วันเวลาปัจจุบัน 20 ก.ค. 2025, 02:54  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 34 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ต.ค. 2018, 20:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ตัวอย่างเบาๆ

อ้างคำพูด:
เริ่มสงบจะมีอาการคันคอ

เวลานั่งสมาธิกำหนดคำภาวนา พร้อมไปกับลมหายใจ นั่งทำสมาธิไปสักพัก จะต้องเริ่มมีอาการคันคอ ทุกครั้ง พยามยามฝืนไม่สนใจ แต่จะคันคอจนต้องไอออกมาทุกครั้ง
บางครั้งน้ำลายกระเด็นออกมาเลอะปาก พร้อมน้ำตาไหล พอไอออกมาสักครั้ง สองครั้ง แล้วจะหายไป แล้วไม่คันคออีกเลย
อยากรบกวนสอบถามถึงอาการที่เกิด และทำอย่างไรถึงจะไม่ให้เกิดอาการคันคอได้ เพราะตอนนั่งพอจะเริ่มสงบนิ่งจะเป็นทุกครั้ง ทำให้เกิดความรำคาญ


กล่าวคือผู้ปฏิบัติเนี่ย น่าจะร้อยทั้งร้อย เบียนหน้าหนีเลี่ยงหนีความจริง ไม่กล้าสู้หน้าสภาวธรรมที่ปรากฏตรงหน้า ณ ขณะนั้น นี่แบบเบาๆยังเลี่ยงหนีเลย
ผู้ปฏิบัติร้อยทั้งร้อยจะเอาแต่สิ่งที่ชอบใจสิ่งที่ถูกใจเท่าทัน อารมณ์ใดไม่ชอบใจ ไม่พอใจก็ขัดใจหลีกหลบ



คริๆ

ก็คงแต่ผู้ปฎิบัติ แบบพุทธธรรมฉบับ 6 ตุลา หละมั๊งคะ
ที่ฆ่านักศึกษาประชาชนพี่น้องคนไทย
เพราะไม่พอใจในอารมณ์ตัวเอง

แต่คนที่ปฎิบัติตามคำสอนพระพุทธองค์ ตรงตามพระปริยัติ ไม่มีหรอกค่ะ แบบนั้น


คุณพี่เมโลกสวยก็ดี คุณโรส ก็ดี ปฏิบัติไม่ได้หรอกขอรับ เอาคือเล่นอย่างที่เล่นที่ทำนี่แหละพอได้ ถ้าทำเกินกว่านี้ไม่เหมาะไม่ควรแล้ว

คริคริ
สำหรับเม เรียกว่า แทบไม่ต้องปฎิบัติน่ะ จะชัดกว่าค่ะ




อะไรชัด ชัดเตาปูนหรอ :b13:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ต.ค. 2018, 03:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ตัวอย่างเบาๆ

อ้างคำพูด:
เริ่มสงบจะมีอาการคันคอ

เวลานั่งสมาธิกำหนดคำภาวนา พร้อมไปกับลมหายใจ นั่งทำสมาธิไปสักพัก จะต้องเริ่มมีอาการคันคอ ทุกครั้ง พยามยามฝืนไม่สนใจ แต่จะคันคอจนต้องไอออกมาทุกครั้ง
บางครั้งน้ำลายกระเด็นออกมาเลอะปาก พร้อมน้ำตาไหล พอไอออกมาสักครั้ง สองครั้ง แล้วจะหายไป แล้วไม่คันคออีกเลย
อยากรบกวนสอบถามถึงอาการที่เกิด และทำอย่างไรถึงจะไม่ให้เกิดอาการคันคอได้ เพราะตอนนั่งพอจะเริ่มสงบนิ่งจะเป็นทุกครั้ง ทำให้เกิดความรำคาญ


กล่าวคือผู้ปฏิบัติเนี่ย น่าจะร้อยทั้งร้อย เบียนหน้าหนีเลี่ยงหนีความจริง ไม่กล้าสู้หน้าสภาวธรรมที่ปรากฏตรงหน้า ณ ขณะนั้น นี่แบบเบาๆยังเลี่ยงหนีเลย
ผู้ปฏิบัติร้อยทั้งร้อยจะเอาแต่สิ่งที่ชอบใจสิ่งที่ถูกใจเท่าทัน อารมณ์ใดไม่ชอบใจ ไม่พอใจก็ขัดใจหลีกหลบ



คริๆ

ก็คงแต่ผู้ปฎิบัติ แบบพุทธธรรมฉบับ 6 ตุลา หละมั๊งคะ
ที่ฆ่านักศึกษาประชาชนพี่น้องคนไทย
เพราะไม่พอใจในอารมณ์ตัวเอง

แต่คนที่ปฎิบัติตามคำสอนพระพุทธองค์ ตรงตามพระปริยัติ ไม่มีหรอกค่ะ แบบนั้น


คุณพี่เมโลกสวยก็ดี คุณโรส ก็ดี ปฏิบัติไม่ได้หรอกขอรับ เอาคือเล่นอย่างที่เล่นที่ทำนี่แหละพอได้ ถ้าทำเกินกว่านี้ไม่เหมาะไม่ควรแล้ว

คริคริ
สำหรับเม เรียกว่า แทบไม่ต้องปฎิบัติน่ะ จะชัดกว่าค่ะ




อะไรชัด ชัดเตาปูนหรอ :b13:

555

กระเทยไม่สามารถบรรลุธรรมาภิสมัยได้ บวชก็ไม่ได้
เมเพิ่งรู้นะเนี่ย ว่าคุณลุงเป็นกระเทย
เพราะเรียนพระอภิธรรมก็ไม่ได้ เรียนปริยัติก็ไม่ได้ ปฎิบัติก็ไม่เป็น

คริคริ



โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ต.ค. 2018, 14:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ต่อจาก หัวข้อ นี้

viewtopic.php?f=1&t=56668

Kiss
:b32:
บอกแล้วว่าความจริงตรงตามพระไตรปิฎกทุกคำเป็นปัจจุบันขณะ
ต้องมีสติปัญญารู้ทันตรงคำที่ตนมีเดี๋ยวนี้คุณฟังตอนไหน
คุณไม่ฟังมีแต่คิดเองไปเรื่อยๆแล้วมโนว่าต้องไปทำ
แต่ความจริงเพื่อฟังให้คิดเข้าใจถูกตามได้
จะแตกกระทู้ออกมาให้คนอ่านงงทำไม
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ต.ค. 2018, 21:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ต่อจาก หัวข้อ นี้

viewtopic.php?f=1&t=56668

Kiss
:b32:
บอกแล้วว่าความจริงตรงตามพระไตรปิฎกทุกคำเป็นปัจจุบันขณะ
ต้องมีสติปัญญารู้ทันตรงคำที่ตนมีเดี๋ยวนี้คุณฟังตอนไหน
คุณไม่ฟังมีแต่คิดเองไปเรื่อยๆแล้วมโนว่าต้องไปทำ
แต่ความจริงเพื่อฟังให้คิดเข้าใจถูกตามได้
จะแตกกระทู้ออกมาให้คนอ่านงงทำไม
:b32: :b32:


พระไตรปิฎกอยู่ในตู้ อิอิ มันจะเป็นปัจจุบันยังไง เขาเขียนไว้บันทึกไว้เป็นพันๆปีแว้ว

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ต.ค. 2018, 23:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ต่อจาก หัวข้อ นี้

viewtopic.php?f=1&t=56668

Kiss
:b32:
บอกแล้วว่าความจริงตรงตามพระไตรปิฎกทุกคำเป็นปัจจุบันขณะ
ต้องมีสติปัญญารู้ทันตรงคำที่ตนมีเดี๋ยวนี้คุณฟังตอนไหน
คุณไม่ฟังมีแต่คิดเองไปเรื่อยๆแล้วมโนว่าต้องไปทำ
แต่ความจริงเพื่อฟังให้คิดเข้าใจถูกตามได้
จะแตกกระทู้ออกมาให้คนอ่านงงทำไม
:b32: :b32:


พระไตรปิฎกอยู่ในตู้ อิอิ มันจะเป็นปัจจุบันยังไง เขาเขียนไว้บันทึกไว้เป็นพันๆปีแว้ว


คริคริ
เพราะลุงกรัชกาย ผู้ตื้นเขิน ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม เรยไม่รู้ว่า
ปัจจุบัน น่ะ มีหลายแบบ

ปัจจุบันขณะ ขนิกะปัจจุบัน

สันตติปัจจุบัน

และ อัทธาปัจจุบัน ค่ะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2018, 04:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ต่อจาก หัวข้อ นี้

viewtopic.php?f=1&t=56668

Kiss
:b32:
บอกแล้วว่าความจริงตรงตามพระไตรปิฎกทุกคำเป็นปัจจุบันขณะ
ต้องมีสติปัญญารู้ทันตรงคำที่ตนมีเดี๋ยวนี้คุณฟังตอนไหน
คุณไม่ฟังมีแต่คิดเองไปเรื่อยๆแล้วมโนว่าต้องไปทำ
แต่ความจริงเพื่อฟังให้คิดเข้าใจถูกตามได้
จะแตกกระทู้ออกมาให้คนอ่านงงทำไม
:b32: :b32:


พระไตรปิฎกอยู่ในตู้ อิอิ มันจะเป็นปัจจุบันยังไง เขาเขียนไว้บันทึกไว้เป็นพันๆปีแว้ว

:b12:
ทุกคำในพระไตรปิฎกมีเท่าใบไม้2-3ใบในมือ
แต่ความรู้ที่ตถาคตตรัสรู้มีเท่าใบไม้ทั้งต้นเต็มป่า
ไปอ่านทุกคำที่พระองค์ตรัสและบัญญัติไว้นิดนึง
ไม่ว่าจะนึกถึงคำไหนคำนั้นก็กำลังมีอยู่เดี๋ยวนี้เลย
คน จิต เจตสิก รูป นิพพาน ธาตุ4 ขันธ์5 อายตนะ6
และที่สำคัญพระพุทธเจ้ารู้ความจริงทั้งหมดก่อนมาบอก
เพราะเป็นความจริงที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้แต่ผู้เดียวด้วยทศพลญาณ
:b32: :b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2018, 08:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ต่อจาก หัวข้อ นี้

viewtopic.php?f=1&t=56668

Kiss
:b32:
บอกแล้วว่าความจริงตรงตามพระไตรปิฎกทุกคำเป็นปัจจุบันขณะ
ต้องมีสติปัญญารู้ทันตรงคำที่ตนมีเดี๋ยวนี้คุณฟังตอนไหน
คุณไม่ฟังมีแต่คิดเองไปเรื่อยๆแล้วมโนว่าต้องไปทำ
แต่ความจริงเพื่อฟังให้คิดเข้าใจถูกตามได้
จะแตกกระทู้ออกมาให้คนอ่านงงทำไม
:b32: :b32:


พระไตรปิฎกอยู่ในตู้ อิอิ มันจะเป็นปัจจุบันยังไง เขาเขียนไว้บันทึกไว้เป็นพันๆปีแว้ว

:b12:
ทุกคำในพระไตรปิฎกมีเท่าใบไม้2-3ใบในมือ

แต่ความรู้ที่ตถาคตตรัสรู้มีเท่าใบไม้ทั้งต้นเต็มป่า
ไปอ่านทุกคำที่พระองค์ตรัสและบัญญัติไว้นิดนึง
ไม่ว่าจะนึกถึงคำไหนคำนั้นก็กำลังมีอยู่เดี๋ยวนี้เลย
คน จิต เจตสิก รูป นิพพาน ธาตุ4 ขันธ์5 อายตนะ6
และที่สำคัญพระพุทธเจ้ารู้ความจริงทั้งหมดก่อนมาบอก
เพราะเป็นความจริงที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้แต่ผู้เดียวด้วยทศพลญาณ



อ้างคำพูด:
ทุกคำในพระไตรปิฎกมีเท่าใบไม้ 2-3 ใบในมือ


คุณโรสนี่ฟังไม่สับจับเอาไปกะเตง คิกๆๆ เขาว่าอย่างว่าสะที่ไหน

พระพุทธเจ้าตรัสอย่างนี้ ดูเหมือนที่ป่าประดู่ลาย ในขณะที่พระองค์สอนภิกษุได้หยิบใบประดู่มากำไว้

แล้วบอกว่า สิ่งที่พระองค์รู้มีมากเหมือนใบไม้ในป่า แต่ที่มีประโยชน์ในชีวิตนี้ คือ ทำให้หลุดพ้นมีหน่อยเดียวเหมือนใบไม้ในกำมือ นั่นก็คืออริยสัจ ๔ ประการ


อ้างคำพูด:
ไม่ว่าจะนึกถึงคำไหนคำนั้นก็กำลังมีอยู่เดี๋ยวนี้เลย

คน จิต เจตสิก รูป นิพพาน ธาตุ 4 ขันธ์ 5 อายตนะ6


นี่มั่วแล้ว อิอิ

จิต เจตสิก รูป ก็คนนี่แหละ (นิพพานยกไว้ก่อนอย่าเพิ่งเอารวม) จิต เจตสิก รูป คนจ้าคน ที่เดินแกว่งไปแกว่งมา ส่ายไปส่ายมาอยู่นั่นอยู่นี่แหละ

ธาตุ ๔ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๖ นี่ก็คน คิกๆๆ นี่ก็ลักษณะท่อนซุง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2018, 09:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


พูดไม่สุดแล้วรู้สึกมันขัดๆเหมือนคนฉี่ไม่สุด ดังนั้น ก็เอาสะให้สุดไปเลย


อีกแห่งหนึ่ง พระพุทธเจ้าตรัสว่า สิ่งที่พระองค์ตรัสรู้มีมากมาย แต่ทรงนำมาสอนเพียงเล็กน้อย เหตุผลที่ทรงกระทำเช่นนั้น ก็เพราะสอนแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์ ใช้แก้ปัญหาได้ และสิ่งที่ประกอบด้วยประโยชน์ใช้แก้ปัญหาได้นั้น ก็คือ อริยสัจ ๔ ทำนองเดียวกับที่ตรัสในพุทธพจน์ข้างต้นนั้น ดังความในบาลีว่า

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ป่าสีสวัน ใกล้พระนครโกสัมพี ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงหยิบใบประดู่ลายจำนวนเล็กน้อย ถือไว้ด้วยฝ่ามือ แล้วตรัสกะภิกษุทั้งหลายว่า

"ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายสำคัญว่ากระไร ใบประดู่ลายเล็กน้อย ที่เราถือไว้ด้วยฝ่ามือกับใบที่อยู่บนต้นทั้งป่าสีสปาวัน ไหนจะมากกว่ากัน?

รูปภาพ



"ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ใบประดู่ลายจำนวนเล็กน้อย ที่พระผู้มีพระภาคถือไว้ด้วยฝ่าพระหัตถ์ มีประมาณน้อย ส่วนที่อยู่บนต้น ในสีสปาวันนั่นแล มากกว่าโดยแท้


"ฉันนั้น เหมือนกันภิกษุทั้งหลาย สิ่งที่เรารู้ยิ่งแล้ว มิได้บอกแก่เธอทั้งหลาย มีมากมายกว่า เพราะเหตุไร เราจึงมิได้บอก เพราะสิ่งนั้นไม่ประกอบด้วยประโยชน์ มิใช่หลักเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ไม่เป็นไปเพื่อนิพพิทา เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธ เพื่อความสงบ เพื่อความ รู้ยิ่ง เพื่อนิพพาน


"ภิกษุทั้งหลาย อะไรเล่าที่เราบอก เราบอกว่า นี้ทุกข์ เราบอกว่า นี้ทุกขสมุทัย เราบอกว่า นี่ทุกขนิโรธ เราบอกว่า นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เพราะเหตุไรเราจึงบอก เพราะข้อนี้ ประกอบด้วยประโยชน์ ข้อนี้เป็นหลักเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ข้อนี้เป็นไปเพื่อนิพพิทา เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อนิพพาน ฉะนั้น เราจึงบอก


"เพราะฉะนั้นแล ภิกษุทั้งหลาย เธอพึงกระทำความเพียร เพื่อรู้ตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี่ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา"


อริยสัจ ๔ เป็นหลักธรรมจำเ็ป็น ทั้งสำหรับบรรพชิต และคฤหัสถ์ พระพุทธเจ้าย้ำว่า ให้ภิกษุทั้งหลาย สอนให้ชาวบ้านรู้เข้าใจอริยสัจ ดังบาลีว่า


"ภิกษุทั้งหลาย ชนเหล่าหนึ่งเหล่าใด ที่พวกเธอพึงอนุเคราะห์ ก็ดี เหล่าชนที่พอจะรับฟังคำสอน ก็ดี ไม่ว่าเป็นมิตร เป็นผู้ร่วมงาน เป็นญาติ เป็นสาโลหิต ก็ตาม พวกเธอพึงชักชวน พึงสอนให้ดำรงอยู่ ให้ประดิษฐานอยู่ ในการตรัสรู้ตามเป็นจริง ซึ่งอริยสัจ ๔ ประการ" (สํ.ม.19/1706/544)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2018, 11:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ต่อจาก หัวข้อ นี้

viewtopic.php?f=1&t=56668

Kiss
:b32:
บอกแล้วว่าความจริงตรงตามพระไตรปิฎกทุกคำเป็นปัจจุบันขณะ
ต้องมีสติปัญญารู้ทันตรงคำที่ตนมีเดี๋ยวนี้คุณฟังตอนไหน
คุณไม่ฟังมีแต่คิดเองไปเรื่อยๆแล้วมโนว่าต้องไปทำ
แต่ความจริงเพื่อฟังให้คิดเข้าใจถูกตามได้
จะแตกกระทู้ออกมาให้คนอ่านงงทำไม
:b32: :b32:


พระไตรปิฎกอยู่ในตู้ อิอิ มันจะเป็นปัจจุบันยังไง เขาเขียนไว้บันทึกไว้เป็นพันๆปีแว้ว


คริคริ
เพราะลุงกรัชกาย ผู้ตื้นเขิน ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม เรยไม่รู้ว่า
ปัจจุบัน น่ะ มีหลายแบบ

ปัจจุบันขณะ ขนิกะปัจจุบัน

สันตติปัจจุบัน

และ อัทธาปัจจุบัน ค่ะ



ที่มักพูดกันว่า ปัจจุบันขณะ , ขณะปัจจุบัน อยู่กับปัจจุบัน ตามนัยการปฏิบัติทางจิต นำมาย่อๆ พอเห็นเค้า (เต็มๆอยู่ในวิธีโยนิโสมนสิการ ข้อที่ ๙) ดังนี้

@ ว่าโดยความหมายทางธรรม ในขั้นการฝึกอบรมทางจิตใจที่แท้จริง คำว่า อดีต ปัจจุบัน และอนาคต ก็ไม่ตรงกับความเข้าใจของคนทั่วไป คำว่า “ปัจจุบัน” ตามที่คนทั่วไปเข้าใจ มักครอบคลุมกาลเวลาช่วงกว้างที่ไม่ชัดเจน

ส่วนในทางธรรม เมื่อว่าถึงการปฏิบัติทางจิต ปัจจุบัน หมายถึง ขณะเดียวที่กำลังเกิดขึ้นเป็นอยู่

ในความหมายที่ลึกลงไปนี้ เป็นอยู่ในปัจจุบัน หรืออยู่กับปัจจุบัน หมายถึง มีสติทันอยู่กับสิ่งที่รับรู้ เกี่ยวข้อง หรือต้องทำในเวลานั้นๆ แต่ละขณะ ทุกๆขณะ ถ้าจิตรับรู้สิ่งใดแล้ว เกิดความชอบใจหรือไม่ชอบใจขึ้น ก็ติดข้องวนเวียนอยู่กับภาพของสิ่งนั้นที่สร้างซ้อนขึ้นในใจ เป็นอัน ตกไปในอดีต (เรียกว่า ตกอดีต) ตามไม่ทันของจริง หลุดหลงพลาดไปจากขณะปัจจุบันแล้ว หรือ
ถ้าจิตหลุดลอยจากขณะปัจจุบัน คิดฝันไปตามความรู้สึกที่เกาะเกี่ยวกับภาพเลยไปข้างหน้าของสิ่งที่ยังไม่มา ก็เป็นอันฟุ้งไปในอนาคต

โดยนัยนี้ แม้แต่อดีต และอนาคต ตามความหมายทางธรรม ก็อาจยังอยู่ในขอบเขตแห่งเวลาปัจจุบันตามความหมายของคนทั่วไป

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2018, 16:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ต่อจาก หัวข้อ นี้

viewtopic.php?f=1&t=56668

Kiss
:b32:
บอกแล้วว่าความจริงตรงตามพระไตรปิฎกทุกคำเป็นปัจจุบันขณะ
ต้องมีสติปัญญารู้ทันตรงคำที่ตนมีเดี๋ยวนี้คุณฟังตอนไหน
คุณไม่ฟังมีแต่คิดเองไปเรื่อยๆแล้วมโนว่าต้องไปทำ
แต่ความจริงเพื่อฟังให้คิดเข้าใจถูกตามได้
จะแตกกระทู้ออกมาให้คนอ่านงงทำไม
:b32: :b32:


พระไตรปิฎกอยู่ในตู้ อิอิ มันจะเป็นปัจจุบันยังไง เขาเขียนไว้บันทึกไว้เป็นพันๆปีแว้ว


คริคริ
เพราะลุงกรัชกาย ผู้ตื้นเขิน ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม เรยไม่รู้ว่า
ปัจจุบัน น่ะ มีหลายแบบ

ปัจจุบันขณะ ขนิกะปัจจุบัน

สันตติปัจจุบัน

และ อัทธาปัจจุบัน ค่ะ



ที่มักพูดกันว่า ปัจจุบันขณะ , ขณะปัจจุบัน อยู่กับปัจจุบัน ตามนัยการปฏิบัติทางจิต นำมาย่อๆ พอเห็นเค้า (เต็มๆอยู่ในวิธีโยนิโสมนสิการ ข้อที่ ๙) ดังนี้

@ ว่าโดยความหมายทางธรรม ในขั้นการฝึกอบรมทางจิตใจที่แท้จริง คำว่า อดีต ปัจจุบัน และอนาคต ก็ไม่ตรงกับความเข้าใจของคนทั่วไป คำว่า “ปัจจุบัน” ตามที่คนทั่วไปเข้าใจ มักครอบคลุมกาลเวลาช่วงกว้างที่ไม่ชัดเจน

ส่วนในทางธรรม เมื่อว่าถึงการปฏิบัติทางจิต ปัจจุบัน หมายถึง ขณะเดียวที่กำลังเกิดขึ้นเป็นอยู่

ในความหมายที่ลึกลงไปนี้ เป็นอยู่ในปัจจุบัน หรืออยู่กับปัจจุบัน หมายถึง มีสติทันอยู่กับสิ่งที่รับรู้ เกี่ยวข้อง หรือต้องทำในเวลานั้นๆ แต่ละขณะ ทุกๆขณะ ถ้าจิตรับรู้สิ่งใดแล้ว เกิดความชอบใจหรือไม่ชอบใจขึ้น ก็ติดข้องวนเวียนอยู่กับภาพของสิ่งนั้นที่สร้างซ้อนขึ้นในใจ เป็นอัน ตกไปในอดีต (เรียกว่า ตกอดีต) ตามไม่ทันของจริง หลุดหลงพลาดไปจากขณะปัจจุบันแล้ว หรือ
ถ้าจิตหลุดลอยจากขณะปัจจุบัน คิดฝันไปตามความรู้สึกที่เกาะเกี่ยวกับภาพเลยไปข้างหน้าของสิ่งที่ยังไม่มา ก็เป็นอันฟุ้งไปในอนาคต

โดยนัยนี้ แม้แต่อดีต และอนาคต ตามความหมายทางธรรม ก็อาจยังอยู่ในขอบเขตแห่งเวลาปัจจุบันตามความหมายของคนทั่วไป


555

คนเขียนหนังสือพุทธธรรม กะลุงกรัชกายเข้าใจผิดๆๆ ไม่ตรงตามพระอภิธรรม พระปริยัติอีแกล้ว

ปัจจุบันขนะ แต่ละขนะ ทุกขนะ ที่โม้ออกมาด้วยความตื้นเขินนั้น

เพราะไม่รู้ว่า


ขนิกะปัจจุบัน มีแต่พระบรมศาสดาเท่านั้น ที่เห็นค่ะ
สาวกอย่างคนเขียนพุทธธรรม และ สาวก ไม่เห็นหรอกค่ะ

อย่าโม้อวดอุตริเรยค่ะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2018, 19:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ต่อจาก หัวข้อ นี้

viewtopic.php?f=1&t=56668

Kiss
:b32:
บอกแล้วว่าความจริงตรงตามพระไตรปิฎกทุกคำเป็นปัจจุบันขณะ
ต้องมีสติปัญญารู้ทันตรงคำที่ตนมีเดี๋ยวนี้คุณฟังตอนไหน
คุณไม่ฟังมีแต่คิดเองไปเรื่อยๆแล้วมโนว่าต้องไปทำ
แต่ความจริงเพื่อฟังให้คิดเข้าใจถูกตามได้
จะแตกกระทู้ออกมาให้คนอ่านงงทำไม
:b32: :b32:


พระไตรปิฎกอยู่ในตู้ อิอิ มันจะเป็นปัจจุบันยังไง เขาเขียนไว้บันทึกไว้เป็นพันๆปีแว้ว


คริคริ
เพราะลุงกรัชกาย ผู้ตื้นเขิน ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม เรยไม่รู้ว่า
ปัจจุบัน น่ะ มีหลายแบบ

ปัจจุบันขณะ ขนิกะปัจจุบัน

สันตติปัจจุบัน

และ อัทธาปัจจุบัน ค่ะ



ที่มักพูดกันว่า ปัจจุบันขณะ , ขณะปัจจุบัน อยู่กับปัจจุบัน ตามนัยการปฏิบัติทางจิต นำมาย่อๆ พอเห็นเค้า (เต็มๆอยู่ในวิธีโยนิโสมนสิการ ข้อที่ ๙) ดังนี้

@ ว่าโดยความหมายทางธรรม ในขั้นการฝึกอบรมทางจิตใจที่แท้จริง คำว่า อดีต ปัจจุบัน และอนาคต ก็ไม่ตรงกับความเข้าใจของคนทั่วไป คำว่า “ปัจจุบัน” ตามที่คนทั่วไปเข้าใจ มักครอบคลุมกาลเวลาช่วงกว้างที่ไม่ชัดเจน

ส่วนในทางธรรม เมื่อว่าถึงการปฏิบัติทางจิต ปัจจุบัน หมายถึง ขณะเดียวที่กำลังเกิดขึ้นเป็นอยู่

ในความหมายที่ลึกลงไปนี้ เป็นอยู่ในปัจจุบัน หรืออยู่กับปัจจุบัน หมายถึง มีสติทันอยู่กับสิ่งที่รับรู้ เกี่ยวข้อง หรือต้องทำในเวลานั้นๆ แต่ละขณะ ทุกๆขณะ ถ้าจิตรับรู้สิ่งใดแล้ว เกิดความชอบใจหรือไม่ชอบใจขึ้น ก็ติดข้องวนเวียนอยู่กับภาพของสิ่งนั้นที่สร้างซ้อนขึ้นในใจ เป็นอัน ตกไปในอดีต (เรียกว่า ตกอดีต) ตามไม่ทันของจริง หลุดหลงพลาดไปจากขณะปัจจุบันแล้ว หรือ
ถ้าจิตหลุดลอยจากขณะปัจจุบัน คิดฝันไปตามความรู้สึกที่เกาะเกี่ยวกับภาพเลยไปข้างหน้าของสิ่งที่ยังไม่มา ก็เป็นอันฟุ้งไปในอนาคต

โดยนัยนี้ แม้แต่อดีต และอนาคต ตามความหมายทางธรรม ก็อาจยังอยู่ในขอบเขตแห่งเวลาปัจจุบันตามความหมายของคนทั่วไป


555

คนเขียนหนังสือพุทธธรรม กะลุงกรัชกายเข้าใจผิดๆๆ ไม่ตรงตามพระอภิธรรม พระปริยัติอีแกล้ว

ปัจจุบันขนะ แต่ละขนะ ทุกขนะ ที่โม้ออกมาด้วยความตื้นเขินนั้น

เพราะไม่รู้ว่า


ขนิกะปัจจุบัน มีแต่พระบรมศาสดาเท่านั้น ที่เห็นค่ะ
สาวกอย่างคนเขียนพุทธธรรม และ สาวก ไม่เห็นหรอกค่ะ

อย่าโม้อวดอุตริเรยค่ะ


อ้อ มันเป็นยังงี้นี่เอง อืมมม :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2018, 21:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ต่อจาก หัวข้อ นี้

viewtopic.php?f=1&t=56668

Kiss
:b32:
บอกแล้วว่าความจริงตรงตามพระไตรปิฎกทุกคำเป็นปัจจุบันขณะ
ต้องมีสติปัญญารู้ทันตรงคำที่ตนมีเดี๋ยวนี้คุณฟังตอนไหน
คุณไม่ฟังมีแต่คิดเองไปเรื่อยๆแล้วมโนว่าต้องไปทำ
แต่ความจริงเพื่อฟังให้คิดเข้าใจถูกตามได้
จะแตกกระทู้ออกมาให้คนอ่านงงทำไม
:b32: :b32:


พระไตรปิฎกอยู่ในตู้ อิอิ มันจะเป็นปัจจุบันยังไง เขาเขียนไว้บันทึกไว้เป็นพันๆปีแว้ว


คริคริ
เพราะลุงกรัชกาย ผู้ตื้นเขิน ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม เรยไม่รู้ว่า
ปัจจุบัน น่ะ มีหลายแบบ

ปัจจุบันขณะ ขนิกะปัจจุบัน

สันตติปัจจุบัน

และ อัทธาปัจจุบัน ค่ะ



ที่มักพูดกันว่า ปัจจุบันขณะ , ขณะปัจจุบัน อยู่กับปัจจุบัน ตามนัยการปฏิบัติทางจิต นำมาย่อๆ พอเห็นเค้า (เต็มๆอยู่ในวิธีโยนิโสมนสิการ ข้อที่ ๙) ดังนี้

@ ว่าโดยความหมายทางธรรม ในขั้นการฝึกอบรมทางจิตใจที่แท้จริง คำว่า อดีต ปัจจุบัน และอนาคต ก็ไม่ตรงกับความเข้าใจของคนทั่วไป คำว่า “ปัจจุบัน” ตามที่คนทั่วไปเข้าใจ มักครอบคลุมกาลเวลาช่วงกว้างที่ไม่ชัดเจน

ส่วนในทางธรรม เมื่อว่าถึงการปฏิบัติทางจิต ปัจจุบัน หมายถึง ขณะเดียวที่กำลังเกิดขึ้นเป็นอยู่

ในความหมายที่ลึกลงไปนี้ เป็นอยู่ในปัจจุบัน หรืออยู่กับปัจจุบัน หมายถึง มีสติทันอยู่กับสิ่งที่รับรู้ เกี่ยวข้อง หรือต้องทำในเวลานั้นๆ แต่ละขณะ ทุกๆขณะ ถ้าจิตรับรู้สิ่งใดแล้ว เกิดความชอบใจหรือไม่ชอบใจขึ้น ก็ติดข้องวนเวียนอยู่กับภาพของสิ่งนั้นที่สร้างซ้อนขึ้นในใจ เป็นอัน ตกไปในอดีต (เรียกว่า ตกอดีต) ตามไม่ทันของจริง หลุดหลงพลาดไปจากขณะปัจจุบันแล้ว หรือ
ถ้าจิตหลุดลอยจากขณะปัจจุบัน คิดฝันไปตามความรู้สึกที่เกาะเกี่ยวกับภาพเลยไปข้างหน้าของสิ่งที่ยังไม่มา ก็เป็นอันฟุ้งไปในอนาคต

โดยนัยนี้ แม้แต่อดีต และอนาคต ตามความหมายทางธรรม ก็อาจยังอยู่ในขอบเขตแห่งเวลาปัจจุบันตามความหมายของคนทั่วไป


555

คนเขียนหนังสือพุทธธรรม กะลุงกรัชกายเข้าใจผิดๆๆ ไม่ตรงตามพระอภิธรรม พระปริยัติอีแกล้ว

ปัจจุบันขนะ แต่ละขนะ ทุกขนะ ที่โม้ออกมาด้วยความตื้นเขินนั้น

เพราะไม่รู้ว่า


ขนิกะปัจจุบัน มีแต่พระบรมศาสดาเท่านั้น ที่เห็นค่ะ
สาวกอย่างคนเขียนพุทธธรรม และ สาวก ไม่เห็นหรอกค่ะ

อย่าโม้อวดอุตริเรยค่ะ


อ้อ มันเป็นยังงี้นี่เอง อืมมม :b32:


เพราะป้ากรัชกายไม่ได้เรียนพระอภิธรรม จึงไม่รู้ว่า

สาวกจะตามทันได้เพียง สันตติปัจจุบัน และอัทธาปัจจุบันแห่งจิต เท่านั้นค่ะ
คริคริ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ต.ค. 2018, 03:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ต่อจาก หัวข้อ นี้

viewtopic.php?f=1&t=56668

Kiss
:b32:
บอกแล้วว่าความจริงตรงตามพระไตรปิฎกทุกคำเป็นปัจจุบันขณะ
ต้องมีสติปัญญารู้ทันตรงคำที่ตนมีเดี๋ยวนี้คุณฟังตอนไหน
คุณไม่ฟังมีแต่คิดเองไปเรื่อยๆแล้วมโนว่าต้องไปทำ
แต่ความจริงเพื่อฟังให้คิดเข้าใจถูกตามได้
จะแตกกระทู้ออกมาให้คนอ่านงงทำไม
:b32: :b32:


พระไตรปิฎกอยู่ในตู้ อิอิ มันจะเป็นปัจจุบันยังไง เขาเขียนไว้บันทึกไว้เป็นพันๆปีแว้ว

:b12:
ทุกคำในพระไตรปิฎกมีเท่าใบไม้2-3ใบในมือ

แต่ความรู้ที่ตถาคตตรัสรู้มีเท่าใบไม้ทั้งต้นเต็มป่า
ไปอ่านทุกคำที่พระองค์ตรัสและบัญญัติไว้นิดนึง
ไม่ว่าจะนึกถึงคำไหนคำนั้นก็กำลังมีอยู่เดี๋ยวนี้เลย
คน จิต เจตสิก รูป นิพพาน ธาตุ4 ขันธ์5 อายตนะ6
และที่สำคัญพระพุทธเจ้ารู้ความจริงทั้งหมดก่อนมาบอก
เพราะเป็นความจริงที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้แต่ผู้เดียวด้วยทศพลญาณ



อ้างคำพูด:
ทุกคำในพระไตรปิฎกมีเท่าใบไม้ 2-3 ใบในมือ


คุณโรสนี่ฟังไม่สับจับเอาไปกะเตง คิกๆๆ เขาว่าอย่างว่าสะที่ไหน

พระพุทธเจ้าตรัสอย่างนี้ ดูเหมือนที่ป่าประดู่ลาย ในขณะที่พระองค์สอนภิกษุได้หยิบใบประดู่มากำไว้

แล้วบอกว่า สิ่งที่พระองค์รู้มีมากเหมือนใบไม้ในป่า แต่ที่มีประโยชน์ในชีวิตนี้ คือ ทำให้หลุดพ้นมีหน่อยเดียวเหมือนใบไม้ในกำมือ นั่นก็คืออริยสัจ ๔ ประการ


อ้างคำพูด:
ไม่ว่าจะนึกถึงคำไหนคำนั้นก็กำลังมีอยู่เดี๋ยวนี้เลย

คน จิต เจตสิก รูป นิพพาน ธาตุ 4 ขันธ์ 5 อายตนะ6


นี่มั่วแล้ว อิอิ

จิต เจตสิก รูป ก็คนนี่แหละ (นิพพานยกไว้ก่อนอย่าเพิ่งเอารวม) จิต เจตสิก รูป คนจ้าคน ที่เดินแกว่งไปแกว่งมา ส่ายไปส่ายมาอยู่นั่นอยู่นี่แหละ

ธาตุ ๔ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๖ นี่ก็คน คิกๆๆ นี่ก็ลักษณะท่อนซุง

:b12:
การรู้ความจริงตามคำสอนนั้นอาศัยปัญญาคือเข้าใจตรงจริงตรงปรมัตถะสัจจะ
การทำวิปัสสนาคือปัญญาตามคำสอนตามลำดับคือเริ่มที่สุตะ-จินตะ-ภาวนะ_ทำญาณ
การทำสมถะเป็นการทำสมาธิ(คนละทางกับทำปัญญา)คือเริ่มที่ปิติ-สุข-เอกัคตา_ทำฌาน
การรู้ความจริงตรงขณะตอนกำลังฟังคุณคิดตามได้ทีละ1พยางค์คุณคิดไม่ตรงคือไม่รู้ค่ะ
เพราะการนั่งขัดสมาธิหลับตาโดยขาดการฟังรู้ที่กายทำสมาธิที่ไม่มีสติปัญญาเกิดร่วมน๊า
ทำฌานโดยขาดฟังที่ไปนั่งเงียบๆคิดไปเองแถมหลับตาขาดจักขุปสาทะรูปคือไม่ได้รู้แจ้ง
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ต.ค. 2018, 04:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ต่อจาก หัวข้อ นี้

viewtopic.php?f=1&t=56668

Kiss
:b32:
บอกแล้วว่าความจริงตรงตามพระไตรปิฎกทุกคำเป็นปัจจุบันขณะ
ต้องมีสติปัญญารู้ทันตรงคำที่ตนมีเดี๋ยวนี้คุณฟังตอนไหน
คุณไม่ฟังมีแต่คิดเองไปเรื่อยๆแล้วมโนว่าต้องไปทำ
แต่ความจริงเพื่อฟังให้คิดเข้าใจถูกตามได้
จะแตกกระทู้ออกมาให้คนอ่านงงทำไม
:b32: :b32:


พระไตรปิฎกอยู่ในตู้ อิอิ มันจะเป็นปัจจุบันยังไง เขาเขียนไว้บันทึกไว้เป็นพันๆปีแว้ว

:b12:
ทุกคำในพระไตรปิฎกมีเท่าใบไม้2-3ใบในมือ

แต่ความรู้ที่ตถาคตตรัสรู้มีเท่าใบไม้ทั้งต้นเต็มป่า
ไปอ่านทุกคำที่พระองค์ตรัสและบัญญัติไว้นิดนึง
ไม่ว่าจะนึกถึงคำไหนคำนั้นก็กำลังมีอยู่เดี๋ยวนี้เลย
คน จิต เจตสิก รูป นิพพาน ธาตุ4 ขันธ์5 อายตนะ6
และที่สำคัญพระพุทธเจ้ารู้ความจริงทั้งหมดก่อนมาบอก
เพราะเป็นความจริงที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้แต่ผู้เดียวด้วยทศพลญาณ



อ้างคำพูด:
ทุกคำในพระไตรปิฎกมีเท่าใบไม้ 2-3 ใบในมือ


คุณโรสนี่ฟังไม่สับจับเอาไปกะเตง คิกๆๆ เขาว่าอย่างว่าสะที่ไหน

พระพุทธเจ้าตรัสอย่างนี้ ดูเหมือนที่ป่าประดู่ลาย ในขณะที่พระองค์สอนภิกษุได้หยิบใบประดู่มากำไว้

แล้วบอกว่า สิ่งที่พระองค์รู้มีมากเหมือนใบไม้ในป่า แต่ที่มีประโยชน์ในชีวิตนี้ คือ ทำให้หลุดพ้นมีหน่อยเดียวเหมือนใบไม้ในกำมือ นั่นก็คืออริยสัจ ๔ ประการ


อ้างคำพูด:
ไม่ว่าจะนึกถึงคำไหนคำนั้นก็กำลังมีอยู่เดี๋ยวนี้เลย

คน จิต เจตสิก รูป นิพพาน ธาตุ 4 ขันธ์ 5 อายตนะ6


นี่มั่วแล้ว อิอิ

จิต เจตสิก รูป ก็คนนี่แหละ (นิพพานยกไว้ก่อนอย่าเพิ่งเอารวม) จิต เจตสิก รูป คนจ้าคน ที่เดินแกว่งไปแกว่งมา ส่ายไปส่ายมาอยู่นั่นอยู่นี่แหละ

ธาตุ ๔ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๖ นี่ก็คน คิกๆๆ นี่ก็ลักษณะท่อนซุง

:b12:
การรู้ความจริงตามคำสอนนั้นอาศัยปัญญาคือเข้าใจตรงจริงตรงปรมัตถะสัจจะ
การทำวิปัสสนาคือปัญญาตามคำสอนตามลำดับคือเริ่มที่สุตะ-จินตะ-ภาวนะ_ทำญาณ
การทำสมถะเป็นการทำสมาธิ(คนละทางกับทำปัญญา)คือเริ่มที่ปิติ-สุข-เอกัคตา_ทำฌาน
การรู้ความจริงตรงขณะตอนกำลังฟังคุณคิดตามได้ทีละ1พยางค์คุณคิดไม่ตรงคือไม่รู้ค่ะ
เพราะการนั่งขัดสมาธิหลับตาโดยขาดการฟังรู้ที่กายทำสมาธิที่ไม่มีสติปัญญาเกิดร่วมน๊า
ทำฌานโดยขาดฟังที่ไปนั่งเงียบๆคิดไปเองแถมหลับตาขาดจักขุปสาทะรูปคือไม่ได้รู้แจ้ง
:b32: :b32:

ธาตุ4ก็มีแล้วขันธ์5ก็มีแล้วอายตนะ6ก็มีแล้วไม่ต้องทำไงคะ
ตามรู้ความจริงที่มีแล้วเพื่อเข้าใจถูกตามได้เกิดสัมมาทิฏฐิ
ฟังเพื่อคิดถูกเข้าใจถูกตามได้คือสุตมยปัญญาทำเป็นไหม
ข้ามสุตะไปภาวนะมันไม่เป็นไปตามลำดับที่จะเกิดปัญญา
จะยึดตำราเอาแต่จำปัญญาพระพุทธเจ้าท่องได้ไม่ใช่ปัญญาเจตสิกของตน
สัญญาเจตสิกกับปัญญาเจตสิกเป็นคนละตัวธัมมะปัญญาไม่เกิดขณะมีอกุศล
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ต.ค. 2018, 07:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ต่อจาก หัวข้อ นี้

viewtopic.php?f=1&t=56668

Kiss
:b32:
บอกแล้วว่าความจริงตรงตามพระไตรปิฎกทุกคำเป็นปัจจุบันขณะ
ต้องมีสติปัญญารู้ทันตรงคำที่ตนมีเดี๋ยวนี้คุณฟังตอนไหน
คุณไม่ฟังมีแต่คิดเองไปเรื่อยๆแล้วมโนว่าต้องไปทำ
แต่ความจริงเพื่อฟังให้คิดเข้าใจถูกตามได้
จะแตกกระทู้ออกมาให้คนอ่านงงทำไม
:b32: :b32:


พระไตรปิฎกอยู่ในตู้ อิอิ มันจะเป็นปัจจุบันยังไง เขาเขียนไว้บันทึกไว้เป็นพันๆปีแว้ว

:b12:
ทุกคำในพระไตรปิฎกมีเท่าใบไม้2-3ใบในมือ

แต่ความรู้ที่ตถาคตตรัสรู้มีเท่าใบไม้ทั้งต้นเต็มป่า
ไปอ่านทุกคำที่พระองค์ตรัสและบัญญัติไว้นิดนึง
ไม่ว่าจะนึกถึงคำไหนคำนั้นก็กำลังมีอยู่เดี๋ยวนี้เลย
คน จิต เจตสิก รูป นิพพาน ธาตุ4 ขันธ์5 อายตนะ6
และที่สำคัญพระพุทธเจ้ารู้ความจริงทั้งหมดก่อนมาบอก
เพราะเป็นความจริงที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้แต่ผู้เดียวด้วยทศพลญาณ




อ้างคำพูด:
ทุกคำในพระไตรปิฎกมีเท่าใบไม้ 2-3 ใบในมือ


คุณโรสนี่ฟังไม่สับจับเอาไปกะเตง คิกๆๆ เขาว่าอย่างว่าสะที่ไหน

พระพุทธเจ้าตรัสอย่างนี้ ดูเหมือนที่ป่าประดู่ลาย ในขณะที่พระองค์สอนภิกษุได้หยิบใบประดู่มากำไว้

แล้วบอกว่า สิ่งที่พระองค์รู้มีมากเหมือนใบไม้ในป่า แต่ที่มีประโยชน์ในชีวิตนี้ คือ ทำให้หลุดพ้นมีหน่อยเดียวเหมือนใบไม้ในกำมือ นั่นก็คืออริยสัจ ๔ ประการ


อ้างคำพูด:
ไม่ว่าจะนึกถึงคำไหนคำนั้นก็กำลังมีอยู่เดี๋ยวนี้เลย

คน จิต เจตสิก รูป นิพพาน ธาตุ 4 ขันธ์ 5 อายตนะ6


นี่มั่วแล้ว อิอิ

จิต เจตสิก รูป ก็คนนี่แหละ (นิพพานยกไว้ก่อนอย่าเพิ่งเอารวม) จิต เจตสิก รูป คนจ้าคน ที่เดินแกว่งไปแกว่งมา ส่ายไปส่ายมาอยู่นั่นอยู่นี่แหละ

ธาตุ ๔ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๖ นี่ก็คน คิกๆๆ นี่ก็ลักษณะท่อนซุง

:b12:
การรู้ความจริงตามคำสอนนั้นอาศัยปัญญาคือเข้าใจตรงจริงตรงปรมัตถะสัจจะ
การทำวิปัสสนาคือปัญญาตามคำสอนตามลำดับคือเริ่มที่สุตะ-จินตะ-ภาวนะ_ทำญาณ
การทำสมถะเป็นการทำสมาธิ(คนละทางกับทำปัญญา)คือเริ่มที่ปิติ-สุข-เอกัคตา_ทำฌาน
การรู้ความจริงตรงขณะตอนกำลังฟังคุณคิดตามได้ทีละ1พยางค์คุณคิดไม่ตรงคือไม่รู้ค่ะ
เพราะการนั่งขัดสมาธิหลับตาโดยขาดการฟังรู้ที่กายทำสมาธิที่ไม่มีสติปัญญาเกิดร่วมน๊า
ทำฌานโดยขาดฟังที่ไปนั่งเงียบๆคิดไปเองแถมหลับตาขาดจักขุปสาทะรูปคือไม่ได้รู้แจ้ง
:b32: :b32:


ธาตุ 4 ก็มีแล้วขันธ์ 5 ก็มีแล้ว อายตนะ 6 ก็มีแล้วไม่ต้องทำไงคะ

ตามรู้ความจริงที่มีแล้วเพื่อเข้าใจถูกตามได้เกิดสัมมาทิฏฐิ
ฟังเพื่อคิดถูกเข้าใจถูกตามได้คือสุตมยปัญญาทำเป็นไหม
ข้ามสุตะไปภาวนะมันไม่เป็นไปตามลำดับที่จะเกิดปัญญา
จะยึดตำราเอาแต่จำปัญญาพระพุทธเจ้าท่องได้ไม่ใช่ปัญญาเจตสิกของตน
สัญญาเจตสิกกับปัญญาเจตสิกเป็นคนละตัวธัมมะปัญญาไม่เกิดขณะมีอกุศล
:b4: :b4:


อ้างคำพูด:
ธาตุ 4 ก็มีแล้วขันธ์ 5 ก็มีแล้ว อายตนะ 6 ก็มีแล้วไม่ต้องทำไงคะ


คำพูด (วจีกรรม) นั่น แสดงถึงความคิด (มโนกรรม) พลาดคลาดเคลื่อน คิดว่าทำเพื่อให้มีอีก ทำเพื่อจะเอา คิกๆๆ และนั่นเป็นการรู้ระดับปริยัติ รู้จากหนังสือที่เขาว่าไว้ ถูกไหม และความคิดบรรทัดเดียวนั้น แสดงถึงความเข้าใจสับสนด้วย รู้แบบรู้อย่างท่อนซุงด้วย คือ รู้คลุมๆไป อีกทั้งน่าจะนำไปตั้งกระทู้ได้อีก นึกก่อนว่าจะใช้ชื่ออะไรดี คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 34 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร