรุษในครั้งนั้น มาเป็นทุคคตบุรุษในครั้งนี้
ส่วนเทวดาผู้สิงอยู่ ณ ต้นละหุ่ง ได้มาเป็นเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถากุณฑกปูวชาดกที่ ๙

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2018, 12:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
ปัญหาในเรื่องเครื่องประดับ อบด้วยกลิ่นหอมทุกอย่าง
มีคำเริ่มต้นว่า สพฺพสํหารโก นตฺถิ ดังนี้จักแจ่มแจ้งโดยอาการ
ทั้งปวง ในอุมมัคคชาดก.
จบ อรรถกถาสัพพสังหารกปัญหาที่ ๑๐
อรรถกถาคัทรภปัญหาที่ ๑
คัทรภปัญหาแม้นี้ มีคำเริ่มต้นว่า หํสิ ตุวํ เอวํ มญฺญสิ
ดังนี้ ก็จักแจ่มแจ้งในอุมมัคคชาดก(๑) เหมือนกัน.
จบ อรรถกถาคัทรภปัญหาที่ ๑
๑. ในมหานิบาต
อมราเทวีปัญหาแม้นี้ มีคำเริ่มต้นว่า เยน สตฺตุวิลงฺคา จ
ดังนี้ ก็จักแจ่มแจ้งในอุมมัคคชาดกนั้นแล.
จบ อรรถกถาอมราเทวีปัญหาที่ ๒

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2018, 12:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเวฬุวันมหาวิหาร
ทรงปรารภพระเทวทัต ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า
สทฺทหาสิ สิคาลสฺส ดังนี้ :-

ในสมัยนั้น ภิกษุทั้งหลายประชุมกันในโรงธรรม นั่ง
สนทนากันถึงโทษของพระเทวทัตว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย พระเทวทัต
ชักชวนภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูป ไปสู่คยาสีสประเทศ ให้ภิกษุ
เหล่านั้น ยึดถือลัทธิของตนว่า พระสมณโคดมตรัสข้อใด ข้อนั้น
มิใช่ธรรม เรากล่าวข้อใด ข้อนี้เท่านั้นเป็นธรรม ดังนี้แล้ว

กระทำมุสาวาท อันถึงฐานะวิบัติ ทำลายสงฆ์ ทำอุโบสถสองครั้ง
ในสีมาเดียวกัน. พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย บัดนี้พวกเธอนั่งประชุมสนทนากันด้วยเรื่องอะไร ?
เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว ตรัสว่า ดูก่อน

ภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้นที่เทวทัตมักกล่าวมุสาวาท
แม้ในกาลก่อนก็เป็นผู้มีปกติกล่าวมุสาเหมือนกัน ทรงนำเอาเรื่อง
ในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-

ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
พระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นรุกขเทวดา
อยู่ข้างป่าช้า ในครั้งนั้น ในพระนครพาราณสี มีงานนักขัตฤกษ์
ครึกครื้น พวกมนุษย์คิดกันว่า พวกเราจะกระทำพลีกรรม
แก่ยักษ์ แล้วจัดปลาและเนื้อเป็นต้นเรียงราย รินสุราเป็นอันมาก

ใส่กระบาล(๑)ทั้งหลายวางไว้ในที่นั้น ๆ มีตรอกและทางแพร่งเป็นต้น
ครั้งนั้น หมาจิ้งจอกตัวหนึ่ง เข้าไปสู่พระนครทางท่อระบายน้ำ
ในเวลาเที่ยงคืน เคี้ยวกินปลาและเนื้อเป็นต้น ดื่มสุราแล้วเข้าไป
สู่ระหว่างกอบุนนาค นอนหลับไปจนอรุณขึ้น มันตื่นขึ้น เห็น
สว่างแล้ว คิดว่า เราไม่อาจออกไปในเวลานี้ได้ แล้วไปที่ใกล้

ทางนอนซ่อนตัวอยู่ ถึงเห็นคนอื่น ๆ ก็ไม่พูดอะไร ๆ ต่อเห็น
พราหมณ์ผู้หนึ่งกำลังเดินไปล้างหน้า ก็คิดว่า ขึ้นชื่อว่าพราหมณ์
แล้ว ย่อมเป็นผู้มีความโลภอยากได้ทรัพย์ เราต้องเอาทรัพย
์ล่อพราหมณ์นี้ ทำให้แกสะพายเราออกจากเมืองให้จงได้ มัน
กล่าวด้วยภาษามนุษย์ว่า ท่านพราหมณ์ พราหมณ์หันกลับไป

พูดว่า ใครเรียกเรา ? มันตอบว่า ฉันเองท่านพราหมณ์ พราหมณ์
ถามว่า เรียกเราทำไม ? มันตอบว่า ท่านพราหมณ์ ฉันมีทรัพย์
๑. กระบาล = กระเบื้อง, ฮินดูเรียก ปูรว่า = ถ้วยดินเผา
อยู่ ๒๐๐ กหาปณะ ถ้าท่านสามารถกระเดียดฉัน คลุมมิดชิด

ด้วยผ้าสะไบเฉียง ไม่ให้ใคร ๆ เห็น พาฉันออกจากเมืองได้
ฉันจักให้เหรียญกษาปณ์เหล่านั้นแก่ท่าน ด้วยความโลภอยากได้
ทรัพย์ พราหมณ์จึงรับคำ กระทำตามคำของมัน พาออกจาก
เมืองไปได้หน่อยหนึ่ง ลำดับนั้น หมาจิ้งจอกถามพราหมณ์ว่า
ท่านพราหมณ์ ถึงไหนแล้ว ? พราหมณ์ตอบว่า ถึงที่โน้นแล้ว

• ความรู้จะมีมาก หากมิมากไปด้วยความตระหนี่
• แบ่งปันความรู้ด้วยความเมตตา ย่อมนำพาความเจริญสุขมาให้
• ความรู้มีเพื่อแบ่งปัน ก็เราต่างก็เพื่อนร่วมเกิด แก่ เจ็บ ตายเช่นกันนี่
• ความสุขเกิดจากความสามัคคี เมื่อมีดีไม่แบ่งปันแล้วจะเกิดหรือความสามัคคีนั้น?
• อ่านแล้วอ่านอีก หากยังไม่เข้าใจ
• ชีวิตยังเหลือน้อยเต็มที ถามตัวเองว่ามีความดีมากแค่ไหนแล้ว
• โลกก้าวไกลยิ่ง ยิ่งทำใจให้ตกต่ำ (ทำแต่อกุศล)
• เพิ่มความอบอุ่นอีกนิด ด้วยจิตเมตตาต่อคนรอบข้าง
• ความตระหนี่ทำให้ห่างไกล ยังใจให้เกิดอกุศล

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2018, 12:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
มันบอกว่า ไปต่อไปอีกหน่อยเถิด สุนัขจิ้งจอกพูดไปเรื่อย ๆ
อย่างนั้น จนลุถึงป่าช้าใหญ่ จึงบอกว่า วางเราลงที่นี่เถิด ครั้น
พราหมณ์ ปล่อยมันลงแล้ว หมาจิ้งจอกบอกต่อไปว่า ท่านพราหมณ์
ถ้ากระนั้น ท่านจงปูผ้าสะไบเฉียงลงเถิด พราหมณ์ก็ปูผ้าสะไบ-
เฉียงของตนลงด้วยความละโมภในทรัพย์ ครั้งนั้นมันก็บอกแกว่า

จงขุดโคนต้นไม้นี้เถิด ให้พราหมณ์ขุดดินลงไป พลางก็ขึ้นไปสู่
ผ้าสะไบเฉียงของพราหมณ์ ถ่ายมูตร คูถลงไว้๕ แห่ง คือที่มุม
ทั้ง ๔ และตรงกลาง เช็ดเสียด้วย ทำให้เปียกด้วย แล้วโดด
เข้าป่าช้าไป พระโพธิสัตว์สถิตเหนือค่าคบไม้ กล่าวคาถานี้
ความว่า :-

ดูก่อนพราหมณ์ ท่านเชื่อสุนัขผู้ดื่มสุรา
หรือ เพียงร้อยเบี้ยก็ไม่มี อย่าว่าถึง ๒๐๐ กหาปณะ
เลย ดังนี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สทฺทหาสิ แปลว่า หลงเชื่อ.
อีกอย่างหนึ่ง ปาฐะอย่างนี้แหละ แต่มีความว่า เชื่อถือ.

บทว่า สิปฺปิกานํ สตํ นตฺถิ ความว่า เพราะว่า เงินร้อยเบี้ย
ของมันก็ยังไม่มี.
บทว่า กุโต กํสสตา ทุเว ความว่า แล้วมันจะมีเงินสองร้อย
กษาปณ์มาแต่ไหนเล่า ?

พระโพธิสัตว์กล่าวคาถานี้แล้วบอกว่า ไปเถิดพราหมณ์
จงไปซักผ้าของท่านเสีย อาบน้ำทำกิจของตนไปเถิด ดังนี้ แล้วก็
อันตรธานไป พราหมณ์ทำตามอย่างนั้น ถึงความโทมนัสว่า โธ่เอ๋ย
เราถูกหมาจิ้งจอกตัวนี้ลวงเสียแล้วเดินหลีกไป.
พระศาสดา ครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรง
ประชุมชาดกว่า หมาจิ้งจอกในครั้งนั้นได้มาเป็นพระเทวทัต
ส่วนรุกขเทวดาได้มาเป็นตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาสิคาลชาดกที่ ๓

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2018, 12:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร
ทรงปรารภพระเถระผู้เฒ่า ๒ องค์ ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำ
เริ่มต้นว่า พหุจินฺตี อปฺปจินฺตี จ ดังนี้:-

ได้ยินว่า พระเถระผู้เฒ่า ๒ องค์นั้น อยู่จำพรรษาใน
อรัญญาวาสแห่งหนึ่งในชนบท คิดกันว่าเราทั้งสองจักไปเฝ้า
พระศาสดา แล้วเตรียมเสบียงไว้ มัวผลัดอยู่ว่า ไปวันนี้เถิด
ไปพรุ่งนี้เถิด จนล่วงไปเดือนหนึ่ง แล้วก็อีกเดือนหนึ่ง ทั้งนี้

เพราะตนเป็นคนเกียจคร้าน และเพราะความเป็นห่วงที่อยู่
ต่อ ๓ เดือนล่วงไปแล้ว จึงได้ออกจากที่นั้นไปสู่พระเชตวัน
เก็บบาตรจีวรไว้ในที่อยู่ของภิกษุผู้ชอบพอกัน แล้วพากันไปเฝ้า
พระศาสดา. ครั้งนั้นพวกภิกษุพากันถามพระเถระผู้เฒ่าทั้งสองว่า
ดูก่อนท่านผู้มีอายุ นานจริงหนอที่ท่านทั้งสองมิได้เฝ้าพระพุทธเจ้า

เหตุไรท่านทั้งสองจึงได้ชักช้าอย่างนี้ ? พระเถระผู้เฒ่าทั้งสอง
ก็พากันเล่าเรื่องนั้น ครั้งนั้นความเกียจคร้าน โอ้เอ้ ของท่านทั้งสอง
ก็ระบือไปในหมู่สงฆ์ แม้ในธรรมสภา พวกภิกษุก็อาศัยความ
เป็นผู้เกียจคร้านของท่านทั้งสองนั้นแหละ ตั้งเป็นเรื่องขึ้น. พระ-
ศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้พวกเธอ

นั่งประชุมสนทนากันด้วยเรื่องอะไร ? เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูล
ให้ทรงทราบแล้ว มีรับสั่งให้เรียกท่านทั้งสองมาเฝ้า ตรัสถามว่า
ได้ยินว่าพวกเธอเกียจคร้าน โอ้เอ้ จริงหรือ ? ครั้นท่านทั้งสอง
ทูลรับว่า จริงพระเจ้าข้า จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่
แต่ในบัดนี้เท่านั้น ที่เธอทั้งสองเป็นผู้เกียจคร้าน แม้ในกาลก่อน

ก็เป็นผู้เกียจคร้านและยังเป็นผู้มีความอาลัย ห่วงใยในที่อยู่
ดังนี้แล้ว ทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-

• ความรู้จะมีมาก หากมิมากไปด้วยความตระหนี่
• แบ่งปันความรู้ด้วยความเมตตา ย่อมนำพาความเจริญสุขมาให้
• ความรู้มีเพื่อแบ่งปัน ก็เราต่างก็เพื่อนร่วมเกิด แก่ เจ็บ ตายเช่นกันนี่
• ความสุขเกิดจากความสามัคคี เมื่อมีดีไม่แบ่งปันแล้วจะเกิดหรือความสามัคคีนั้น?
• อ่านแล้วอ่านอีก หากยังไม่เข้าใจ
• ชีวิตยังเหลือน้อยเต็มที ถามตัวเองว่ามีความดีมากแค่ไหนแล้ว
• โลกก้าวไกลยิ่ง ยิ่งทำใจให้ตกต่ำ (ทำแต่อกุศล)
• เพิ่มความอบอุ่นอีกนิด ด้วยจิตเมตตาต่อคนรอบข้าง
• ความตระหนี่ทำให้ห่างไกล ยังใจให้เกิดอกุศล

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2018, 12:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
พระนครพาราณสี มีปลา ๓ ตัวอยู่ในพระนครพาราณสี ปลา
ทั้ง ๓ นั้น มีชื่อดังนี้ คือ พหุจินตี อัปปจินตี และมิตจินตี. ปลา
ทั้ง ๓ พากันออกจากป่ามาสู่ถิ่นมนุษย์ ในปลาทั้ง ๓ นั้น มิตจินตี
บอกกับปลาทั้งสองอย่างนี้ว่า ขึ้นชื่อว่าถิ่นมนุษย์นี้ เต็มไปด้วย
ความรังเกียจ มีภัยตั้งอยู่เฉพาะหน้า พวกชาวประมงพากันวางข่าย

และไซเป็นต้น มีประการต่าง ๆ แล้วจับเอาปลา พวกเราพากัน
เข้าป่าตามเดิมเถอะ ปลาทั้งสองนอกนี้ ต่างพูดผลัดว่า พวกเรา
จะไปกันวันนี้ หรือพรุ่งนี้ค่อยไปเถิด เพราะความเป็นผู้เกียจคร้าน
และเพราะความติดใจในเหยื่อ จนเวลาล่วงไปถึง ๓ เดือน
ครั้งนั้น พวกชาวประมงพากันวางข่ายในแม่น้ำ ปลาพหุจินตี และ

ปลาอัปปจินตี เมื่อออกหาอาหาร พากันว่ายไปข้างหน้า ไม่
กำหนดกลิ่นข่าย เพราะความเป็นสัตว์โง่ ตกเข้าไปในท้องข่าย
ทันที ปลามิตจินตีตามมาข้างหลัง กำหนดกลิ่นข่ายได้ และรู้ว่า
ปลาทั้งคู่นั้นเข้าไปในท้องข่ายเสียแล้ว คิดว่า เราจักให้ทานชีวิต
แก่ปลาอันธพาล ผู้เกียจคร้านคู่นี้ไว้ แล้วก็ว่ายไปสู่ที่ท้องข่าย

ข้างนอก ทำให้น้ำป่วนปั่น ทำเป็นทีว่าท้องข่ายขาดแล้วโดด
ออกไปได้ แล้วก็โดดไปข้างหน้าข่าย ว่ายเข้าไปสู่ท้องข่ายอีก
ทำให้น้ำป่วนปั่นเป็นทีว่าทำให้ข่ายส่วนหลังขาด โดดออกไปได้
แล้วก็โดดออกไปทางเบื้องหลังข่าย พวกประมงสำคัญว่า ปลา
พากันชำแรกข่ายไปได้ ก็ช่วยกันจับปลายข่ายยกขึ้น ปลาทั้งสอง

นั้นก็รอดจากข่ายตกลงไปในน้ำ เป็นอันว่าปลาทั้งสองนั้น อาศัย
ปลามิตจินตี จึงได้มีชีวิต พระศาสดาครั้นทรงนำเอาเรื่องในอดีต
นี้มาสาธกแล้ว ได้ตรัสรู้ยิ่งแล้ว จึงได้ตรัสพระคาถานี้ ความว่า :-
"ปลาสองตัว คือปลาพหุจินตี และปลา-
อัปปจินตี ติดอยู่ในข่าย ปลาชื่อมิตจินตีได้ช่วย

ให้พ้นจากข่าย ปลาทั้งสองตัวจึงได้มาพร้อมกัน
กับปลามิตจินตี ในแม่น้ำนั้น" ดังนี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า พหุจินฺตี ความว่า ปลาที่ได้
นามอย่างนี้ว่า พหุจินตี เพราะมีความคิดมาก มีความตรึกตรอง
มาก แม้ในชื่อทั้งสองนอกนี้ ก็มีนัยนี้แหละ.

บทว่า อุโภ ตตฺถ สมาคตา ความว่า ปลาทั้งคู่เข้าไป
ติดข่าย อาศัยปลามิตจินตี จึงรอดชีวิตกลับมา ร่วมกับปลา-
มิตจินตี ในน่านน้ำนั้นอีก.

พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาด้วยประการฉะนี้
แล้วทรงประกาศสัจจะแล้วทรงประชุมชาดก ในเวลาจบสัจจะ
ภิกษุผู้เฒ่า (ทั้งสององค์) ดำรงอยู่ในโสดาปัตติผลแล้ว ปลาพหุจินตี
และปลาอัปปจินตี ในครั้งนั้น ได้มาเป็นภิกษุคู่นี้ ส่วนปลา-
มิตจินตี ได้มาเป็นเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถามิตจินติชาดกที่ ๔

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2018, 12:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร
ทรงปรารภภิกษุณีผู้ชอบพร่ำสอนรูปหนึ่งตรัสพระธรรมเทศนา
นี้ มีคำเริ่มต้นว่า ยายญฺญมนุสาสติ ดังนี้.

ได้ยินว่า ภิกษุณีนั้นเป็นกุลธิดานางหนึ่ง ชาวพระนคร-
สาวัตถีบวชแล้ว ตั้งแต่กาลที่ตนบวชแล้วก็มิได้ใส่ใจในสมณธรรม
ติดใจในอามิส เที่ยวไปบิณฑบาตในเอกเทศแห่งพระนคร ที่
ภิกษุณีอื่น ๆ ไม่พากันไป ครั้งนั้น พวกมนุษย์พากันถวาย
บิณฑบาตอันประณีตแก่เธอ เธอถูกความอยากในรสผูกพันไว้

คิดว่า ถ้าภิกษุณีอื่น ๆ จักเที่ยวบิณฑบาตในประเทศนี้ ลาภ
ของเราจักเสื่อมถอย เราควรกระทำให้ภิกษุณีอื่น ๆ ไม่มาถึง
ประเทศนี้ ดังนี้แล้ว ไปสู่สำนักของนางภิกษุณีทั้งหลาย พร่ำ
สั่งสอนนางภิกษุณีทั้งหลายว่า ดูก่อนแม่เจ้าทั้งหลาย ในที่ตรงโน้น
มีช้างดุ มีม้าดุ มีสุนัขดุ ท่องเที่ยวอยู่ เป็นสถานที่มีอันตราย

รอบด้าน แม่คุณทั้งหลายอย่าไปเที่ยวบิณฑบาตในที่นั้นเลย
ฟังคำของเธอแล้ว แม้ภิกษุณีสักรูปหนึ่ง ก็ไม่เหลียวคอมองด
ูประเทศนั้น. ครั้นวันหนึ่ง ขณะที่เธอกำลังเที่ยวบิณฑบาต เข้าไป
สู่เรือนหลังหนึ่งโดยเร็วแพะดุชนเอากระดูกขาหัก พวกมนุษย์
รีบเข้าไปตรวจดู ประสานกระดูกขาที่หักสองท่อนให้ติดกัน

แล้วหามเธอด้วยเตียง นำไปสู่สำนักภิกษุณี พวกภิกษุณีพากัน
หัวเราะเยาะว่า ภิกษุณีรูปนี้ชอบพร่ำสอนภิกษุณีรูปอื่น ๆ
ตนเองกลับเที่ยวไปในประเทศนั้น จนขาหักกลับมา ด้วยเหตุ
ที่เธอกระทำแม้นั้นก็ปรากฏในหมู่ภิกษุไม่ช้านัก ครั้นวันหนึ่ง
พวกภิกษุพากันกล่าวโทษของเธอในธรรมสภาว่า ท่านผู้มีอายุ

ทั้งหลาย ภิกษุณีผู้ชอบสอน พร่ำสอนภิกษุณีอื่น ๆ ตนเองเที่ยว
ไปในประเทศนั้น ถูกแพะดุชนเอากระดูกหัก พระศาสดาเสด็จมา
ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้พวกเธอนั่งประชุมสนทนา
กันด้วยเรื่องอะไร ? เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลให้ทรงทราบ

• ความรู้จะมีมาก หากมิมากไปด้วยความตระหนี่
• แบ่งปันความรู้ด้วยความเมตตา ย่อมนำพาความเจริญสุขมาให้
• ความรู้มีเพื่อแบ่งปัน ก็เราต่างก็เพื่อนร่วมเกิด แก่ เจ็บ ตายเช่นกันนี่
• ความสุขเกิดจากความสามัคคี เมื่อมีดีไม่แบ่งปันแล้วจะเกิดหรือความสามัคคีนั้น?
• อ่านแล้วอ่านอีก หากยังไม่เข้าใจ
• ชีวิตยังเหลือน้อยเต็มที ถามตัวเองว่ามีความดีมากแค่ไหนแล้ว
• โลกก้าวไกลยิ่ง ยิ่งทำใจให้ตกต่ำ (ทำแต่อกุศล)
• เพิ่มความอบอุ่นอีกนิด ด้วยจิตเมตตาต่อคนรอบข้าง
• ความตระหนี่ทำให้ห่างไกล ยังใจให้เกิดอกุศล

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2018, 12:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
แล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น แม้ใน
กาลก่อน ภิกษุณีนั้น ก็เอาแต่สั่งสอนคนอื่น ๆ แต่ตนเองไม่
ประพฤติ ต้องเสวยทุกข์ตลอดกาลเป็นนิตย์ทีเดียว แล้วทรงนำ
เอาเรื่องในอดีตมาสาธกดังนี้ :-

ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
พระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิด ในกำเนิดนกป่า เจริญวัย
แล้ว ได้เป็นจ่าฝูงนก มีนกหลายร้อยเป็นบริวาร เข้าไปสู่ป่า-
หิมพานต์ ในกาลที่พระโพธิสัตว์อยู่ในป่าหิมพานต์นั้น นางนก
จัณฑาลตัวหนึ่งไปสู่หนทางในดงดึก(๑) หาอาหารกิน นางได้เมล็ด-

ข้าวเปลือกและถั่วเป็นต้น ที่หล่นตกจากเกวียนในที่นั้นแล้ว
คิดว่า บัดนี้เราต้องหาวิธีทำให้พวกนกเหล่าอื่นไม่ไปสู่ประเทศนี้
ดังนี้แล้ว ให้โอวาทแก่ฝูงนกว่า ขึ้นชื่อว่าทางใหญ่ในดงดึก เป็น
ทางมีภัยเฉพาะหน้า ฝูงสัตว์เป็นต้นว่า ช้าง ม้า และยวดยาน
ที่เทียมด้วยโคดุ ๆ ย่อมผ่านไปมา ถ้าไม่สามารถจะโผบินขึ้น

ได้รวดเร็ว ก็ไม่ควรไปในที่นั้น ฝูงนกตั้งชื่อให้นางว่า "แม่อนุ-
สาสิกา" วันหนึ่งนางกำลังเที่ยวไปในทางใหญ่ในดงดึก ได้ยิน
เสียงยานแล่นมาด้วยความเร็วอย่างยิ่ง ก็เหลียวมองดู โดยคิดว่า
ยังอยู่ไกล คงเที่ยวเรื่อยไป ครั้งนั้นยานก็พลันถึงตัวนาง ด้วย

ความเร็วปานลมพัด นางไม่อาจโผบินขึ้นได้ทัน ล้อทับร่าง
ผ่านไป นกผู้เป็นจ่าฝูง เรียกประชุมฝูงนก ไม่เห็นนางก็กล่าวว่า
นางอนุสาสิกาไม่ปรากฏ พวกเจ้าจงค้นหานาง ฝูงนกพากันค้นหา
เห็นนางแยกออกเป็นสองเสี่ยงที่ทางใหญ่ ก็พากันแจ้งแก่จ่าฝูง จ่าฝูง

กล่าวว่า นางห้ามนกอื่น ๆ แต่ตนเองเที่ยวไปในที่นั้น จึง
แยกออกเป็นสองเสี่ยง แล้วกล่าวคาถานี้ความว่า :-
"นางนกสาลิกาตัวใด สั่งสอนนกตัวอื่น
๑. ดงดึก = ป่าลึกเข้าไปไกล.

อยู่เนือง ๆ ตัวเองมีปกติเที่ยวไปด้วยความ
ละโมภ นางนกสาลิกาตัวนั้นถูกล้อบดแล้ว มี
ปีกหักนอนอยู่" ดังนี้.

• ความรู้จะมีมาก หากมิมากไปด้วยความตระหนี่
• แบ่งปันความรู้ด้วยความเมตตา ย่อมนำพาความเจริญสุขมาให้
• ความรู้มีเพื่อแบ่งปัน ก็เราต่างก็เพื่อนร่วมเกิด แก่ เจ็บ ตายเช่นกันนี่
• ความสุขเกิดจากความสามัคคี เมื่อมีดีไม่แบ่งปันแล้วจะเกิดหรือความสามัคคีนั้น?
• อ่านแล้วอ่านอีก หากยังไม่เข้าใจ
• ชีวิตยังเหลือน้อยเต็มที ถามตัวเองว่ามีความดีมากแค่ไหนแล้ว
• โลกก้าวไกลยิ่ง ยิ่งทำใจให้ตกต่ำ (ทำแต่อกุศล)
• เพิ่มความอบอุ่นอีกนิด ด้วยจิตเมตตาต่อคนรอบข้าง
• ความตระหนี่ทำให้ห่างไกล ยังใจให้เกิดอกุศล

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2018, 12:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
บรรดาบทเหล่านั้น ย อักษรในบทว่า ยายญฺญมนุสาสติ
ทำการเชื่อมบท ความก็ว่า นางนกสาลิกาใดเล่า สั่งสอนผู้อื่น.
บทว่า สยํ โลลุปฺปจารินี ความว่า เป็นผู้มีปกติเที่ยว
คนองไปด้วยตน.

บทว่า สายํ วิปกฺขิกา เสติ ความว่า นกตัวนั้น คือ นาง-
สาลิกาตัวนี้ มีขนปีกกระจัดกระจาย นอนอยู่ที่ทางใหญ่.
บทว่า หตา จกฺเกน สาลิกา ความว่า นางนกสาลิกา
ถูกล้อยานทับตาย.

พระศาสดาครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรง
ประชุมชาดกว่า นางนกสาลิกาในครั้งนั้น ได้มาเป็นภิกษุณี
อนุสาสิกาในครั้งนี้ ส่วนนกจ่าฝูง ได้มาเป็นเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาอนุสาสิกชาดกที่ ๕


:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2018, 12:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร
ทรงปรารภภิกษุผู้ว่ายากรูปหนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มี
คำเริ่มต้นว่า อติกรมกราจริย ดังนี้.

เรื่องของภิกษุนั้น จักแจ่มแจ้งในคิชฌชาดก นวกนิบาต.
(แต่ในชาดกนี้) พระศาสดาตรัสเรียกภิกษุนั้นมาตรัสว่า ดูก่อน
ภิกษุ มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น ที่เธอเป็นผู้ว่ายาก แม้ในกาลก่อน
ก็เป็นผู้ว่ายาก เพราะความที่เป็นผู้ว่ายาก ไม่กระทำตามโอวาท
แห่งบัณฑิต จึงถูกหอกแทงถึงสิ้นชีวิต ดังนี้แล้วทรงนำเอาเรื่อง
ในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-

ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
พระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์ ถือปฏิสนธิในกำเนิดนักฟ้อน
ทางกระโดด เจริญวัยแล้ว ได้เป็นผู้มีปัญญา ฉลาดในอุบาย
ท่านศึกษาศิลปะในทางกระโดดข้ามหอก ในสำนักแห่งนักโดด
ผู้หนึ่ง เที่ยวแสดงศิลปะไปกับอาจารย์ แต่อาจารย์ของท่านรู้

ศิลปะในการโดดข้ามหอก สี่เล่มเท่านั้น ไม่ได้ถึง ๕ เล่ม วันหนึ่ง
อาจารย์แสดงศิลปะในหมู่บ้านตำบลหนึ่ง เมาเหล้าแล้วพูดว่า
เราจักโดดข้ามหอก ๕ เล่ม ปักหอกเรียงรายไว้ ครั้งนั้นพระ-
โพธิสัตว์จึงกล่าวกะอาจารย์ว่า ท่านอาจารย์ครับ ท่านไม่ทราบ

ศิลปะการโดดข้ามหอก ๕ เล่ม เอาหอกออกเสียเล่มหนึ่งเถิด
ครับ ถ้าท่านขึ้นโดดจักถูกหอกเล่มที่ ๕ แทงตายแน่นอน แต่
เพราะเมาสุรา อาจารย์จึงกล่าวว่า ถึงตัวเจ้าก็หารู้ขีดความ
สามารถของเราไม่ มิได้ยึดถือถ้อยคำของพระโพธิสัตว์ โดยข้าม

ไปได้ ๔ เล่ม ถูกเล่มที่ ๕ เสียบเหมือนคนเสียบดอกมะทราง
ในไม้กลัดฉะนั้น นอนคร่ำครวญอยู่ ครั้งนั้นพระโพธิสัตว์กล่าว
กะท่านอาจารย์ว่า ท่านไม่เชื่อคำของบัณฑิต จึงถึงความฉิบหาย
นี้ ดังนี้แล้วกล่าวคาถานี้ ความว่า :-

• ความรู้จะมีมาก หากมิมากไปด้วยความตระหนี่
• แบ่งปันความรู้ด้วยความเมตตา ย่อมนำพาความเจริญสุขมาให้
• ความรู้มีเพื่อแบ่งปัน ก็เราต่างก็เพื่อนร่วมเกิด แก่ เจ็บ ตายเช่นกันนี่
• ความสุขเกิดจากความสามัคคี เมื่อมีดีไม่แบ่งปันแล้วจะเกิดหรือความสามัคคีนั้น?
• อ่านแล้วอ่านอีก หากยังไม่เข้าใจ
• ชีวิตยังเหลือน้อยเต็มที ถามตัวเองว่ามีความดีมากแค่ไหนแล้ว
• โลกก้าวไกลยิ่ง ยิ่งทำใจให้ตกต่ำ (ทำแต่อกุศล)
• เพิ่มความอบอุ่นอีกนิด ด้วยจิตเมตตาต่อคนรอบข้าง
• ความตระหนี่ทำให้ห่างไกล ยังใจให้เกิดอกุศล

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2018, 12:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
"ท่านอาจารย์ ท่านกระทำการเกินกว่า
ที่ทำได้ เรื่องนี้ไม่ถูกใจกระผมเลย ท่านโดดพ้น
หอกเล่มที่ ๔ แล้ว ถูกหอกเล่มที่ ๕ เสียบเข้า
แล้ว" ดังนี้.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อติกรมกราจริย ความว่า
ข้าแต่ท่านอาจารย์ ท่านได้กระทำการที่ล้ำหน้า อธิบายว่า
ได้กระทำการเกินกว่าที่ตนเคยกระทำได้.
ด้วยบทว่า มยฺหมฺเปตํ น รุจฺจติ นี้ พระโพธิสัตว์แสดง
ความว่า การกระทำของท่านนี้ไม่ชอบใจข้าพเจ้าผู้เป็นอันเตวาสิก
ด้วยเหตุนั้น ข้าพเจ้าจึงได้บอกท่านไว้ก่อนทีเดียว.

บทว่า จตุตฺเถ ลิงฺฆยิตฺวาน ความว่า ท่านไม่ตกลงบน
ใบหอกเล่มที่ ๔ คือถีบตนข้ามได้.
บทว่า ปญฺจมายสิ อาวุโต ความว่า ท่านไม่เชื่อถ้อยคำ
ของบัณฑิต บัดนี้จึงถูกหอกเล่มที่ ๕เสียบไว้แล้ว.

พระโพธิสัตว์ครั้นกล่าวคำนี้แล้ว ก็นำอาจารย์ออกจาก
หอก กระทำกิจที่ควรทำให้แล้ว พระศาสดาทรงนำอดีตนิทานน
ี้มาแล้ว ทรงประชุมชาดกว่า อาจารย์ในครั้งนั้นได้มาเป็นภิกษุ
ผู้ว่ายากนี้ส่วนอันเตวาสิก ได้มาเป็นเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาทุพพจชาดกที่ ๖

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2018, 13:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร
ทรงปรารภภิกษุชื่อ โกกาลิกะ ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำ
เริ่มต้นว่า อจฺจุคฺคตา อติพลตา ดังนี้ เรื่องของโกกาลิกภิกษุนั้น
จักแจ่มแจ้งในตักการิยชาดก เตรสนิบาต.

แต่ในชาดกนี้ พระศาสดาทรงรับสั่งว่า ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น ที่โกกาลิกะอาศัยวาจาของตน
ต้องพินาศ แม้ในครั้งก่อนก็เคยพินาศมาแล้วเหมือนกัน แล้วทรง
นำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-

ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติ อยู่ใน
พระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดในตระกูลอุทิจจพราหมณ์

เจริญวัยแล้ว เรียนศิลปะทุกอย่างในเมืองตักกสิลา ละกาม
ทั้งหลายเสียแล้วบวชเป็นฤๅษี ทำอภิญญา ๕ สมาบัติ ๘ ให้เกิด
แล้ว คณะฤๅษีทั้งปวงประชุมกันในหิมวันตประเทศ ตั้งให้ท่านเป็น
อาจารย์ผู้ให้โอวาท ยอมตนเป็นบริวาร ท่านได้เป็นอาจารย์ผู้ให้โอวาท

ของฤๅษี ๕๐๐ เล่นอยู่ด้วยฌานกรีฑาอยู่ในป่าหิมพานต์ ครั้งนั้น ดาบส
ผู้หนึ่ง เป็นโรคผอมเหลือง ถือพร้าไปผ่าไม้ ครั้งนั้นดาบสปากกล้า
ผู้หนึ่ง นั่งอยู่ใกล้ ๆ ดาบสผอมนั้น พูดว่า จงฟันในที่นี้ จงฟัน
ในที่นี้ ทำให้ดาบสผอมนั้นขัดเคือง เธอโกรธแล้วกล่าวว่า เดี๋ยวนี้
ท่านไม่ใช่อาจารย์ฝึกหัดศิลปะในการผ่าฟืนของเรานะ แล้ว

เงื้อพร้าอันคม ฟันทีเดียวเท่านั้น ทำให้ดาบสปากกล้าถึงสิ้น
ชีวิต พระโพธิสัตว์ให้กระทำสรีรกิจแก่เธอแล้ว ในครั้งนั้น
ที่เชิงจอมปลวกแห่งหนึ่ง ไม่ไกลอาศรมบท นกกระทาตัวหนึ่ง
อาศัยอยู่ ทุกเช้าทุกเย็นมันยืนอยู่บนยอดจอมปลวก ขันเสียง

ดังลั่น ฟังเสียงนั้นแล้ว พรานผู้หนึ่งคิดว่า น่าจะมีนกกระทา
จึงสะกดไปด้วยหมายเสียงเป็นสำคัญ ฆ่ามันแล้วถือเอาไป
พระโพธิสัตว์ไม่ได้ยินเสียงมัน ถามพวกดาบสว่า ที่ตรงโน้น
มีนกกระทาอาศัยอยู่ เพราะเหตุไรเล่าหนอ จึงไม่ได้ยินเสียงมัน ?
พวกดาบสบอกเรื่องนั้นแก่พระโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์เทียบเคียง
เหตุการณ์ทั้งสองอย่างแม้เหล่านั้นแล้ว กล่าวคาถานี้ ในท่ามกลาง
หมู่ฤๅษีความว่า :-

วาจาที่ดังเกินไป ความเป็นผู้รุนแรง
เกินไป พูดล่วงเวลา ย่อมฆ่าผู้มีปัญญาทรามเสีย
ดุจวาจาที่ฆ่านกกระทา ผู้ขันดังเกินไป ฉะนั้น
ดังนี้.

• ความรู้จะมีมาก หากมิมากไปด้วยความตระหนี่
• แบ่งปันความรู้ด้วยความเมตตา ย่อมนำพาความเจริญสุขมาให้
• ความรู้มีเพื่อแบ่งปัน ก็เราต่างก็เพื่อนร่วมเกิด แก่ เจ็บ ตายเช่นกันนี่
• ความสุขเกิดจากความสามัคคี เมื่อมีดีไม่แบ่งปันแล้วจะเกิดหรือความสามัคคีนั้น?
• อ่านแล้วอ่านอีก หากยังไม่เข้าใจ
• ชีวิตยังเหลือน้อยเต็มที ถามตัวเองว่ามีความดีมากแค่ไหนแล้ว
• โลกก้าวไกลยิ่ง ยิ่งทำใจให้ตกต่ำ (ทำแต่อกุศล)
• เพิ่มความอบอุ่นอีกนิด ด้วยจิตเมตตาต่อคนรอบข้าง
• ความตระหนี่ทำให้ห่างไกล ยังใจให้เกิดอกุศล

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ย. 2018, 17:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อจฺจุคฺคตา แปลว่า วาจาที่สูง
เกินไป.
บทว่า อติพลตา ได้แก่วาจาที่รุนแรงเกินไป
เพราะกล่าวซ้ำ ๆ ซาก ๆ.
บทว่า อติเวลํ ปภาสิตา ได้แก่ วาจาที่ล่วงเวลา คือ
คำพูดที่กล่าวเกินประมาณ.

บทว่า ติตฺติรํวาติวสฺสิตํ ความว่า เสียงขันที่ดังเกินไป
ย่อมกำจัดนกกระทาเสียฉันใด วาจาเห็นปานนี้ ย่อมกำจัดคนโง่ ๆ
คือคนพาลเสียฉันนั้น.
พระโพธิสัตว์ให้โอวาทแก่หมู่ฤๅษีด้วยประการฉะนี้ เจริญ
พรหมวิหาร ๔ ได้มีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า.

พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้
เท่านั้น ที่โกลาลิกภิกษุอาศัยคำพูดของตน ฉิบหายแล้ว แม้
ในครั้งก่อนก็เคยฉิบหายแล้วเหมือนกัน ครั้นทรงนำพระธรรม-
เทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุมชาดกว่า ดาบสว่ายากในครั้งนั้น
ได้มาเป็นโกกาลิกภิกษุ คณะฤๅษี ได้มาเป็นพุทธบริษัท ส่วน
ศาสดาแห่งคณะได้มาเป็นเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาติตติรชาดกที่ ๗


:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 14, 15, 16, 17, 18, 19, 20 ... 151  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร