วันเวลาปัจจุบัน 19 ก.ค. 2025, 15:38  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13 ... 151  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ย. 2018, 20:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
โปรดเรียกคนที่ให้ทานนั้นมา ทรงพิจารณาเถิด พระเจ้าข้า.
พระราชารับสั่งให้เรียกท้าวสักกะมา ความแปลกกันของ
คนทั้งสอง พระราชาก็ทรงทราบไม่ได้เลย พวกอำมาตย์ก็ไม่
ทราบ ท่านเศรษฐีผู้ตระหนี่กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ
พระองค์ทรงจำไม่ได้หรือ พระเจ้าข้า ข้าพระองค์เป็นเศรษฐี
คนนี้มิใช่เศรษฐี. พระราชารับสั่งว่าเราจำไม่ได้ ยังมีใคร

ที่พอจะจำท่านได้บ้างเล่า ? กราบทูลว่า ภรรยาของข้าพระองค์ซิ
พระเจ้าข้า. มีพระกระแสรับสั่งให้ภรรยาเข้าเฝ้า แล้วตรัสถาม
ว่า สามีของเธอคนไหน ? นางกราบทูลว่า คนนี้พระเจ้าข้า
แล้วได้ยืนใกล้ท้าวสักกะนั่นเอง เรียกบุตรธิดา ทาส กรรมกร
มาถาม ทุกคนพากันยืนในสำนักของท้าวสักกะทั้งนั้น. ท่านเศรษฐี

กลับคิดได้ว่า ที่ศีรษะของเรามีปุ่มอยู่ ผมปิดไว้มิดชิด มีแต่
ช่างกัลบกคนเดียวเท่านั้นที่รู้ปุ่มนั้น ต้องกราบทูลให้เรียกช่าง
กัลบกมา. คิดดังนี้แล้ว จึงกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ
ช่างกัลบกคงจำข้าพระองค์ได้ โปรดทรงพระกรุณาเรียกเขา
มาเถิด พระเจ้าข้า. ก็ในครั้งนั้น พระโพธิสัตว์ได้เป็นช่างกัลบก

ของท่านอิลลีสเศรษฐี พระราชามีพระกระแสรับสั่งให้เรียก
ท่านมาตรัสถามว่า จำอิลลีสเศรษฐีได้ไหม ? ช่างกัลบกกราบ
ทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ ข้าพระองค์ตรวจดูศีรษะ
แล้วคงจำได้พระเจ้าข้า. ตรัสว่า ถ้าเช่นนั้น ท่านจงตรวจดู
ศรีษะของคนทั้งสองเถิด. ทันใดนั้นท้าวสักกะก็บันดาลให้เกิด

ปุ่มขึ้นที่ศรีษะ. พระโพธิสัตว์ตรวจดูศีรษะแม้ของคนทั้งสอง
ก็เห็นปุ่ม (เหมือนกัน) จึงกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า ที่
ศีรษะของคนทั้งสอง ต่างมีปุ่มอยู่เหมือนกันในท่านทั้งสองนี้
ข้าพระองค์มิอาจจำได้ ถึงความเป็นตัวอิลลีสะสักคนเดียว แล้ว
กล่าวคาถานี้ ความว่า :-

• ความห่วงใยมากไป จะทำใจเราให้ขุ่นมัว
• อยู่กับความตาย แล้วจะกลัวทำไม กลัวก็ตายไม่กลัวก็ตาย
• ของดียังมีอยู่ แต่เราจะสนใจใฝ่รู้และนำมาปฏิบัติหรือไม่?
• มีศีล ๕ กันทุกคน หมดความกังวนในเรื่องของโจรผู้ร้าย
• สังคมคือคนหมู่มาก หากมากไปด้วย หิริโอตัปป และเมตตาก็อยู่กันด้วยความผาสุข
• อยู่กับสังคม มิควรจมอยู่กับความตระหนี่
• รักเพื่อน ควรแนะนำบอกสิ่งที่ดีที่สุดให้
• รักตัว ควรแล้วหรือที่เอาตัวไปเกือกกลั้วกับความเลว
• ช่วยเหลือแบ่งปัน เพื่อวันที่สดใสยิ่งขึ้น

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ย. 2018, 20:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
คนทั้งสอง เป็นคนกระจอก คนทั้งสอง
เป็นคนค่อม คนทั้งสองมีนัยน์ตาเหล่ คนทั้งสองมี
ปุ่มเกิดที่ศรีษะ ข้าพระองค์ชี้ตัวอิลลีสะไม่ได้
ดังนี้.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อุโภ ได้แก่ชนแม้ทั้งสอง.
บทว่า ขญฺชา ได้แก่ มีเท้ากุด.
บทว่า กุณี ได้แก่ มีมือหงิก.
บทว่า วิสมจกฺขุกา ได้แก่ มีดวงตาไม่เสมอกัน อธิบายว่า
มีตาเหล่.

บทว่า ปีฬกา ความว่า ที่ศรีษะแม้ของคนทั้งสองมีปุ่ม
เกิดขึ้นแล้วสองปุ่ม มีสัณฐานอย่างเดียวกัน อยู่ตำแหน่งเดียวกัน.
บทว่า นาหํ ปสฺสามิ ความว่า ช่างกัลบกทูลว่า ในท่าน
ทั้งสองนี้ ข้าพระองค์ไม่ประจักษ์ว่าคนไหนเป็นอิลลีสะ คือ
ไม่รู้ชัดความเป็นอิลลีสเศรษฐี แม้ของคน ๆ หนึ่ง

ท่านเศรษฐี ฟังคำของพระโพธิสัตว์แล้วเท่านั้น ตัวสั่น
งันงก ไม่อาจตั้งสติไว้ได้ เพราะความโลภในทรัพย์ ล้มลงตรงนั้น
เอง. ในขณะนั้น ท้าวสักกะกล่าวว่า ดูก่อนมหาราช เราไม่ใช่
อิลลีสะดอก เราเป็นท้าวสักกะ แล้วได้ประทับยืนอยู่ในอากาศ
ด้วยท่าทางอันสง่า. พวกอำมาตย์ ช่วยลูบหน้าท่านอิลลีสเศรษฐ

แล้วราดด้วยน้ำ อิลลีสเศรษฐีรีบลุกขึ้นยืนไหว้ท้าวสักกะเทวราช.
ทันใดนั้น ท้าวสักกะกล่าวกะท่านเศรษฐีว่า ดูก่อนอิลลีสะ ทรัพย
์นี้เป็นของเรา ไม่ใช่ของท่าน เพราะเราเป็นบิดาของท่าน ท่าน
เป็นบุตรของเรา เราทำบุญมีให้ทานเป็นต้น ถึงความเป็นท้าว-
สักกะ แต่เธอตัดวงษ์ของเราขาดสิ้น เป็นผู้ไม่ยอมให้ทาน ตั้งอยู่

ในความตระหนี่ เผาโรงทาน ขับไล่พวกยาจก เอาแต่สั่งสมทรัพย์
บริโภคเองก็ไม่ยอมบริโภค ให้คนอื่นก็ไม่ให้ ทำตนเหมือนรากษส
หวงสระน้ำ ถ้าเธอกลับสร้างโรงทานให้เป็นปกติแล้วให้ทาน
นั่นเป็นความฉลาด หากไม่ให้ทาน เราจักทำทรัพย์ของเธอให้
อันตรธานไปจนหมด แล้วจักตีศีรษะด้วยอินทวัชระนี้ ให้สิ้น

ชีวิต. อิลลีสเศรษฐีถูกคุกคามด้วยมหาภัย ได้ให้ปฏิญญาว่า
ตั้งแต่บัดนี้ ข้าพเจ้าจักให้ทาน. ท้าวสักกะรับปฏิญญาณของ

• ความห่วงใยมากไป จะทำใจเราให้ขุ่นมัว
• อยู่กับความตาย แล้วจะกลัวทำไม กลัวก็ตายไม่กลัวก็ตาย
• ของดียังมีอยู่ แต่เราจะสนใจใฝ่รู้และนำมาปฏิบัติหรือไม่?
• มีศีล ๕ กันทุกคน หมดความกังวนในเรื่องของโจรผู้ร้าย
• สังคมคือคนหมู่มาก หากมากไปด้วย หิริโอตัปป และเมตตาก็อยู่กันด้วยความผาสุข
• อยู่กับสังคม มิควรจมอยู่กับความตระหนี่
• รักเพื่อน ควรแนะนำบอกสิ่งที่ดีที่สุดให้
• รักตัว ควรแล้วหรือที่เอาตัวไปเกือกกลั้วกับความเลว
• ช่วยเหลือแบ่งปัน เพื่อวันที่สดใสยิ่งขึ้น

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ย. 2018, 20:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
ท่านเศรษฐีแล้ว ประทับนั่งในอากาศนั่นแล แสดงธรรม ชักนำ
ให้เศรษฐีดำรงในศีล แล้วเสด็จไปสู่สถานของท้าวเธอ. แม้
อิลลีสเศรษฐี ก็กระทำบุญให้ทานเป็นต้น ได้เป็นผู้มีสวรรค์เป็น
ที่ไปในภายหน้า.

พระศาสดาจึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ใน
บัดนี้เท่านั้น ที่โมคคัลลานะทรมานเศรษฐีตระหนี่ ถึงในครั้งก่อน
ก็ทรมานมาแล้วเหมือนกัน ครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว
ทรงสืบอนุสนธิ ประชุมชาดกว่า อิลลีสเศรษฐีในครั้งนั้น ได้มา
เป็นเศรษฐีผู้มีความตระหนี่ในครั้งนี้ ท้าวสักกเทวราชได้มา
เป็นโมคคัลลานะ พระราชาได้มาเป็นอานนท์ ส่วนช่างกัลบก
ได้มาเป็นเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาอิลลีสชาดกที่ ๘


:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ย. 2018, 20:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
พระบรมศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหา-
วิหาร ทรงปรารภอำมาตย์ผู้หนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำ
เริ่มต้นว่า "ยโต วิลุตฺตา จ หตา จ คาโว" ดังนี้.

ได้ยินว่า อำมาตย์ผู้หนึ่งของพระเจ้าโกศล ยังพระราชา
ให้โปรดปรานแล้ว ได้กำลังในปัจจันตคาม ไปร่วมกับพวกโจร
กล่าวว่า เราจักพาพวกมนุษย์เข้าป่า พวกเจ้าปล้นบ้านแล้วแบ่ง
ให้เราครึ่งหนึ่ง ดังนี้แล้ว เรียกพวกมนุษย์ให้ประชุมกัน แล้ว
พาเข้าป่าไปเสียก่อน เมื่อพวกโจรพากันมาจับแม่โคฆ่ากินเนื้อ

ปล้นบ้านเรือนพากันไปแล้ว มีมหาชนแวดล้อมกลับเข้าบ้าน
ในเวลาเย็น ไม่ช้าไม่นาน การกระทำของเขาก็ปรากฏ พวกมนุษย์
พากันกราบทูลพระราชา. พระราชารับสั่งเรียกเขามาแล้ว
ให้กำหนดโทษ ทรงลงพระอาญา สมควรแก่โทษานุโทษ ส่ง

นายอำเภอผู้อื่นไปแทน แล้วเสด็จไปพระเชตวัน ถวายบังคม
พระตถาคต กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระผู้มี-
พระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนมหาบพิตร มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น
ที่อำมาตย์ผู้นั้น มีปกติประพฤติอย่างนี้ ถึงในกาลก่อนก็มีปกติ
ประพฤติอย่างนี้เหมือนกัน อันพระเจ้าโกศลกราบทูลอาราธนา
ทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-

ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
กรุงพาราณสี ทรงพระกรุณาพระราชทานปัจจันตคามแก่อำมาตย์
ผู้หนึ่ง. เรื่องต่อไปทั้งหมด ก็เป็นเช่นเดียวกับเรื่องก่อนทั้งหมด
ในครั้งนั้นพระโพธิสัตว์ท่องเที่ยวไปในปัจจันตคามเพื่อการค้า

พำนักอาศัยอยู่ในหมู่บ้านนั้น พระโพธิสัตว์นั้น เมื่อนายอำเภอ
ผู้นั้น ตีกลองอึกทึกมากับมหาชนผู้ห้อมล้อมในตอนเย็น จึงกล่าวว่า
นายอำเภอผู้ร้ายคนนี้รวมหัวกันกับพวกโจรให้ปล้นชาวบ้าน
ครั้นพวกโจรพากันหนีเข้าดงไปแล้ว คราวนี้สิมีกลองตีเดินมา
ทำเหมือนคนสงบเสงี่ยม แล้วกล่าวคาถานี้ว่า :-

• ความห่วงใยมากไป จะทำใจเราให้ขุ่นมัว
• อยู่กับความตาย แล้วจะกลัวทำไม กลัวก็ตายไม่กลัวก็ตาย
• ของดียังมีอยู่ แต่เราจะสนใจใฝ่รู้และนำมาปฏิบัติหรือไม่?
• มีศีล ๕ กันทุกคน หมดความกังวนในเรื่องของโจรผู้ร้าย
• สังคมคือคนหมู่มาก หากมากไปด้วย หิริโอตัปป และเมตตาก็อยู่กันด้วยความผาสุข
• อยู่กับสังคม มิควรจมอยู่กับความตระหนี่
• รักเพื่อน ควรแนะนำบอกสิ่งที่ดีที่สุดให้
• รักตัว ควรแล้วหรือที่เอาตัวไปเกือกกลั้วกับความเลว
• ช่วยเหลือแบ่งปัน เพื่อวันที่สดใสยิ่งขึ้น

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ย. 2018, 21:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
"เมื่อใดชาวบ้านถูกปล้นเรียบร้อยแล้ว
ฝูงโคถูกเชือดแล้ว เรือนทั้งหลายถูกไฟเผาวอด
ไปแล้ว ผู้คนถูกต้อนไปแล้ว เมื่อนั้นบุตรที่มารดา
ละทิ้งแล้ว จึงมาตีกลองเสียงอึกทึก" ดังนี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยโต แปลในกาลใด.
บทว่า วิลุตฺตา จ หตา จ ความว่า พวกโจรพากันปล้น
ฆ่า เชือดฝูงโค เพื่อกินเนื้อ.

บทว่า คาโว ได้แก่ฝูงโค.
บทว่า ทฑฺฒานิ ความจุดไฟเผาเรือนให้ไหม้.
บทว่า ชโน จ นีโต จับคนนำไปเป็นเชลย.

บทว่า ปุตฺตหตาย ปุตฺโต ได้แก่ลูกของหญิงที่มารดา
ละทิ้งแล้ว อธิบายว่า ได้แก่คนหน้าด้าน. เพราะว่าคนที่ปราศจาก
หิริโอตตัปปะแล้ว ชื่อว่าย่อมไม่มีแม่ ด้วยเหตุนี้ ถึงแม้ว่าแม่ยัง
มีชีวิตอยู่เขาก็ไม่ตั้งอยู่ในฐานะเป็นลูก เพราะฉะนั้น เขาย่อม
ได้ชื่อว่า เป็นลูกของหญิงที่มารดาทอดทิ้ง.

บทว่า ขรสฺสรํ ได้แก่เสียงครึกโครม.
บทว่า เทณฺฑิมํ ได้แก่ตีกลอง.
พระโพธิสัตว์ บริภาษเขาด้วยคาถานี้ ด้วยประการฉะนี้
กรรมนั้นของเขาปรากฏต่อกาลไม่ช้าเลย.ครั้งนั้นพระราชา
ทรงลงพระอาญาแก่เขา สมควรแก่โทษานุโทษ.

พระบรมศาสดา ตรัสว่า ดูก่อนมหาบพิตร มิใช่แต่ใน
บัดนี้เท่านั้น ที่อำมาตย์ผู้นั้น มีปกติประพฤติอย่างนี้ แม้ในครั้งก่อน
ก็ได้มีความประพฤติชั่วมาแล้วเหมือนกัน ครั้นทรงนำพระธรรม-
เทศนานี้มาแล้ว ทรงสืบอนุสนธิประชุมชาดกว่า อำมาตย์ใน
ครั้งนั้น ได้มาเป็นอำมาตย์ในครั้งนี้ ส่วนบัณฑิตผู้ยกคาถาขึ้น
กล่าว ได้มาเป็นเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาขรัสสชาดกที่ ๙

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ย. 2018, 21:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
พระบรมศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร
ทรงปรารภภิกษุผู้มักโอ้อวดรูปหนึ่งตรัสพระธรรมเทศนานี้ มี
คำเริ่มต้นว่า ยนฺเต ปวิกตฺถิตํ ปุเร ดังนี้.

ได้ยินว่า ภิกษุรูปหนึ่ง เที่ยวคุยโอ่ เย้ยหยัน หลอกลวง
ในกลุ่มภิกษุทั้งที่เป็นเถระ ทั้งที่เป็นนวกะ และที่เป็นมัชฌิมะ
ด้วยอำนาจสมบัติ มีชาติเป็นต้นว่า "ผู้มีอายุทั้งหลาย ว่าถึงชาติ
กันละก็ ไม่มีทางที่จะเสมอด้วยชาติของเรา ว่าถึงโคตรก็ไม่มี
ที่จะเสมอด้วยโคตรของเรา พวกเราเกิดในตระกูลมหากษัตริย์

ขึ้นชื่อเห็นปานนี้ ผู้ที่จะได้ชื่อว่าทัดเทียมกับเรา โดยโคตรหรือ
ด้วยทรัพย์หรือด้วยถิ่นฐานของตระกูล ไม่มีเลย ทองเงินเป็นต้น
ของพวกเรามีจนหาที่สุดมิได้ เพียงแต่พวกทาสกรรมกรของ
พวกเรา ก็พากันกินข้าวสุกที่เป็นเนื้อข้าวสาลี นุ่งผ้าที่มาจาก
แคว้นกาสีเป็นต้น ผัดเครื่องลูบไล้ที่มาแต่แคว้นกาสี เพราะ

เป็นบรรพชิตดอก เดี๋ยวนี้พวกเราถึงบริโภคโภชนะเศร้าหมอง
ครองจีวรเลว ๆ อย่างนี้. ครั้งนั้น ภิกษุรูปหนึ่งสอบสวนถิ่นฐาน
แห่งตระกูลของเธอได้แน่นอน ก็กล่าวความที่เธอคุยโอ้อวดนั้น
แก่พวกภิกษุ พวกภิกษุประชุมกันในธรรมสภา พากันพูดถึงโทษ

มิใช่คุณของเธอว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย ภิกษุโน้นบวชแล้วในพระ-
ศาสนา อันจะนำออกจากทุกข์ได้เห็นปานฉะนี้ ยังจะเที่ยวคุยโอ่
เย้ยหยัน หลอกลวงอยู่ได้ พระบรมศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้พวกเธอประชุมสนทนากันด้วยเรื่อง

อะไรเล่า ? เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว ตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น ที่ภิกษุนั้นเที่ยว
คุยโอ่ถึงในครั้งก่อน ก็เคยเที่ยวคุยโอ่ เย้ยหยัน หลอกลวงมาแล้ว
ดังนี้แล้วทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-

• อยู่ใกล้ความตาย แต่ไม่คลายความยึดมั่นถือมั่น
• เมื่อจิตใจดี วาจาย่อมจะออกมาดี
• ของดียังมีอยู่ แต่เราจะสนใจใฝ่รู้และนำมาปฏิบัติหรือไม่?
• มีศีล ๕ กันทุกคน หมดความกังวนในเรื่องของโจรผู้ร้าย
• สังคมคือคนหมู่มาก หากมากไปด้วย หิริโอตัปป และเมตตาก็อยู่กันด้วยความผาสุข
• อยู่กับสังคม มิควรจมอยู่กับความตระหนี่
• รักเพื่อน ควรแนะนำบอกสิ่งที่ดีที่สุดให้
• รักตัว ควรแล้วหรือที่เอาตัวไปเกือกกลั้วกับความเลว
• ช่วยเหลือแบ่งปัน เพื่อวันที่สดใสยิ่งขึ้น

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ย. 2018, 21:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
กรุงพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดในสกุลอุทิจจพราหมณ์
ในนิคมคามตำบลหนึ่ง เจริญวัยแล้วเล่าเรียนไตรเพท อันเป็น
ที่ตั้งแห่งวิชชา ๑๘ ประการ ในสำนักอาจารย์ทิศาปาโมกข์
ณ เมืองตักกสิลา ถึงความสำเร็จศิลปะทุกประการได้นามว่า

จูฬธนุคคหบัณฑิต. เขาออกจากตักกสิลานคร เสาะแสวงหา
ศิลปะในลัทธิสมัยทุกอย่าง ลุถึงมหิสกรัฐ ก็ในชาดกนี้ มีแนวว่า
พระโพธิสัตว์มีร่างกายเตี้ยอยู่หน่อยท่าทางเหมือนค่อม เขาดำริว่า
ถ้าเราจักเฝ้าพระราชาองค์ใดองค์หนึ่ง ท้าวเธอจักกล่าวว่า
เจ้ามีร่างกายเตี้ยอย่างนี้ จักทำราชการได้หรือ อย่ากระนั้นเลย

เราหาคนที่สมบูรณ์ด้วยความสูง ความล่ำสันรูปงามสักคนหนึ่ง
ทำเป็นโล่ห์ แล้วก็เลี้ยงชีวิตอยู่หลังฉากของคนผู้นั้น คิดแล้ว
ก็เที่ยวเสาะหาชายที่มีรูปร่างอย่างนั้น ไปถึงที่ทอหูกของช่าง
หูกผู้หนึ่ง ชื่อว่า ภีมเสน ทำปฏิสันถารกับเขา พลางถามว่า
สหายเธอชื่อไร ? เขาตอบว่า ฉันชื่อภีมเสน.

จูฬ. ก็เธอเป็นผู้มีรูปงาม สมประกอบทุกอย่างอย่างนี้
จะกระทำงานเลว ๆ ต่ำ ๆ นี้ทำไม ?
ภีมเสน. ฉันไม่อาจอยู่เฉย ๆ ได้ (โดยไม่ทำงาน)

จูฬ. สหายเอ๋ย อย่าทำงานนี้เลย ในชมพูทวีปทั้งสิ้น
จะหานายขมังธนูที่พอจะทัดเทียมกับฉันไม่มีเลย แต่ถ้าเราเข้าเฝ้า
พระราชาองค์ไหน ท้าวเธอน่าจะกริ้วฉันได้ว่า เจ้านี่เตี้ย ๆ อย่างนี้
จะทำราชการได้อย่างไรกัน เธอพึงไปเฝ้าพระราชากราบทูลว่า
ข้าพระองค์เป็นนายขมังธนู ดังนี้ พระราชาจักพระราชทาน

บำเหน็จให้เธอแล้ว พระราชทานเบี้ยเลี้ยงเนือง ๆ ฉันจะคอย
ทำงานที่เกิดขึ้นแก่เธอขออาศัยดำรงชีพอยู่เบื้องหลังเงาของ

• อยู่ใกล้ความตาย แต่ไม่คลายความยึดมั่นถือมั่น
• เมื่อจิตใจดี วาจาย่อมจะออกมาดี
• ระวังความชั่ว จะเข้าตัวอยู่ทุกขณะ
• มีศีล ๕ กันทุกคน หมดความกังวนในเรื่องของโจรผู้ร้าย
• สังคมคือคนหมู่มาก หากมากไปด้วย หิริโอตัปป และเมตตาก็อยู่กันด้วยความผาสุข
• อยู่กับสังคม มิควรจมอยู่กับความตระหนี่
• รักเพื่อน ควรแนะนำบอกสิ่งที่ดีที่สุดให้
• รักตัว ควรแล้วหรือที่เอาตัวไปเกือกกลั้วกับความเลว
• ช่วยเหลือแบ่งปัน เพื่อวันที่สดใสยิ่งขึ้น

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ย. 2018, 21:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
เธอ ด้วยวิธีอย่างนี้เราทั้งสองคนก็จักเป็นสุข ท่านจงทำตาม
คำของเรา ภีมเสนตกลงรับคำ. จูฬธนุคคหบัณฑิตจึงพาเขาไป
พระนครพาราณสี กระทำตนเองเป็นผู้ปรนนิบัติ ยกเขาขึ้นหน้า
หยุดยืนที่ประตูพระราชฐาน ให้กราบทูลพระราชา ครั้นได้รับ
พระบรมราชานุญาตว่า พากันมาเถิดแล้ว ทั้งสองคนก็เข้าไป
ถวายบังคมพระราชาแล้วยืนอยู่ ครั้นมีพระราชดำรัสว่า เจ้า

ทั้งสองพากันมาทำไม ภีมเสนจึงกราบทูลว่าข้าพระองค์เป็น
นายขมังธนู ทั่วพื้นชมพูทวีป จะหานายขมังธนูที่ทัดเทียมกับ
ข้าพระองค์ไม่มีเลย. รับสั่งถามว่า ดูก่อนพนายเจ้าได้อะไรถึง
จักบำรุงเรา ? กราบทูลว่า เมื่อได้พระราชทรัพย์พันกระษาปณ์

ทุก ๆ กึ่งเดือน จึงจะขอเข้ารับราชการ พระเจ้าข้า. รับสั่งถามว่า
ก็บุรุษนี้เล่าเป็นอะไรของเจ้า ? กราบทูลว่า เป็นผู้ปรนนิบัติ
พระเจ้าข้า. รับสั่งว่า ดีละ จงบำรุงเราเถิด. จำเดิมแต่นั้นภีมเสน
ก็เข้ารับราชการ แต่ราชกิจที่เกิดขึ้นแล้ว พระโพธิสัตว์จัดทำ
แต่ผู้เดียว.

ก็โดยสมัยนั้น ที่แคว้นกาสี ณ ป่าแห่งหนึ่ง มีเสือร้าย
สะกัดทางสัญจรของพวกมนุษย์ จับเอาพวกมนุษย์ไปกิน
เสียเป็นอันมาก. ชาวเมืองพากันกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระ-
ราชา. พระราชารับสั่งให้ภีมเสนเข้าเฝ้า ตรัสถามว่า พ่อคุณ

พ่ออาจจักจับเสือตัวนี้ได้ไหม ? ภีมเสนกราบทูลว่า ขอเดชะ
ข้าพระองค์ไม่อาจจับเสือได้ จะได้ชื่อว่า นายขมังธนูได้อย่างไร ?
พระราชาพระราชทานรางวัลแก่เขาแล้วทรงส่งไป เขาไปถึง
เรือนบอกแก่พระโพธิสัตว์. พระโพธิสัตว์กล่าวว่า ดีแล้ว เพื่อน

ไปเถิด. ภีมเสน ถามว่า ก็ท่านเล่าไม่ไปหรือ ? พระโพธิสัตว์
ตอบว่า ฉันไม่ไปดอก แต่จักบอกอุบายให้ ภีมเสนกล่าวว่า
จงบอกเถิดเพื่อน. พระโพธิสัตว์กล่าวว่า ท่านอย่ารีบไปที่อยู่
ของเสือลำพังผู้เดียวเป็นอันขาด แต่ต้องประชุมชาวชนบท

เกณฑ์ให้ถือธนูไปสักพันหรือสองพัน แล้วไปที่เสืออยู่นั้น พอรู้
ว่าเสือมันลุกขึ้น ต้องรีบหนีเข้าพุ่มไม้พุ่มหนึ่ง นอนหมอบ ส่วน
พวกชนบทจะพากันรุมตีเสือจนจับได้ ครั้นพวกนั้นจับเสือได้แล้ว
ท่านต้องเอาฟันกัดเถาวัลย์เส้นหนึ่ง จับปลายเดินไปที่นั้น ถึงที่
ใกล้ ๆ เสือตายแล้วพึงกล่าวว่าพ่อคุณเอ๋ย ใครทำให้เสือตัวนี้

• อยู่ใกล้ความตาย แต่ไม่คลายความยึดมั่นถือมั่น
• เมื่อจิตใจดี วาจาย่อมจะออกมาดี
• ระวังความชั่ว จะเข้าตัวอยู่ทุกขณะ
• มีศีล ๕ กันทุกคน หมดความกังวนในเรื่องของโจรผู้ร้าย
• สังคมคือคนหมู่มาก หากมากไปด้วย หิริโอตัปป และเมตตาก็อยู่กันด้วยความผาสุข
• อยู่กับสังคม มิควรจมอยู่กับความตระหนี่
• รักเพื่อน ควรแนะนำบอกสิ่งที่ดีที่สุดให้
• รักตัว ควรแล้วหรือที่เอาตัวไปเกือกกลั้วกับความเลว
• ช่วยเหลือแบ่งปัน เพื่อวันที่สดใสยิ่งขึ้น

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ย. 2018, 21:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
ตายเสียเล่า เราคิดว่า จักผูกเสือด้วยเถาวัลย์ เหมือนเขาผูกวัว
จูงไปสู่ราชสำนักให้จงได้ เข้าไปสู่พุ่มไม้เพื่อหาเถาวัลย์ เมื่อเรา
ยังไม่ทันได้นำเถาวัลย์มา ใครฆ่าเสือตัวนี้ให้ตายเสียเล่า เมื่อ
เป็นเช่นนี้ ชาวชนบทเหล่านั้นต้องสะดุ้งกลัว กล่าวว่า เจ้านาย
ขอรับ โปรดอย่ากราบทูลพระราชาเลย จักพากันให้ทรัพย์มาก

เสือก็จักเป็นอันแกคนเดียวจับได้ ทั้งยังจักได้ทรัพย์เป็นอันมาก
จากสำนักพระราชาอีกด้วย ภีมเสนรับคำว่า ดีจริง ๆ แล้วไปจับ
เสือ ตามแนวที่พระโพธิสัตว์แนะให้นั่นแหละ ทำป่าให้ปลอดภัย
แล้ว มีมหาชนห้อมล้อมมาสู่พระนครพาราณสี เข้าเฝ้าพระราชา
กราบทูลว่า ขอเดชะ ข้าพระองค์จับเสือได้แล้ว ทำป่าให้ปลอดภัย
แล้ว พระราชาทรงยินดี พระราชทานทรัพย์ให้มากมาย.

ครั้นต่อมาในวันรุ่งขึ้น พวกชาวเมืองพากันมากราบทูลว่า
กระบือดุ สะกัดทางแห่งหนึ่ง พระราชาก็ส่งภีมเสนไป โดยทำนอง
เดียวกัน เขาก็จับกระบือแม้นั้นมาได้ ด้วยคำแนะนำที่พระโพธิสัตว์
บอกให้ เหมือนกับตอนจับเสือฉะนั้น. พระราชาก็ได้พระราชทาน

ทรัพย์ให้เป็นอันมากอีก. เกิดมีอิสสริยยศใหญ่ยิ่ง เขาเริ่มมัวเมา
ด้วยความมัวเมาในความใหญ่โต กระทำการดูหมิ่นพระโพธิสัตว์
มิได้เชื่อถือถ้อยคำของพระโพธิสัตว์ กล่าวคำหยาบคายสามหาว
เป็นต้นว่า เราไม่ได้อาศัยท่านเลี้ยงชีพดอก ท่านคนเดียวเท่านั้น
หรือที่เป็นลูกผู้ชาย.

ครั้นอยู่ต่อมาไม่กี่วัน พระราชาประเทศใกล้เคียงพระองค์
หนึ่ง ยกทัพมาล้อมประชิดพระนครพาราณสีไว้ พลางส่งพระ-
ราชสาสน์ถวายพระราชาว่า พระองค์จักยอมถวายราชสมบัติ
แก่หม่อมฉันหรือว่าจักรบ. พระราชาทรงส่งภีมเสนออกไปว่า
เจ้าจงออกรบ เขาสอดสวมเครื่องรบครบครัน ครองเพศเป็น

• อยู่ใกล้ความตาย แต่ไม่คลายความยึดมั่นถือมั่น
• เมื่อจิตใจดี วาจาย่อมจะออกมาดี
• ระวังความชั่ว จะเข้าตัวอยู่ทุกขณะ
• มีศีล ๕ กันทุกคน หมดความกังวนในเรื่องของโจรผู้ร้าย
• สังคมคือคนหมู่มาก หากมากไปด้วย หิริโอตัปป และเมตตาก็อยู่กันด้วยความผาสุข
• อยู่กับสังคม มิควรจมอยู่กับความตระหนี่
• รักเพื่อน ควรแนะนำบอกสิ่งที่ดีที่สุดให้
• รักตัว ควรแล้วหรือที่เอาตัวไปเกือกกลั้วกับความเลว
• ช่วยเหลือแบ่งปัน เพื่อวันที่สดใสยิ่งขึ้น

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ย. 2018, 21:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
พระราชา นั่งเหนือหลังช้างอันผูกเครื่องเรียบร้อย. แม้พระโพธิสัตว์
ก็สอดสวมเครื่องรบพร้อมสรรพ นั่งกำกับมาท้ายที่นั่งของ
ภีมเสนนั่นเอง เพราะกลัวเขาจะตาย. พญาช้างห้อมล้อมด้วย
มหาชน เคลื่อนขบวนออกโดยประตูพระนคร ลุถึงสนามรบ
ภีมเสนพอได้ฟังเสียงกลองรบเท่านั้นก็เริ่มสั่นสะท้าน พระ-
โพธิสัตว์คิดว่า น่ากลัวภีมเสนจักตกหลังช้างตายเสียในบัดดล

จึงเอาเชือกรัดภีมเสนเข้าไว้แน่น เพื่อไม่ให้ตกช้าง. ภีมเสน
ครั้นเห็นสนามรบแล้วยิ่งกลัวตายเป็นกำลัง ถึงกับอุจจาระ
ปัสสาวะราดรดหลังช้าง. พระโพธิสัตว์กล่าวว่า ภีมเสนเอย
การกระทำในตอนหลัง ช่างไม่สมกับคำพูดครั้งก่อน ๆ ของท่าน
เสียเลย ครั้งก่อนดูท่านใหญ่โตราวกับผู้เจนสงคราม เดี๋ยวนี้สิ
ประทุษร้ายหลังช้างเสียแล้ว กล่าวคาถานี้ ใจความว่า :-

"ภีมเสนเอย ที่ท่านคุยโอ่ไว้แต่ก่อน แล้ว
ภายหลังกลับปล่อยอุจจาระไหลออกมา คำคุย
ถึงการรบ กับความกระสับกระส่ายของท่าน
ดูช่างไม่สมกันเลย" ดังนี้.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยนฺเต ปวิกตฺถิตํ ปุเร ความว่า
คำใด คือคำที่ท่านโอ้อวดกล่าวคำข่มไว้แต่ก่อนว่า แกคนเดียว
หรือที่เป็นลูกผู้ชาย ข้าไม่ใช่ลูกผู้ชายหรือ แม้ถึงข้าก็เป็นทหาร
ชำนาญศึก ดังนี้ นี้เป็นคำก่อนหนึ่งละ.

บทว่า อถ เต ปูติสรา สชํ ความว่า ครั้นภายหลัง กระแส
มูตรและคูถ อันได้นามว่า กระแสเน่า เพราะมันเป็นของเน่าด้วย
เป็นของไหลได้ด้วย เหล่านี้นั้น ไหลเลอะเทอะออกมา.

• อยู่ใกล้ความตาย แต่ไม่คลายความยึดมั่นถือมั่น
• เมื่อจิตใจดี วาจาย่อมจะออกมาดี
• ระวังความชั่ว จะเข้าตัวอยู่ทุกขณะ
• มีศีล ๕ กันทุกคน หมดความกังวนในเรื่องของโจรผู้ร้าย
• สังคมคือคนหมู่มาก หากมากไปด้วย หิริโอตัปป และเมตตาก็อยู่กันด้วยความผาสุข
• อยู่กับสังคม มิควรจมอยู่กับความตระหนี่
• รักเพื่อน ควรแนะนำบอกสิ่งที่ดีที่สุดให้
• รักตัว ควรแล้วหรือที่เอาตัวไปเกือกกลั้วกับความเลว
• ช่วยเหลือแบ่งปัน เพื่อวันที่สดใสยิ่งขึ้น

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ย. 2018, 21:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
บทว่า ปจฺฉา ได้แก่ในเวลาต่อมาจากที่คุยอวดไว้ก่อนนั้น
อธิบายว่า ในบัดนี้ คือที่ สนามรบนี้.
บทว่า อุภยํ น สเมติ ภีมเสน ความว่า ดูก่อนภีมเสน
คำทั้งสองนี้ ดูช่างไม่สมกันเลย.
คำไหนบ้าง ?

คือคำที่คุยโอ่ถึงการรบ กับความกระสับกระส่ายของ
ท่านนี้. มีอธิบายว่า ได้แก่คำที่กล่าวถึงการรบที่พูดไว้ครั้งก่อน
กับความกระสับกระส่าย ความลำบาก คือความคับแค้นถึงกับ
ปล่อยคูถและมูตรราดรดหลังช้างไม่สมกันเลย.

พระโพธิสัตว์ ตำหนิเขาอย่างนี้แล้ว ปลอบว่า อย่ากลัว
เลย เพื่อนเอ๋ย เมื่อเรายังอยู่ จะเดือดร้อนไปใย ดังนี้แล้ว ให้
ภีมเสนลงเสียจากหลังช้าง กล่าวว่า จงไปอาบน้ำเถิด ส่งกลับไป
ดำริว่า วันนี้เราควรแสดงตน แล้วไสช้างเข้าสู่สนามรบ บรรลือ

สีหนาท โจมตีกองพลแตก ให้ล้อมจับเป็นพระราชาผู้เป็นศัตรู
ไว้ได้ แล้วไปเฝ้าพระเจ้าพาราณสี. พระราชาทรงยินดี พระ-
ราชทานยศใหญ่ แก่พระโพธิสัตว์. จำเดิมแต่นั้นมา นามว่า
จูฬธนุคคหบัณฑิต ก็กระฉ่อนไปในชมพูทวีปทั้งสิ้น. พระโพธิสัตว์

ได้ให้บำเหน็จแก่ภีมเสนแล้วส่งกลับถิ่นฐานเดิม กระทำบุญ
มีให้ทานเป็นต้น แล้วก็ไปตามยถากรรม.

พระบรมศาสดา จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่
แต่ในบัดนี้เท่านั้น ที่ภิกษุนี้คุยโอ้อวดแม้ในกาลก่อนก็ได้คุย
โอ้อวดแล้วเหมือนกัน ครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว
ทรงสืบอนุสนธิประชุมชาดกว่า ภีมเสนในครั้งนั้นได้มาเป็น
ภิกษุผู้มักโอ้อวด ส่วนจูฬธนุคคหบัณฑิตได้มาเป็นเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาภีมเสนชาดกที่ ๑๐

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ย. 2018, 21:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
อรรถกถาสุราปานชาดกที่ ๑

พระศาสดาทรงอาศัยพระนครโกสัมพี ประทับอยู่
ณ โฆสิตาราม ทรงปรารภพระสาคตเถระ ตรัสพระธรรมเทศนา
นี้ มีคำเริ่มต้นว่า อปายิมฺห อนจฺจิมฺห ดังนี้.

ความพิสดารว่า เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จจำพรรษา
ณ กรุงสาวัตถีแล้ว ได้เสด็จจาริกไปจนลุถึงนิคม ชื่อภัททวติกา
พวกคนเลี้ยงโค เลี้ยงสัตว์ ชาวนา และพวกเดินทาง เห็นพระ-
ศาสดาเสด็จมาแล้ว พากันถวายบังคม พลางกราบทูลห้ามว่า

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าอย่าได้เสด็จไป
สู่ท่าอัมพะเลย พระเจ้าข้า นาคชื่ออัมพติฏฐกะ ที่อาศรมของ
ชฎิล ณ ท่าอัมพะ มีพิษร้าย จะเบียดเบียนพระองค์ได้. พระผู้มี-
ีพระภาคเจ้า ทำเป็นเหมือนไม่ทรงได้ยินถ้อยคำของคนเหล่านั้น

ถึงเมื่อพวกนั้น กราบทูลห้ามอยู่ถึง ๓ ครั้ง ก็คงเสด็จไปจนได้
เล่ากันว่า ที่นั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จประทับ ณ ไพรสณฑ์
ตำบลหนึ่ง ไม่ห่างนิคมภัททวติกา ครั้งนั้นพระสาคตเถระเป็น
พุทธอุปัฏฐาก ประกอบด้วยฤทธิ์อันเป็นของปุถุชน เข้าไปใกล้
อาศรมนั้น ปูเครื่องลาดที่ทำด้วยหญ้า ณ ที่อยู่ของพญานาคนั้น

แล้วนั่งขัดสมาธิ นาคทนดูความลบหลู่มิได้ก็บังหวลควัน. พระ-
เถระก็บังหวลควันบ้าง. นาคทำให้ไฟลุก. พระเถระก็ทำให้ไฟ
ลุกบ้าง เดชของนาคข่มพระเถระไม่ได้ เดชของพระเถระข่มนาค
ได้ ท่านกำหราบพระยานาคนั้นพักเดียว ก็ให้ดำรงในสรณะ ใน

ศีลได้แล้ว ได้ไปสู่สำนักของพระศาสดา ด้วยประการฉะนี้. ฝ่าย
พระบรมศาสดาประทับอยู่ ณ นิคม ภัททวติกา ตามพระพุทธ-
อัธยาศัยแล้ว ได้เสด็จไปสู่พระนครโกสัมพี เรื่องราวที่พระสาคต-
เถระกำหราบนาค แผ่ไปทั่วชนบท.

• อยู่ใกล้ความตาย แต่ไม่คลายความยึดมั่นถือมั่น
• เมื่อจิตใจดี วาจาย่อมจะออกมาดี
• ระวังความชั่ว จะเข้าตัวอยู่ทุกขณะ
• มีศีล ๕ กันทุกคน หมดความกังวนในเรื่องของโจรผู้ร้าย
• สังคมคือคนหมู่มาก หากมากไปด้วย หิริโอตัปป และเมตตาก็อยู่กันด้วยความผาสุข
• อยู่กับสังคม มิควรจมอยู่กับความตระหนี่
• รักเพื่อน ควรแนะนำบอกสิ่งที่ดีที่สุดให้
• รักตัว ควรแล้วหรือที่เอาตัวไปเกือกกลั้วกับความเลว
• ช่วยเหลือแบ่งปัน เพื่อวันที่สดใสยิ่งขึ้น

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ย. 2018, 21:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
ฝูงชนชาวพระนครโกสัมพี กระทำการต้อนรับพระศาสดา
พากันถวายบังคมพระองค์แล้ว ก็เลยไปสำนักพระสาคตเถระ
ไหว้แล้วยืนอยู่ ณ ส่วนข้างหนึ่ง พากันกล่าวอย่างนี้ว่า "ข้าแต่
พระคุณเจ้าผู้เจริญ สิ่งใดที่พระคุณเจ้าได้ด้วยยาก นิมนต์บอก
สิ่งนั้น พวกกระผมจะจัดถวายสิ่งนั้นจงได้. พระเถระก็นิ่งเสีย

แต่ภิกษุฉัพพัคคีย์ พากันพูดว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย สุราสีแดงดังสี
เท้านกพิลาบ พวกบรรพชิตหาได้ยากนัก และก็เป็นของชอบใจ
ด้วย ถ้าพวกท่านเลื่อมใสพระเถระละก็จัดสุราสีแดงดังสีเท้า
นกพิลาบมาถวายเถิด. พวกนั้นก็รับคำว่า ดีละ เจ้าข้า พากัน
กราบทูลพระศาสดา เพื่อทรงฉันในวันพรุ่งแล้ว พากันเข้าสู่

พระนคร ต่างคนต่างจัดเตรียมสุราใส ที่มีสีแดงดังสีเท้านกพิราบ
ไว้ที่เรือนของตน ๆ ด้วยหวังว่า จักถวายแด่พระเถระ นิมนต์
พระเถระไปแล้ว พากันถวายสุราใสทุก ๆ เรือน พระเถระดื่ม
แล้ว เมาสุราเดินออกจากพระนคร ล้มลงที่ระหว่างประตู นอน
บ่นพร่ำไป พระศาสดาทรงกระทำภัตรกิจแล้ว เมื่อเสด็จออกจาก

พระนคร ทอดพระเนตรเห็นพระเถระนอนด้วยท่าทางนั้น มี
พระพุทธดำรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงช่วยประคอง
พระสาคตะไป ให้พวกภิกษุประคองไปสู่พระอารามพวกภิกษุ
วางศรีษะของพระเถระ ณ บาทมูลของพระตถาคต แล้วให้ท่าน
นอน. ท่านพระสาคตะกลับนอนเหยียดเท้าไปเฉพาะพระพักตร์

พระตถาคต. พระศาสดาตรัสสอบถามพวกภิกษุว่า ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย ความเคารพในเราตถาคต ที่สาคตะเคยมีในก่อนนั้น
บัดนี้ยังมีอยู่หรือไร ? พวกภิกษุพากันกราบทูลว่า ไม่มีพระเจ้าข้า
ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไรเล่ากำหราบพญานาคชื่อ

อัมพติฏฐกะ พวกภิกษุกราบทูลว่า พระสาคตเถระพระเจ้าข้า
ตรัสถามว่า ก็บัดนี้ สาคตะยังจะ อาจเพื่อกำหราบงูปลา

• อยู่ใกล้ความตาย แต่ไม่คลายความยึดมั่นถือมั่น
• เมื่อจิตใจดี วาจาย่อมจะออกมาดี
• ระวังความชั่ว จะเข้าตัวอยู่ทุกขณะ
• มีศีล ๕ กันทุกคน หมดความกังวนในเรื่องของโจรผู้ร้าย
• สังคมคือคนหมู่มาก หากมากไปด้วย หิริโอตัปป และเมตตาก็อยู่กันด้วยความผาสุข
• อยู่กับสังคม มิควรจมอยู่กับความตระหนี่
• รักเพื่อน ควรแนะนำบอกสิ่งที่ดีที่สุดให้
• รักตัว ควรแล้วหรือที่เอาตัวไปเกือกกลั้วกับความเลว
• ช่วยเหลือแบ่งปัน เพื่อวันที่สดใสยิ่งขึ้น

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ย. 2018, 21:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
ได้หรือ ? กราบทูลว่า เรื่องนั้นไม่ได้แน่นอน พระเจ้าข้า. ตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดื่มสิ่งใดแล้ว ปราศจากความจำได้หมายรู้
อย่างนี้ สิ่งนั้นควรที่ภิกษุจะดื่มถึงเพียงนี้หรือไม่เล่า ? กราบทูล
ว่า ไม่ควรเลยพระเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตำหนิพระเถระ
แล้วทรงเรียกพวกภิกษุมา ทรงบัญญัติสิกขาบทว่า เป็นปาจิตตีย์

ในเพราะดื่มสุราเมรัย แล้วเสด็จจากอาสน์ เข้าพระคันธกุฏี
ภิกษุทั้งหลายประชุมกันในธรรมสภา พูดถึงโทษของการดื่ม
สุราว่า ผู้มีอายุทั้งหลายขึ้นชื่อว่า การดื่มสุรามีโทษใหญ่หลวง
ถึงกับกระทำให้พระสาคตะผู้ได้นามว่า สมบูรณ์ด้วยปัญญามีฤทธิ์
ไม่รู้แม้แต่คุณของพระศาสดา จึงได้กระทำอย่างนั้น. พระศาสดา

เสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้พวกเธอประชุม
สนทนากันด้วยเรื่องอะไรเล่า ? เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลให้
ทรงทราบแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกบรรพชิตดื่ม
สุราแล้ว พากันสลบไสล มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น แม้ในครั้งก่อน

ก็ได้เป็นแล้วเหมือนกัน ดังนี้ แล้วทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก
ดังต่อไปนี้ :-

ในอดีตกาลครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
กรุงพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดในตระกูลอุทิจจพราหมณ
์ในแคว้นกาสี เจริญวัยแล้วบวชเป็นฤๅษี ได้อภิญญาและสมาบัติ
ประลองฌานพำนักอยู่ในหิมวันตประเทศ แวดล้อมด้วยอันเตวาสิก

ประมาณ ๕๐๐ ครั้นถึงฤดูฝน พวกอันเตวาสิกพากันเรียนท่าน
ว่า ท่านอาจารย์ขอรับ พวกเราพากันไปแดนมนุษย์ บริโภคของ
เปรี้ยว ๆ เค็ม ๆ แล้วค่อยมากันเถิด. ฤๅษีพระโพธิสัตว์กล่าวว่า
อาวุโส เราจะคอยอยู่ในที่นี้แหละพวกเธอพากันไป บำรุงร่างกาย

จนฤดูฝนผ่านไป แล้วจึงพากันกลับมาเถิด. อันเตวาสิกเหล่านั้น
รับคำว่า ดีแล้วขอรับ พากันกราบลาอาจารย์ไปสู่พระนคร-

• อยู่ใกล้ความตาย แต่ไม่คลายความยึดมั่นถือมั่น
• เมื่อจิตใจดี วาจาย่อมจะออกมาดี
• ระวังความชั่ว จะเข้าตัวอยู่ทุกขณะ
• มีศีล ๕ กันทุกคน หมดความกังวนในเรื่องของโจรผู้ร้าย
• สังคมคือคนหมู่มาก หากมากไปด้วย หิริโอตัปป และเมตตาก็อยู่กันด้วยความผาสุข
• อยู่กับสังคม มิควรจมอยู่กับความตระหนี่
• รักเพื่อน ควรแนะนำบอกสิ่งที่ดีที่สุดให้
• รักตัว ควรแล้วหรือที่เอาตัวไปเกือกกลั้วกับความเลว
• ช่วยเหลือแบ่งปัน เพื่อวันที่สดใสยิ่งขึ้น

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ย. 2018, 21:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
อ้างคำพูด:
พาราณสี พักอยู่ในพระราชอุทยาน ครั้นวันรุ่งขึ้นก็พากันไป
เที่ยวภิกษาจารในบ้านภายนอกประตูพระนคร ได้รับความ
เกื้อกูลอย่างดี รุ่งขึ้นอีกวันหนึ่ง จึงพากันเข้าไปสู่พระนคร
พวกมนุษย์พากันชื่นชมถวายภิกษา ล่วงมา ๒-๓ วัน ก็พากัน
กราบทูลพระราชาว่า ขอเดชะ ฤๅษี ๕๐๐ รูป พากันมาจาก

ป่าหิมพานต์ พักอยู่ในพระราชอุทยาน มีตะบะกล้า มีอินทรีย์อัน
ชนะแล้วอย่างเยี่ยม มีศีล พระราชาทรงสดับคุณของฤๅษีเหล่านั้น
เสด็จสู่อุทยาน ทรงนมัสการแล้วกระทำการปฏิสันถาร ผะเดียง
ให้อยู่ในพระอุทยานนั้นแหละตลอด ๔ เดือนฤดูฝน. นับแต่นั้น
ฤๅษีเหล่านั้น ก็พากันฉันในพระราชวังแห่งเดียว พำนักอยู่ ณ
พระราชอุทยาน.

อยู่มาวันหนึ่ง ในพระนครได้มีงานนักขัตฤกษ์ ชื่อว่า
สุรานักษัตร์. พระราชาทรงพระดำริว่าสุรา พวกบรรพชิต
หาได้ยาก จึงรับสั่งให้ถวายสุราอย่างดี เป็นอันมาก พวกดาบส
ดื่มสุราแล้ว พากันกลับไปอุทยาน ต่างก็เมาสุรา บางพวก

ลุกขึ้นฟ้อนรำ บางพวกขับร้อง ครั้นฟ้อนรำขับร้องแล้วก็พากัน
นอนหลับทับบริขาร มีไม้คานเป็นต้น พอส่างเมา พากันตื่น เห็น
อาการอันวิปริตของตนนั้น ต่างก็ร้องไห้คร่ำครวญว่า พวกเรา
มิได้กระทำการอันสมควรแก่บรรพชิตเลย กล่าวกันว่า พวกเรา
จากท่านอาจารย์มา พากันกระทำกรรมอันเลวถึงเพียงนี้ ทันใด

นั้นเอง ก็พากันทิ้งอุทยานกลับไปป่าหิมพานต์ เก็บบริขารไว้
เรียบร้อยแล้ว พากันไหว้อาจารย์นั่งอยู่แล้ว อันท่านอาจารย์
ถามว่า พ่อคุณทั้งหลาย พวกท่านมิได้ลำบากด้วยภิกษา พากัน
อยู่สบายในถิ่นของมนุษย์หรือไฉน อนึ่งพวกเธอยังจะอยู่กันด้วย
ความสมัครสมานสามัคคีอยู่หรือ พากันกราบเรียนว่า ท่าน

• อยู่ใกล้ความตาย แต่ไม่คลายความยึดมั่นถือมั่น
• เมื่อจิตใจดี วาจาย่อมจะออกมาดี
• ระวังความชั่ว จะเข้าตัวอยู่ทุกขณะ
• มีศีล ๕ กันทุกคน หมดความกังวนในเรื่องของโจรผู้ร้าย
• สังคมคือคนหมู่มาก หากมากไปด้วย หิริโอตัปป และเมตตาก็อยู่กันด้วยความผาสุข
• อยู่กับสังคม มิควรจมอยู่กับความตระหนี่
• รักเพื่อน ควรแนะนำบอกสิ่งที่ดีที่สุดให้
• รักตัว ควรแล้วหรือที่เอาตัวไปเกือกกลั้วกับความเลว
• ช่วยเหลือแบ่งปัน เพื่อวันที่สดใสยิ่งขึ้น

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13 ... 151  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร