วันเวลาปัจจุบัน 18 ก.ค. 2025, 20:57  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 51 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ต.ค. 2018, 23:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อีกสักตัวอย่าง

อ้างคำพูด:
ทำสมาธิแล้วรู้สึกมีใครอยู่ข้างๆ

เหตุการณ์คือ พอผมนั่งสมาธิไปสักพักผมเริ่มได้ยินเสียงวิ้งๆๆ ในหู และรู้สึกว่ามีคนมานั่งข้างๆ กับยืนข้างหลัง ผมคิดไปเองหรือว่ามันมีอะไรครับ


ได้ยินเสียง ก็เสียงหนอๆๆๆ

รู้สึกว่ามีนั่นนี่ เห็นนั่นนี่ ก็เห็นหนอๆๆ

ไม่รู้จะว่ายังไงดี ก็ว่า รู้หนอๆๆๆ (รู้ว่าเป็นยังงั้นยังงี้) กำหนดแล้วๆกัน จบ แล้วดึงสติกลับมาที่ลมเข้าออก ที่พอง ยุบ ว่าต่อไปอีก (มัวแต่สนใจกำหนดทางนี้ อารมณ์ทางโน้นดับไปหายไปเมื่อไรไม่รู้คิกๆๆสังเกตซี่)



อย่ามั่วมากเรยค่ะ ลุงกรัชกาย

ที่มาร้องคิกๆ นี่ ไม่สามารถลบความตื้นเขินไปได้หรอกค่ะ


เพราะลุงกรัชกายไม่เรียนพระอภิธรรม ไม่ได้ศึกษาพระปริยัติ เรยแยกแยะไม่ออก
ระหว่าง สมถะ หนอๆ กะ สติปัฎฐาน

ไปยกสมถะ มาไส่กระทู้ สติปัฎฐาน อย่างตื้นเขินหนอๆๆ เรยค่ะ



โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2018, 09:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เพื่อไม่ให้เป็นการเสียเวลา ต่อกระทู้กันดีก่า ท้ายๆก็จะมีตัวอย่างประกอบความเข้าใจด้วย ดูดีๆ จะเห็นวิธีทำที่เรียกว่าสมถะด้วย จะเห็นวิธีทำวิปัสสนาด้วย ชัดเลย

ต่อ


ข้อสังเกตปลีกย่อยอื่นๆ ยังมีอีก เช่น

ในสมถะ สติกำหนดอารมณ์ที่นิ่งอยู่กับที่ หรือเคลื่อนไหวเป็นรูปแบบเฉพาะซ้ำไปซ้ำมาภายในขอบเขตจำกัด

ส่วนในวิปัสสนา สติกำหนดอารมณ์ที่กำลังเคลื่อนไหว หรือเป็นไปในสภาพใดๆก็ได้ ไม่จำกัดขอบเขต

ในสมถะ นิยมให้เลือกกำหนดอารมณ์บางอย่าง ในบรรดาอารมณ์ที่สรรแล้ว ซึ่งจะเป็นอุบายช่วยให้จิตใจสงบแน่วแน่ได้ง่าย

ส่วนในวิปัสสนา ใช้อารมณ์ได้ทุกอย่างไม่จำกัด สุดแต่อะไรปรากฏขึ้นให้พิจารณาและอะไรก็ตามที่จะให้เห็นความจริง (สรุปลงได้ทั้งหมดใน ร่างกาย เวทนา จิต ธรรม หรือในนามและรูป)


เอาอีกแล้วเม สอนให้เท่าไรไม่จำ นะเนี่ย

เข้าใจผิดๆอีก เพราะลุงกรัชกาย ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม ไม่ได้เรียนปริยัติ

เรยไม่รู้ว่า
สติ น่ะ ต้องเป็นสัมมาสติ เท่านั้น ค่ะ

สติชุ่ยๆ สติๆๆ แต่ไม่เป็นสัมมาสติ
เรยเป็นมิจฉาปฎิบัติ ค่ะ

และมั่วอีกแล้วว่าไม่จำกัดขอบเขต

พระธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าแสดง ทั้งสมถะ ทั้งวิปัสสนา จำกัดขอบเขตในการปฎิบัติ
ลงในปรมัตถ์ ในอริยะสัจ ในไตรลักษณ์เท่านั้น ค่ะ




ที่ว่า

อ้างคำพูด:
ส่วนใน วิปัสสนา ใช้อารมณ์ได้ทุกอย่างไม่จำกัด สุดแต่อะไรปรากฏขึ้นให้พิจารณาและอะไรก็ตามที่จะให้เห็นความจริง (สรุปลงได้ทั้งหมดใน กาย เวทนา จิต ธรรม หรือในนามและรูป



รูปภาพ


ส่วนการเจริญวิปัสสนา (ปัญญา) ก็ใช้อาการท้องพอง กับ ท้องยุบ หรือลมเข้าออกทางจมูกนั่นแหละ แต่ไม่จำกัดวงอยู่แค่ ลมเข้ากับลมออกเท่านั้น หรือ แค่อาการพอง กับ อาการยุบ เท่านั้น (นี้ = กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน) คือว่า ขณะนั้น นั้น สิ่งใดอารมณ์เกิดกระทบความรู้สึก ไม่ว่าจะสุขจะทุกข์จะเฉยๆ (= เวทนานุปัสสนา) ก็ดี กำหนดรู้มันด้วย รู้เป็นสุข ก็ สุขหนอๆ เป็นต้น

ขณะนั้น จิตเกิดราคะ โทสะ เป็นต้น แทรกเข้ามา ก็กำหนดรู้ไปตามที่มันเกิดมันเป็น (= จิตตานุปัสสนา)

ขณะนั้น เกิดอาการฟุ้งซ่าน, ง่วงเหงาหาวนอน เป็นต้น ก็ให้กำหนดรู้ตามที่รู้สึก ฟุ้งซ่านหนอ ง่วงหนอๆ เป็นต้น (= ธัมมานุปัสสนา)

กำลังปฏิบัติเห็นนั่นเห็นนี่ ก็กำหนดรู้ด้วย เห็นหนอๆๆๆ

ได้ยินเสียงอะไรก็แล้วแต่ เสียงหนอๆๆๆ

ได้กลิ่นอะไรก็แล้วแต่ กลิ่นหนอ เป็นต้น เช่นนี้แหละเขากำลังเจริญวิปัสสนาปัญญา ตามหลักที่ว่านี้

ส่วนในวิปัสสนา ใช้อารมณ์ได้ทุกอย่างไม่จำกัด สุดแต่อะไรปรากฏขึ้นให้พิจารณาและอะไรก็ตามที่จะให้เห็นความจริง (สรุปลงได้ทั้งหมดใน กาย เวทนา จิต ธรรม หรือในนามและรูป


อนึ่ง พึงโฟกัสที่อารมณ์ซึ่งกระทบความรู้สึก เช่น ขณะนั้น รู้สึกกลัว ให้ว่า กลัวหนอๆๆๆ โฟกัสที่ความรู้สึกกลัว ไม่ใช่โฟกัสที่ "หนอ" ไม่ใช่เลย กลัวหนอๆๆ ดังนี้เป็นต้น อย่าเลี่ยงหนีความคิดความรู้สึก ว่าไปตรงๆปักจิตลงไปใต้ราวนมด้านซ้ายตรงหัวใจ กลัวหนอๆๆๆๆๆ

ครบประเด็นแล้วนะ มีอะไรแย้งอีกว่ามา



555

เมสอนลุงกรัชกาย มาหลายเดือนแล้วนะคะ ไม่รู้จักจำ

วิปัสสนาแบบนั้น ผิดๆๆๆๆ น่ะคะ
เข้าใจผิดๆๆ
เพราะวิปัสสนาที่แท้จริง ไม่ได้มีกายเวทนาจิต และธรรม เป็นอารณ์
แต่ มีปรมัตถ์ ของอนิจจลักษณะ ทุกขลักษณะ และ อนัตตลักษณะ
ของกายเวทนา จิตธรรม เป็นอารมณ์ เท่านั้น
ไม่ใช่อารมณ์ตะพึดตะพือ ไม่จำกัด

อาการหลัวหนอๆๆ ที่ว่าเป็นบัญญัติ

นี่ยังไม่ได้เรียกว่า เป็นสติปัฎฐาน ไม่ได้เรียกว่า เป็นวิปัสสนาเรยค่ะ 5555


เพราะลุงกรัชกาย ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม ไม่ได้เรียนพระปริยัติ เรยตื้นเขินหนอๆๆ จริงๆ


อ้างคำพูด:
เพราะวิปัสสนาที่แท้จริง ไม่ได้มีกาย เวทนา จิต และธรรม เป็นอารณ์

แต่ มีปรมัตถ์ ของอนิจจลักษณะ ทุกขลักษณะ และ อนัตตลักษณะ ของกายเวทนา จิตธรรม เป็นอารมณ์ เท่านั้น

ไม่ใช่อารมณ์ตะพึดตะพือ ไม่จำกัด

อาการหลัวหนอๆๆ ที่ว่าเป็นบัญญัติ


"พูดเลยทำ" "พูดแบบมโนธรรมแต่ไม่ทำ " อ่านทวนหลายๆรอบ จนกว่าจะเก็ตคำพูด อิอิ

ขณะนั้น รู้สึกกลัว ความกลัวใช่จิตไหม? มีคำถามว่า ที่พูดแล้ว ได้เห็นอนิจจะ ทุกขะ และอนัตตะของความรู้สึกกลัวไหม ถามตนเอง แล้วตอบตัวเองสิ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2018, 10:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กระทู้นี้ก็อีก

แสดงว่า คุณลุงกรัชกาย ไม่ได้เรียนพระปริยัติ เรยไม่รู้ว่า
อาหารน่ะ มี 4 ประเภท

คือ



1 กพฬีกาอาหาร

2 ผัสสาหาร

3 มโนสัญเจตนาหาร

4 วิญญาณอาหาร



อาหาร ปัจจัยอันนำมาซึ่งผล, เครื่องค้ำจุนชีวิต, เครื่องหล่อเลี้ยงชีวิต มี ๔ คือ

๑. กวฬิงการาหาร อาหารคือคำข้าว

๒.ผัสสาหาร อาหารคือผัสสะ

๓. มโนสัญเจตนาหาร อาหารคือมโนสัญเจตนา

๔. วิญญาณาหาร อาหารคือวิญญาณ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2018, 10:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กวฬิงการาหาร อาหารคือคำข้าว ได้แก่ อาหารที่กลืนกินเข้าไปหล่อเลี้ยงร่างกาย, อาหารที่เป็นวัตถุ

ผัสสาหาร อาหารคือผัสสะ, ผัสสะเป็นอาหาร คือเป็นปัจจัยอุดหนุนหล่อเลี้ยงให้เกิดเวทนา ได้แก่ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก และวิญญาณกระทบกัน ทำให้เกิดเวทนา คือ สุขบ้าง ทุกข์บ้าง เป็นอุเบกขาบ้าง

มโนสัญเจตนาหาร ความจงใจเป็นอาหาร เพราะเป็นปัจจัยให้เกิดกรรม คือ ทำให้พูดให้คิด ให้ทำการต่างๆ

วิญญาณาหาร อาหารคือวิญญาณ, วิญญาณเป็นอาหารคือเป็นปัจจัยอุดหนุนหล่อเลี้ยงให้เกิดนามรูป

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2018, 16:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กวฬิงการาหาร อาหารคือคำข้าว ได้แก่ อาหารที่กลืนกินเข้าไปหล่อเลี้ยงร่างกาย, อาหารที่เป็นวัตถุ

ผัสสาหาร อาหารคือผัสสะ, ผัสสะเป็นอาหาร คือเป็นปัจจัยอุดหนุนหล่อเลี้ยงให้เกิดเวทนา ได้แก่ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก และวิญญาณกระทบกัน ทำให้เกิดเวทนา คือ สุขบ้าง ทุกข์บ้าง เป็นอุเบกขาบ้าง

มโนสัญเจตนาหาร ความจงใจเป็นอาหาร เพราะเป็นปัจจัยให้เกิดกรรม คือ ทำให้พูดให้คิด ให้ทำการต่างๆ

วิญญาณาหาร อาหารคือวิญญาณ, วิญญาณเป็นอาหารคือเป็นปัจจัยอุดหนุนหล่อเลี้ยงให้เกิดนามรูป


555
ถ้าเมไม่บอก คงไปหามาตัดแปะไม่เจอ

เพราะลุงกรัชกายไม่ได้เรียนปริยัติ ไม่ได้เรียนพระอภิธรรมมา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2018, 19:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กวฬิงการาหาร อาหารคือคำข้าว ได้แก่ อาหารที่กลืนกินเข้าไปหล่อเลี้ยงร่างกาย, อาหารที่เป็นวัตถุ

ผัสสาหาร อาหารคือผัสสะ, ผัสสะเป็นอาหาร คือเป็นปัจจัยอุดหนุนหล่อเลี้ยงให้เกิดเวทนา ได้แก่ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก และวิญญาณกระทบกัน ทำให้เกิดเวทนา คือ สุขบ้าง ทุกข์บ้าง เป็นอุเบกขาบ้าง

มโนสัญเจตนาหาร ความจงใจเป็นอาหาร เพราะเป็นปัจจัยให้เกิดกรรม คือ ทำให้พูดให้คิด ให้ทำการต่างๆ

วิญญาณาหาร อาหารคือวิญญาณ, วิญญาณเป็นอาหารคือเป็นปัจจัยอุดหนุนหล่อเลี้ยงให้เกิดนามรูป


555
ถ้าเมไม่บอก คงไปหามาตัดแปะไม่เจอ

เพราะลุงกรัชกายไม่ได้เรียนปริยัติ ไม่ได้เรียนพระอภิธรรมมา


จ้ะทูลหัว :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ต.ค. 2018, 22:57 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อิอิ ต่อ


พูดอีกอย่างหนึ่งว่า การฝึกสติ ก็เพื่อใช้ปัญญาได้เต็มที่ หรือเป็นการฝึกปัญญาไปด้วยนั่นเอง
ในภาษาของการปฏิบัติธรรม เมื่อพูดถึงสติ ก็มักเล็งและรวมถึงสัมปชัญญะที่ควบอยู่ด้วย และสติจะมีกำลังกล้าแข็ง หรือชำนาญคล่องแคล่วขึ้นได้ ก็เพราะมีปัญญาร่วมทำงาน *

ปัญญาที่ทำงานร่วมอยู่กับสติในกิจทั่วๆไป มักมีลักษณะอาการที่เรียกว่าสัมปชัญญะ ในขั้นนี้ ปัญญายังดูคล้ายเป็นตัวประกอบ คอยร่วมมือและประสานงานอยู่กับสติ การพูดจากล่าวขานมักเพ่งเล็งไปที่สติ เอาสติเป็นตัวหลักหรือตัวเด่น
แต่ในขั้นที่ใช้ปัญญาพินิจพิจารณาอย่างจริงจัง ความเด่นจะไปอยู่ที่ปัญญา สติจะเป็นเหมือนตัวที่คอยรับใช้ปัญญา ปัญญาที่ทำงานในระดับนี้ เช่นที่เรียกว่า ธรรมวิจัย ในโพชฌงค์ ๗ ประการ เป็นต้น


อ้างอิงที่ *

* สติเกิดร่วมกับปัญญา จึงจะมีกำลัง ขาดปัญญา ย่อมอ่อนกำลัง (ม.อ.3/28 ฯลฯ)
ปัญญาปราศจากสติ ไม่มีเลย (วิสุทธิ.ฎีกา 1/302)
ผู้ปราศจากสติ ย่อมไม่มีอนุปัสสนา (ที.อ.2/474 ฯลฯ)
พูดถึงสติอย่างเดียวเล็งถึงปัญญาด้วย (องฺ.อ.3/127 ฯลฯ)


อ๊ะจ๊าก
เพราะลุงกรัชกายไม่ได้เรียนพระอภิธรรม เรยไม่รู้ว่า

สติเจตสิก กะปัญญาเจตสิก ต้องเกิดร่วมกะกุศลเจตสิกในองค์ของอริยะมรรค เท่านั้น ค่ะ

ไม่งั้น ไปทำชั่ว แหละค่ะ




อ่อ ผมเพิ่งรู้ว่ามรรคจิตก็เป็นกุศลจิต เจตสิกย่อมเกิดขึ้นกับจิต เจตสิกในองค์ของอริยะมรรค ก็คือมรรคจิตใช่ป่าวครับ
..ผมเข้าใจผิดมาตลอดว่า มรรคจิต ไม่เป็นทั้งกุศล และ อกุศล :b18: :b18: :b18:

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ต.ค. 2018, 00:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อิอิ ต่อ


พูดอีกอย่างหนึ่งว่า การฝึกสติ ก็เพื่อใช้ปัญญาได้เต็มที่ หรือเป็นการฝึกปัญญาไปด้วยนั่นเอง
ในภาษาของการปฏิบัติธรรม เมื่อพูดถึงสติ ก็มักเล็งและรวมถึงสัมปชัญญะที่ควบอยู่ด้วย และสติจะมีกำลังกล้าแข็ง หรือชำนาญคล่องแคล่วขึ้นได้ ก็เพราะมีปัญญาร่วมทำงาน *

ปัญญาที่ทำงานร่วมอยู่กับสติในกิจทั่วๆไป มักมีลักษณะอาการที่เรียกว่าสัมปชัญญะ ในขั้นนี้ ปัญญายังดูคล้ายเป็นตัวประกอบ คอยร่วมมือและประสานงานอยู่กับสติ การพูดจากล่าวขานมักเพ่งเล็งไปที่สติ เอาสติเป็นตัวหลักหรือตัวเด่น
แต่ในขั้นที่ใช้ปัญญาพินิจพิจารณาอย่างจริงจัง ความเด่นจะไปอยู่ที่ปัญญา สติจะเป็นเหมือนตัวที่คอยรับใช้ปัญญา ปัญญาที่ทำงานในระดับนี้ เช่นที่เรียกว่า ธรรมวิจัย ในโพชฌงค์ ๗ ประการ เป็นต้น


อ้างอิงที่ *

* สติเกิดร่วมกับปัญญา จึงจะมีกำลัง ขาดปัญญา ย่อมอ่อนกำลัง (ม.อ.3/28 ฯลฯ)
ปัญญาปราศจากสติ ไม่มีเลย (วิสุทธิ.ฎีกา 1/302)
ผู้ปราศจากสติ ย่อมไม่มีอนุปัสสนา (ที.อ.2/474 ฯลฯ)
พูดถึงสติอย่างเดียวเล็งถึงปัญญาด้วย (องฺ.อ.3/127 ฯลฯ)


อ๊ะจ๊าก
เพราะลุงกรัชกายไม่ได้เรียนพระอภิธรรม เรยไม่รู้ว่า

สติเจตสิก กะปัญญาเจตสิก ต้องเกิดร่วมกะกุศลเจตสิกในองค์ของอริยะมรรค เท่านั้น ค่ะ

ไม่งั้น ไปทำชั่ว แหละค่ะ




อ่อ ผมเพิ่งรู้ว่ามรรคจิตก็เป็นกุศลจิต เจตสิกย่อมเกิดขึ้นกับจิต เจตสิกในองค์ของอริยะมรรค ก็คือมรรคจิตใช่ป่าวครับ
..ผมเข้าใจผิดมาตลอดว่า มรรคจิต ไม่เป็นทั้งกุศล และ อกุศล :b18: :b18: :b18:



ไม่ใช่แล้วค่ะ
ไปปนกันมั่วแล้ว

เจตสิกในองค์อริยะมรรคเป็นกุศลจิต เป็นสัมมาปัญญาเบื้องต้นในการปฎิบัติในเดินในอริยะมรรค

แต่ยังไม่ถึงอริยะมรรคจิต มรรคจิตนั้นทำให้เป็นผลค่ะ
เป็นกุศลจิตขั้นสูง ทำหน้าที่ดับกิเลส มีนิพพานเป้นอารมณ์
เรียกว่าเป็นโลกุตระกุศลจิตค่ะ

การเกิดขึ้นของมรรคจิต ทำให้ผลจิตเกิดขึ้น อริยะมรรคจิต
ทำให้ถึงความเป็นอริยะเจ้าระดับต่างๆค่ะ

มีสี่

คือ

โสดาบันมรรคจิต
สกิทามีมรรคจิต
อนาคามีมรรคจิต
และอรหัตตมรรคจิต



โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ต.ค. 2018, 01:55 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:

ไม่ใช่แล้วค่ะ
ไปปนกันมั่วแล้ว

เจตสิกในองค์อริยะมรรคเป็นกุศลจิต เป็นสัมมาปัญญาเบื้องต้นในการปฎิบัติในเดินในอริยะมรรค

แต่ยังไม่ถึงอริยะมรรคจิต มรรคจิตนั้นทำให้เป็นผลค่ะ
เป็นกุศลจิตขั้นสูง ทำหน้าที่ดับกิเลส มีนิพพานเป้นอารมณ์
เรียกว่าเป็นโลกุตระกุศลจิตค่ะ

การเกิดขึ้นของมรรคจิต ทำให้ผลจิตเกิดขึ้น อริยะมรรคจิต
ทำให้ถึงความเป็นอริยะเจ้าระดับต่างๆค่ะ

มีสี่

คือ

โสดาบันมรรคจิต
สกิทามีมรรคจิต
อนาคามีมรรคจิต
และอรหัตตมรรคจิต




อ่อที่กล่าวถึงไม่ใช่มรรคจิตใช่ไหมครับ คือผมไม่รู้ธรรมอะครับ ดังนี้ผมจึงเห็นว่าท่านควรกล่าวว่า กุศลจิตเป็นอาหารขององค์อริยะมรรค เป็นเหตุแห่งสุจริต ๓ จะดีกว่าไหมครับ (เมื่อมีกุศลเจตสิก ดวงจิตที่เกิดขึ้นย่อมเป็นไปในกุศลตามวิถีจิต ไม่ว่าจะเมตตาก็ดี กรุณาก็ดี มุทิตาก็ดี ทานก็ดี อย่างนี้เป็นต้น จึงชื่อว่ากุศลจิต ใช่ไหมครับ) หากใช้คำผิดนี่ความหายและการตีความผิดเลยนะครับ เหมือนพระในสมัยพุทธกาลที่ ฟัง จำ ตีความหมายของคำว่า วิญญาณ แล้วมาใช้ในความหมายที่ผิด จนพระบรมศาสดาตรัสว่าโมฆะบุรุษ

เพราะถ้าใช้คำว่าเจตสิกของอริยะมรรค เจตสิกมันคือสิ่งที่เกิดประกอบจิต ปรุงแต่งจิตให้เกิดขึ้นรับรู้สัมผัสความรู้สึกอารมณ์ต่างๆเป็นดวงจิตเกิดขึ้น นี่ก็เป็นมรรคจิตไปแล้ว
(กล่าวคือ เจตสิกเป็นสังขารตัวหนึ่งนั่นเอง กุศลเจตสิก สติเจตสิก สมาธิเจตสิก โลภะเจตสิก โทสะเจตสิก โมหะเจตสิก ต่างก็เป็นสังขารเหมือนกันทั้งสิ้น ต่างกันเพียงหน้าที่คุณลักษณะ อาการ สภาวะที่เกิดขึ้นมีก็เหมือนกันเพราะมีเหตุให้เกิดขึ้น สภาวะที่ตั้งอยู่ก็เหมือนกันเพราะมีปัจจัยสืบต่อ สภาวะที่ดับไปก็เหมือนกันเพราะเหตุปัจจัยที่ไม่มีสืบต่อ ที่ต่างกันก็แค่เป็นกุศล หรืออกุศลเท่านั้น สิ่งใดควรเสพย์ สิ่งใดไม่ควรเสพย์ ใช่ไหมครับ)


หรือในพระอภิธรรม 7 คัมภีร์ท่านกล่าวไปแบบนั้นครับ ผมไม่รู้นะครับ เพราะผมยังรู้น้อยความสามารถยังไม่ถึงการท่องจำอภิธรรมได้ครับ

---------------------------

แต่โดยส่วนตัวผมไม่ดูถูกปัญญานะครับ แต่เห็นในมุมมองหนึ่ง อีกด้านนะครับซึ่งเป็นเพียงความเห็นเท่านั้น โดยผมกล่าวแบบคนไม่รู้ธรรมนะว่า..

- ที่จริงแล้วพระอภิธรรมนี้ท่านรจนาไว้ เพื่อให้เข้าใจตรงกันในสภาวะจิตใช่ไหมครับ
- ส่วนการนำมาใช้งานจริง ก็ไม่ต้องไปคิดจำหรือเพ่งนับกระแสจิต หรือวิถีจิตใช่ไหมครับ
- เมื่อรู้สิ่งใดก่อน เข้าถึงสัมผัสอารมณ์ ดวงจิตใดได้ก่อนก็ให้รู้ธรรมนั้นว่าควรเสพย์หรือควรละ กุศลจิตเกิดก็รู้ว่าเป็นกุศล อกุศลจิตเกิดก็รู้ว่าเป็นอกุศลจิต เหตุของจิตนั้นเกิดจากสิ่งใด
..อุปมาเหมือนโสภณจิต เกิดมีได้เพราะอกุศลจิตดับ จิตไม่มีอกุศลอย่างหยาบเกิดขึ้นทำให้จิตเบิกบานผ่องใส ช่วงขณะนั้นไม่มีเหตุสืบต่อกิเลสอกุศลธรรมทั้งปวง ซึ่งถ้าไปตามหาวิถีจิตอย่างไรเราก็คงไม่ทันพิสูจน์ได้ยาก แต่เราสามารถรับรู้ได้ทันทีว่า เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งใดเป็นเหตุ สิ่งใดจึงสืบต่อผล จิตกระทำสิ่งใด อะไรเป็นเหตุ อะไรเกิด อะไรดับ จิตจึงเกิดมีสภาวะจิตอย่างนั้น ทำให้เห็นแจ้งชัดในสิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้ดีแล้วนั้น
- ส่วนความต่อเนื่องไม่ก่อนไม่หลัง ที่เรียกว่า สันตะตินี้ ผู้แน่ชัดจริง คือ พระพุทธเจ้าเท่านั้น เพราะสุดท้ายแล้ว การเข้าถึงแท้จริงแล้วคือ จิตมีกำลังทำกิจอยู่ท่ามกลางสังขาร ไม่ข้อง ไม่แวะ ไม่เสพย์ ไม่อ่อนไหวไหลตาม เพราะอาศัยมรรคสามัคคีกัน เกิดเห็นเป็นสังขารุเปกขา ความสงบ ว่าง นิ่งเฉยต่อสังขารทั้งปวง ไม่ยึดเกาะ อิ่ม คลาย ตัด ถอน แบบนี้ไหมครับ

ผมไม่รู้ธรรมนะครับ คงพูดตามท่านที่เรียนปริยัติมาไม่ได้ คงพูดในแบบที่ตนเข้าใจมาแนวนี้อะครับ ผมเชื่อว่าทุกอย่างที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนดีหมด สามารถใช้ได้ให้ผลได้ไม่จำกัดกาล อยู่ที่ปัญญาของเราจะมีเหตุสะสมบารมีมาให้เข้าถึงได้มากหรือน้อยเท่านั้นเอง ดังนั้นอยู่ที่กรรมปรุงแต่งมา ผมก็ไม่เห็นความจำเป็นไรๆที่จะกล่าวว่าใครด้อย ใครต่ำ ใครเหนือใครในธรรมได้ เพราะศาสนาเดียวกัน พระพุทธเจ้าเป็นพระศาสดาเหมือนกัน จะกล่าวได้ก็แต่ว่า..บุคคลนี้ๆอบรมสะสมบารมีมาดีแล้วเข้าถึงไวแจ้งชัดเห็นจริง บุคคลนี้ยังอบรมสะสมบารมีมาน้อยยังไม่พอให้แสดงผล จึงยังมีกรรมชั่วบดบังให้เข้าถึงธรรมนี้ๆได้ยาก ต้องใช้ความเพียร อดทนอบรมให้มากเพื่อให้เต็มผล ซึ่งตรงนี้คนทีสูงกว่าถึงแล้วมักจะมีจิตเมตตาแนะนำผ๔้ด้อยกว่าตนด้วยดี อันเป็นบารมีทาน เมตตาบารมี ของผู้ให้ความเอื้อเฟื้อนันเอง

หากผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ด้วยนะครับ มีแนวทางแนะนำให้ธรรมผมยิ่งๆขึ้นอย่างไรผมยินดีน้อมมาพิจารณาเสมอครับ ขอบพระคุณอย่างสูงครับ

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 พ.ย. 2018, 01:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
โลกสวย เขียน:

ไม่ใช่แล้วค่ะ
ไปปนกันมั่วแล้ว

เจตสิกในองค์อริยะมรรคเป็นกุศลจิต เป็นสัมมาปัญญาเบื้องต้นในการปฎิบัติในเดินในอริยะมรรค

แต่ยังไม่ถึงอริยะมรรคจิต มรรคจิตนั้นทำให้เป็นผลค่ะ
เป็นกุศลจิตขั้นสูง ทำหน้าที่ดับกิเลส มีนิพพานเป้นอารมณ์
เรียกว่าเป็นโลกุตระกุศลจิตค่ะ

การเกิดขึ้นของมรรคจิต ทำให้ผลจิตเกิดขึ้น อริยะมรรคจิต
ทำให้ถึงความเป็นอริยะเจ้าระดับต่างๆค่ะ

มีสี่

คือ

โสดาบันมรรคจิต
สกิทามีมรรคจิต
อนาคามีมรรคจิต
และอรหัตตมรรคจิต






เพราะถ้าใช้คำว่าเจตสิกของอริยะมรรค เจตสิกมันคือสิ่งที่เกิดประกอบจิต ปรุงแต่งจิตให้เกิดขึ้นรับรู้สัมผัสความรู้สึกอารมณ์ต่างๆเป็นดวงจิตเกิดขึ้น นี่ก็เป็นมรรคจิตไปแล้ว
(กล่าวคือ เจตสิกเป็นสังขารตัวหนึ่งนั่นเอง กุศลเจตสิก สติเจตสิก สมาธิเจตสิก โลภะเจตสิก โทสะเจตสิก โมหะเจตสิก ต่างก็เป็นสังขารเหมือนกันทั้งสิ้น ต่างกันเพียงหน้าที่คุณลักษณะ อาการ สภาวะที่เกิดขึ้นมีก็เหมือนกันเพราะมีเหตุให้เกิดขึ้น สภาวะที่ตั้งอยู่ก็เหมือนกันเพราะมีปัจจัยสืบต่อ สภาวะที่ดับไปก็เหมือนกันเพราะเหตุปัจจัยที่ไม่มีสืบต่อ ที่ต่างกันก็แค่เป็นกุศล หรืออกุศลเท่านั้น สิ่งใดควรเสพย์ สิ่งใดไม่ควรเสพย์ ใช่ไหมครับ)


หรือในพระอภิธรรม 7 คัมภีร์ท่านกล่าวไปแบบนั้นครับ ผมไม่รู้นะครับ เพราะผมยังรู้น้อยความสามารถยังไม่ถึงการท่องจำอภิธรรมได้ครับ

---------------------------

แต่โดยส่วนตัวผมไม่ดูถูกปัญญานะครับ แต่เห็นในมุมมองหนึ่ง อีกด้านนะครับซึ่งเป็นเพียงความเห็นเท่านั้น โดยผมกล่าวแบบคนไม่รู้ธรรมนะว่า..

- ที่จริงแล้วพระอภิธรรมนี้ท่านรจนาไว้ เพื่อให้เข้าใจตรงกันในสภาวะจิตใช่ไหมครับ
- ส่วนการนำมาใช้งานจริง ก็ไม่ต้องไปคิดจำหรือเพ่งนับกระแสจิต หรือวิถีจิตใช่ไหมครับ
- เมื่อรู้สิ่งใดก่อน เข้าถึงสัมผัสอารมณ์ ดวงจิตใดได้ก่อนก็ให้รู้ธรรมนั้นว่าควรเสพย์หรือควรละ กุศลจิตเกิดก็รู้ว่าเป็นกุศล อกุศลจิตเกิดก็รู้ว่าเป็นอกุศลจิต เหตุของจิตนั้นเกิดจากสิ่งใด
..อุปมาเหมือนโสภณจิต เกิดมีได้เพราะอกุศลจิตดับ จิตไม่มีอกุศลอย่างหยาบเกิดขึ้นทำให้จิตเบิกบานผ่องใส ช่วงขณะนั้นไม่มีเหตุสืบต่อกิเลสอกุศลธรรมทั้งปวง ซึ่งถ้าไปตามหาวิถีจิตอย่างไรเราก็คงไม่ทันพิสูจน์ได้ยาก แต่เราสามารถรับรู้ได้ทันทีว่า เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งใดเป็นเหตุ สิ่งใดจึงสืบต่อผล จิตกระทำสิ่งใด อะไรเป็นเหตุ อะไรเกิด อะไรดับ จิตจึงเกิดมีสภาวะจิตอย่างนั้น ทำให้เห็นแจ้งชัดในสิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้ดีแล้วนั้น
- ส่วนความต่อเนื่องไม่ก่อนไม่หลัง ที่เรียกว่า สันตะตินี้ ผู้แน่ชัดจริง คือ พระพุทธเจ้าเท่านั้น เพราะสุดท้ายแล้ว การเข้าถึงแท้จริงแล้วคือ จิตมีกำลังทำกิจอยู่ท่ามกลางสังขาร ไม่ข้อง ไม่แวะ ไม่เสพย์ ไม่อ่อนไหวไหลตาม เพราะอาศัยมรรคสามัคคีกัน เกิดเห็นเป็นสังขารุเปกขา ความสงบ ว่าง นิ่งเฉยต่อสังขารทั้งปวง ไม่ยึดเกาะ อิ่ม คลาย ตัด ถอน แบบนี้ไหมครับ

ผมไม่รู้ธรรมนะครับ คงพูดตามท่านที่เรียนปริยัติมาไม่ได้ คงพูดในแบบที่ตนเข้าใจมาแนวนี้อะครับ ผมเชื่อว่าทุกอย่างที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนดีหมด สามารถใช้ได้ให้ผลได้ไม่จำกัดกาล อยู่ที่ปัญญาของเราจะมีเหตุสะสมบารมีมาให้เข้าถึงได้มากหรือน้อยเท่านั้นเอง ดังนั้นอยู่ที่กรรมปรุงแต่งมา ผมก็ไม่เห็นความจำเป็นไรๆที่จะกล่าวว่าใครด้อย ใครต่ำ ใครเหนือใครในธรรมได้ เพราะศาสนาเดียวกัน พระพุทธเจ้าเป็นพระศาสดาเหมือนกัน จะกล่าวได้ก็แต่ว่า..บุคคลนี้ๆอบรมสะสมบารมีมาดีแล้วเข้าถึงไวแจ้งชัดเห็นจริง บุคคลนี้ยังอบรมสะสมบารมีมาน้อยยังไม่พอให้แสดงผล จึงยังมีกรรมชั่วบดบังให้เข้าถึงธรรมนี้ๆได้ยาก ต้องใช้ความเพียร อดทนอบรมให้มากเพื่อให้เต็มผล ซึ่งตรงนี้คนทีสูงกว่าถึงแล้วมักจะมีจิตเมตตาแนะนำผ๔้ด้อยกว่าตนด้วยดี อันเป็นบารมีทาน เมตตาบารมี ของผู้ให้ความเอื้อเฟื้อนันเอง

หากผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ด้วยนะครับ มีแนวทางแนะนำให้ธรรมผมยิ่งๆขึ้นอย่างไรผมยินดีน้อมมาพิจารณาเสมอครับ ขอบพระคุณอย่างสูงครับ


นั่นแน้ คุณแค่อากาศ ยอมรับมาว่า ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม ไม่ได้เรียนปริยัติ

ท่องจำก็ไม่ได้ เรยเข้าใจก็ผิดๆๆๆ รู้มาผิดๆๆๆ
เขลาเบาปัญญา สมเป็นโมฆะบุรุษโดยแท้หล่ะค่ะ

ไม่รู้ว่า มรรคจิต เกิดขึ้นแค่สี่หนในสังสารวัฎ เพื่อแสดงผลที่เกิด ในความเป็นพระอริยะบุคคล แต่ละระดับ
ไม่ใช่ กุศลเจตสิกทั่วไป ในอริยะมรรค

และก็เขลาซ้ำซากอีก
ที่ไม่รู้ว่า อกุศลจิต เป็นปัจจัยให้เกิดกุศลจิตได้ ด้วยอำนาจอามรัมมณปัจจัย และปกตูปตินิสยัปัจจัย
ตามที่พระพุทธองค์ทรงตรัสไว้ ในอุเทศของสมัตมหาปัฎฐาน แห่งพระอภิธรรม

และเขลาเบาปัญญาซ้ำซากต่ออีก กล่าวไม่ตรงตามพระอภิธรรม พระไตรปิฎก
ที่คุณแค่อากาศ ออกมากล่าวว่า "ว่าสันตะตินี้ ผู้แน่ชัดจริง คือ พระพุทธเจ้าเท่านั้น"

คำพูดคุณแค่อากาศ เชื่อถือไม่ได้ เพราะไม่ได้เรียนปริยัติ
จำมาผิดๆๆ ท่องมาผิดๆๆๆ อ่านมาผิดๆๆๆ และก็เดาอย่างผิดๆๆๆ

ที่ถูกต้อง คือ พระพุทธเจ้าเท่านั้น ที่เข้าถึงขนิกกะปัจจุบันแห่งจิตได้

ส่วนสันตติปัจจุบันแห่งจิต และอัทธาปัจจุบันแห่งจิต
สาวกของพระพุทธองค์ สามารถรู้ได้ค่ะ

คำพูดคุณ แค่อากาศ เรยเหมือนอากาศที่ผายลม เพราะไม่ตรงกับพระปริยัติ เชื่อถือไม่ได้
มั่วแหลกค่ะ

เม แนะนำนะคะ
ให้ไปเรียนปริยัติเบื้องต้นเสีย ให้ไปเรียนพระอภิธรรมซะ นะคะ ๆๆ
คริคริ




โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 พ.ย. 2018, 17:10 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ขอบพระคุณมากครับคุณเม ที่แนะนำครับ

ผมเชื่ออย่างยิ่งว่าระหว่างการสนทนาตอบกระทู้ของผมและคุณเม จะแสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่าง "คนที่รู้ธรรม กับ คนที่ถึงธรรม" ได้เป็นอย่างดีครับ ไม่ว่าจะลักษณะความเห็น ความคิด วาจา การกระทำ การดำรงตน ความเพียร ความระลึกได้ ความตั้งมั่น ความรู้แจ้งชัด เป็นประโยชน์อย่างสูงสำหรับคนที่แวะชมกระทู้นี้ครับ

ขอบคุณ คุณเมที่แสดงธรรมของคุณเมให้ได้รู้ครับ
Kiss Kiss Kiss

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 พ.ย. 2018, 18:30 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


ตอนนี้เอกอนกำลังนั่งมอง แดจาวู

:b32: :b32: :b32:

นั่งมอง แดจาวู ต่อเนื่องมาตั้งแต่เดือน มิ.ย.61

:b1: :b1: :b1:

เอกอนเคยคิดว่า ชีวิตคนเราดำเนินไปด้วยความ บังเอิญ/ความน่าจะเป็น

แต่ แดจาวู :b32: :b32: :b32: มันกลับมาหักล้างความเข้าใจเช่นนั้น

แดจาวู เป็นสิ่งเหมือนกับว่า เราเห็นแผนการที่ได้ถูกกำหนดเอาไว้

และเมื่อเราใช้ชีวิต และเราเดินตามข้อกำหนด แม้เราจะตั้งใจ หรือไม่ตั้งใจ รู้ตัว หรือไม่รู้ตัวก็ตาม
แม้เราจะปฏิเสธการรับรู้ก็ตาม เราก็จะได้พบกับสิ่งต่าง ๆ ที่ดำเนินไปตามแผนนั้น ๆ

:b1: :b1: :b1:

ว่าแต่แผนการนั้น ใครเป็นผู้กำหนด และได้กำหนดไว้ตอนไหน

:b1: :b1: :b1:

จริง ๆ เอกอนมีคำตอบทุกอย่างอยู่แล้วใน แดจาวู
แต่...มันเป็นจุดที่เอกอนเจอกับลำดับความเป็นไปที่ขัดแย้งน่ะ
จนยากที่จะปฏิเสธ และก็ยากที่จะยอมรับ.... :b32:

แดจาวู ของเอกอนอย่างเช่นว่า

:b32: สมมตินะสมมติ

แบบว่า สมมติว่าตอนเด็ก ๆ เอกอนนอนหลับไปแล้วอยู่ ๆ ก็ตื่นมากลางดึก
แล้วก็เดินลงไปนั่งคุยกับคณรุกขเทวดาที่อยู่ตรงศาลพระภูมิ
ท่านก็เล่าเรื่องราวมากมายให้ฟัง แล้วก็บอกว่า ในวันหนึ่งจะมีแดร๊คคิวล่ามาจากดาวดวงหนึ่ง
ที่อยู่อีกฟากของกาแลคซี่ เขาจะมาในรูปของคนปกติ แต่เขาจะพูดคำ "......."
ซึ่งเอกอนจะรู้ทันทีว่าเขามาจาก ดาวแดร็คคิวล่า ... :b32:
แล้วว....แล้ววว...แล้วววว...แล้ววววววว

แล้วอยู่มาวันหนึ่ง เอกอนก็ได้เจอกับสิ่งนั้น ที่บ่งบอกว่าเป็นแดร็คคิวล่า :b32:

เอกอนไม่สงสัย แต่ความตรึกมันตกลงไปสู่ ห้วงอะไรสักอย่าง ที่...

เหมือนกับเข้าไปอยู่ในนิยายวิทยาศาสตร์ลี้ลับ มิติคู่ขนาน ชีวิตในมิติที่ 4

ความเป็นไปในอีกระนาบที่อายตนะมนุษย์ปกติยากจะเข้าใจ ...

:b32: :b32: :b32:

มีเรื่องหนุก ๆ ให้ อ๊บซ์ เข้ามาแสดงความเห็นแล้ว

:b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 พ.ย. 2018, 21:06 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
ตอนนี้เอกอนกำลังนั่งมอง แดจาวู

:b32: :b32: :b32:

นั่งมอง แดจาวู ต่อเนื่องมาตั้งแต่เดือน มิ.ย.61

:b1: :b1: :b1:

เอกอนเคยคิดว่า ชีวิตคนเราดำเนินไปด้วยความ บังเอิญ/ความน่าจะเป็น

แต่ แดจาวู :b32: :b32: :b32: มันกลับมาหักล้างความเข้าใจเช่นนั้น

แดจาวู เป็นสิ่งเหมือนกับว่า เราเห็นแผนการที่ได้ถูกกำหนดเอาไว้

และเมื่อเราใช้ชีวิต และเราเดินตามข้อกำหนด แม้เราจะตั้งใจ หรือไม่ตั้งใจ รู้ตัว หรือไม่รู้ตัวก็ตาม
แม้เราจะปฏิเสธการรับรู้ก็ตาม เราก็จะได้พบกับสิ่งต่าง ๆ ที่ดำเนินไปตามแผนนั้น ๆ

:b1: :b1: :b1:

ว่าแต่แผนการนั้น ใครเป็นผู้กำหนด และได้กำหนดไว้ตอนไหน

:b1: :b1: :b1:

จริง ๆ เอกอนมีคำตอบทุกอย่างอยู่แล้วใน แดจาวู
แต่...มันเป็นจุดที่เอกอนเจอกับลำดับความเป็นไปที่ขัดแย้งน่ะ
จนยากที่จะปฏิเสธ และก็ยากที่จะยอมรับ.... :b32:

แดจาวู ของเอกอนอย่างเช่นว่า

:b32: สมมตินะสมมติ

แบบว่า สมมติว่าตอนเด็ก ๆ เอกอนนอนหลับไปแล้วอยู่ ๆ ก็ตื่นมากลางดึก
แล้วก็เดินลงไปนั่งคุยกับคณรุกขเทวดาที่อยู่ตรงศาลพระภูมิ
ท่านก็เล่าเรื่องราวมากมายให้ฟัง แล้วก็บอกว่า ในวันหนึ่งจะมีแดร๊คคิวล่ามาจากดาวดวงหนึ่ง
ที่อยู่อีกฟากของกาแลคซี่ เขาจะมาในรูปของคนปกติ แต่เขาจะพูดคำ "......."
ซึ่งเอกอนจะรู้ทันทีว่าเขามาจาก ดาวแดร็คคิวล่า ... :b32:
แล้วว....แล้ววว...แล้วววว...แล้ววววววว

แล้วอยู่มาวันหนึ่ง เอกอนก็ได้เจอกับสิ่งนั้น ที่บ่งบอกว่าเป็นแดร็คคิวล่า :b32:

เอกอนไม่สงสัย แต่ความตรึกมันตกลงไปสู่ ห้วงอะไรสักอย่าง ที่...

เหมือนกับเข้าไปอยู่ในนิยายวิทยาศาสตร์ลี้ลับ มิติคู่ขนาน ชีวิตในมิติที่ 4

ความเป็นไปในอีกระนาบที่อายตนะมนุษย์ปกติยากจะเข้าใจ ...

:b32: :b32: :b32:

มีเรื่องหนุก ๆ ให้ อ๊บซ์ เข้ามาแสดงความเห็นแล้ว

:b32:


นี้ก็...แดจาวู...รู้ว่าผมต้องมาอ่าน..ด้วยอะป้าว..? :b13: :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 พ.ย. 2018, 21:35 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


อาการไม่ชัดขนาด..เอกอน..

เรียกว่า..ยังบ้าไม่ถึงขั้น... :b32: :b32:

แค่..หันซ้ายคุยดีดี..หันขวาก็เปลี่ยนกลับมาอยู่โลกเหมือนเดิม..

อ้าว.เมื่อกี้..อยู่โลกไหนละหว้า..???

สงสัยแก่ไป..คงไม่พ้นอัลไซเมอร์

:b32: :b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 พ.ย. 2018, 22:19 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
อาการไม่ชัดขนาด..เอกอน..

เรียกว่า..ยังบ้าไม่ถึงขั้น... :b32: :b32:

แค่..หันซ้ายคุยดีดี..หันขวาก็เปลี่ยนกลับมาอยู่โลกเหมือนเดิม..

อ้าว.เมื่อกี้..อยู่โลกไหนละหว้า..???

สงสัยแก่ไป..คงไม่พ้นอัลไซเมอร์

:b32: :b32: :b32:


:b32: :b32: :b32:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 51 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร