วันเวลาปัจจุบัน 19 ก.ค. 2025, 00:03  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 215 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 11, 12, 13, 14, 15  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.ค. 2018, 10:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
ยกตัวอย่างคลิปนี้พูดคำของพระพุทธเจ้าแต่ไม่เข้าใจว่าตนไม่รู้
ฟังด้วยหูตนเองโดยใช้หลักกาลามสูตร10ไม่ว่าฟังจากใคร
ไม่ใช่ให้เชื่อเพราะ...ตำรา...ครูอาจารย์...ทำตามๆกัน
https://youtu.be/SK8MZqZ3lRw
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.ค. 2018, 20:09 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


คำพระสอน...

อ้างคำพูด:

อย่าเอาอารมณ์ของใครมาเป็นธุระของตนเอง ให้เห็นเป็นธรรมดาเสียทั้งหมดได้นั่นแหละดี จักได้ไม่ต้องเป็นทุกข์ เพราะแบกอารมณ์ของใคร และจงอย่าสนใจว่าใครผิดใครถูก ให้เห็นกรรมที่บังคับจิตของคนดีกว่า ไม่มีใครที่เขาคิดว่าตัวเขาผิดหรอกที่ทำไปอย่างนั้น ทุกคนต่างมีเหตุผลหรือทัศนะวิสัยของตนเองเป็นใหญ่ ยิ่งถือมากก็ยิ่งมากไปด้วยสักกายทิฏฐิ จุดนี้เราศึกษาไว้เป็นครู เตือนจิตเตือนใจของตนเอง อย่าเอาทัศนะวิสัยของตนเองมายึดมั่นถือมั่นเป็นอารมณ์ จักทำให้เกิดการตามใจกิเลสมากกว่าตามความเป็นจริง และเป็นทาสของตัณหาอย่างร้ายกาจด้วย



:b8: :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.ค. 2018, 20:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
คำพระสอน...

อ้างคำพูด:

อย่าเอาอารมณ์ของใครมาเป็นธุระของตนเอง ให้เห็นเป็นธรรมดาเสียทั้งหมดได้นั่นแหละดี จักได้ไม่ต้องเป็นทุกข์ เพราะแบกอารมณ์ของใคร และจงอย่าสนใจว่าใครผิดใครถูก ให้เห็นกรรมที่บังคับจิตของคนดีกว่า ไม่มีใครที่เขาคิดว่าตัวเขาผิดหรอกที่ทำไปอย่างนั้น ทุกคนต่างมีเหตุผลหรือทัศนะวิสัยของตนเองเป็นใหญ่ ยิ่งถือมากก็ยิ่งมากไปด้วยสักกายทิฏฐิ จุดนี้เราศึกษาไว้เป็นครู เตือนจิตเตือนใจของตนเอง อย่าเอาทัศนะวิสัยของตนเองมายึดมั่นถือมั่นเป็นอารมณ์ จักทำให้เกิดการตามใจกิเลสมากกว่าตามความเป็นจริง และเป็นทาสของตัณหาอย่างร้ายกาจด้วย



:b8: :b8: :b8:

ขอยืมตังค์หน่อยดิ...คริคริคริ
:b32: :b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.ค. 2018, 20:43 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๔ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๑
ธรรมสังคณีปกรณ์


[๖๗๐] ธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณ เป็นไฉน?
สัญโญชน์ ๓ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส.

[๖๗๑] บรรดาสัญโญชน์ ๓ นั้น สักกายทิฏฐิ เป็นไฉน?
ปุถุชนในโลกนี้ ผู้ไร้การศึกษา ไม่ได้เห็นพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า
ไม่ได้ฝึกฝนในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ได้เห็นสัตบุรุษไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไม่ได้ฝึกฝน
ในธรรมของสัตบุรุษ
ย่อมเห็นรูปเป็นตน หรือเห็นตนมีรูป เห็นรูปในตน เห็นตนในรูป
ย่อมเห็นเวทนาเป็นตน หรือเห็นตนมีเวทนา เห็นเวทนาในตน เห็นตนในเวทนา

ย่อมเห็นสัญญาเป็นตน หรือเห็นตนมีสัญญา เห็นสัญญาในตน เห็นตนในสัญญา

ย่อมเห็นสังขารเป็นตน หรือเห็นตนมีสังขาร เห็นสังขารในตน เห็นตนในสังขาร

ย่อมเห็นวิญญาณเป็นตน หรือเห็นตนมีวิญญาณ เห็นวิญญาณในตน เห็นตนในวิญญาณ

ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็นข้าศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คือทิฏฐิ ความยึดถือ ความยึดมั่น ความตั้งมั่น ความถือผิด ทางชั่ว ทางผิด ภาวะที่ผิด ลัทธิเป็นบ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาส มีลักษณะเช่นว่านี้ อันใด นี้เรียกว่า สักกายทิฏฐิ.


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.ค. 2018, 21:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
อ้างคำพูด:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๔ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๑
ธรรมสังคณีปกรณ์


[๖๗๐] ธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณ เป็นไฉน?
สัญโญชน์ ๓ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส.

[๖๗๑] บรรดาสัญโญชน์ ๓ นั้น สักกายทิฏฐิ เป็นไฉน?
ปุถุชนในโลกนี้ ผู้ไร้การศึกษา ไม่ได้เห็นพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า
ไม่ได้ฝึกฝนในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ได้เห็นสัตบุรุษไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไม่ได้ฝึกฝน
ในธรรมของสัตบุรุษ
ย่อมเห็นรูปเป็นตน หรือเห็นตนมีรูป เห็นรูปในตน เห็นตนในรูป
ย่อมเห็นเวทนาเป็นตน หรือเห็นตนมีเวทนา เห็นเวทนาในตน เห็นตนในเวทนา

ย่อมเห็นสัญญาเป็นตน หรือเห็นตนมีสัญญา เห็นสัญญาในตน เห็นตนในสัญญา

ย่อมเห็นสังขารเป็นตน หรือเห็นตนมีสังขาร เห็นสังขารในตน เห็นตนในสังขาร

ย่อมเห็นวิญญาณเป็นตน หรือเห็นตนมีวิญญาณ เห็นวิญญาณในตน เห็นตนในวิญญาณ

ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็นข้าศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คือทิฏฐิ ความยึดถือ ความยึดมั่น ความตั้งมั่น ความถือผิด ทางชั่ว ทางผิด ภาวะที่ผิด ลัทธิเป็นบ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาส มีลักษณะเช่นว่านี้ อันใด นี้เรียกว่า สักกายทิฏฐิ.

:b12:
คนที่เป็นน้ำเต็มแก้วไม่ยอมรับว่าตนไม่รู้ใครจะช่วยอะไรได้ไหมคะ
ก็ทำได้แค่ชี้ทางบอกทางกวักมือเรียกอยู่ว่ามานี่มาฟังมาดูทางนี้
เร็วๆเห็นเงาแสงสว่างส่องลงมาแต่ต้องเดินตามมาทางนี้ก็มีแต่ว่า
ไม่เชื่อหรอกแผนที่บอกไปทางนี้ทางนั้นมันตัน555ประมาทไหม
:b13:
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.ค. 2018, 23:00 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:

...

อ้างคำพูด:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓
ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค

๒. อุทุมพริกสูตร (๒๕)


[๒๔] นิโครธปริพาชกทูลถามว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ก็พระผู้มีพระภาค
ตรัสอุปกิเลสมากอย่างในการหน่ายบาปด้วยตบะที่บริบูรณ์แล้วอย่างนี้ อย่างไรเล่า ฯ
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรนิโครธะ บุคคลผู้มีตบะในโลกนี้ย่อมถือ
มั่นตบะ เขาเป็นผู้ดีใจ มีความดำริบริบูรณ์ด้วยตบะนั้น แม้ข้อที่ผู้มีตบะ ถือมั่นตบะ
ดีใจ มีความดำริบริบูรณ์ด้วยตบะนั้น นี้แล ย่อมเป็นอุปกิเลสแก่บุคคลผู้มีตบะ ฯ

ดูกรนิโครธะ คำอื่นที่ควรกล่าวยังมีอยู่อีก บุคคลผู้มีตบะย่อมถือมั่นตบะ
เขาย่อมยกตนข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น แม้ข้อที่ผู้มีตบะ ถือมั่นตบะ ยกตนข่มผู้อื่นด้วย
ตบะนั้น นี้แล ย่อมเป็นอุปกิเลสแก่บุคคลผู้มีตบะ ฯ

..............
...............
ดูกรนิโครธะ คำอื่นที่ควรกล่าวยังมีอยู่อีก บุคคลผู้มีตบะ ย่อมเป็นผู้
รุกรานสมณะหรือพราหมณ์อื่นแต่ที่ไหนๆ ว่า ก็ไฉน ผู้นี้เลี้ยงชีพด้วยวัตถุหลาย
อย่าง กินวัตถุทุกๆ อย่าง คือพืชเกิดแต่เหง้า พืชเกิดแต่ลำต้น พืชเกิดแต่ผล
พืชเกิดแต่ยอด พืชเกิดแต่เมล็ดเป็นที่ครบห้า ปลายฟันของผู้นี้คมประดุจสายฟ้า
คนทั้งหลายย่อมจำกันได้ด้วยวาทะว่าเป็นสมณะ แม้ข้อนี้แล ย่อมเป็นอุปกิเลสแก่
บุคคลผู้มีตบะ ฯ

ดูกรนิโครธะ คำอื่นที่ควรกล่าวยังมีอยู่อีก บุคคลผู้มีตบะเห็นสมณะหรือ
พราหมณ์อื่น ที่เขาสักการะ เคารพ นับถือ บูชาอยู่ในสกุลทั้งหลาย เขาดำริอย่างนี้ว่า
คนทั้งหลายย่อมสักการะ เคารพ นับถือ บูชา สมณะหรือพราหมณ์ชื่อนี้แล
ผู้เลี้ยงชีพด้วยวัตถุหลายอย่าง ในสกุลทั้งหลาย แต่ไม่สักการะ ไม่เคารพ ไม่นับถือ
ไม่บูชาเราผู้มีตบะ เลี้ยงชีพด้วยวัตถุเศร้าหมอง เขาเป็นผู้ให้ความริษยาและความตระ
หนี่เกิดขึ้นในสกุลทั้งหลาย ดังนี้ แม้ข้อนี้แล ย่อมเป็นอุปกิเลสแก่บุคคลผู้มีตบะ ฯ

ดูกรนิโครธะ คำอื่นที่ควรกล่าวยังมีอยู่อีก บุคคลผู้มีตบะย่อมเสพโทษอัน
ปกปิดบางอย่าง เขาถูกผู้อื่นถามว่า โทษนี้ควรแก่ท่านหรือ กล่าวโทษที่ไม่ควรว่าควร
กล่าวโทษที่ควรว่าไม่ควร เขาเป็นผู้กล่าวเท็จทั้งรู้อยู่ ดังนี้ แม้ข้อนี้แล ย่อมเป็น
อุปกิเลสแก่บุคคลผู้มีตบะ ฯ

ดูกรนิโครธะ คำอื่นที่ควรกล่าวยังมีอยู่อีก บุคคลผู้มีตบะ เมื่อพระตถาคต
หรือสาวกของพระตถาคตแสดงธรรมอยู่ ย่อมไม่ผ่อนตามปริยายซึ่งควรจะผ่อนตาม
อันมีอยู่ แม้ข้อนี้แล ย่อมเป็นอุปกิเลสแก่บุคคลผู้มีตบะ ฯ

ดูกรนิโครธะ คำอื่นที่ควรกล่าวยังมีอยู่อีก บุคคลผู้มีตบะเป็นผู้มักโกรธ
มักผูกโกรธ แม้ข้อนี้แล ย่อมเป็นอุปกิเลสแก่บุคคลผู้มีตบะ ฯ

ดูกรนิโครธะ คำอื่นที่ควรกล่าวยังมีอยู่อีก บุคคลผู้มีตบะเป็นผู้มีความ
ลบหลู่ ตีเสมอ ริษยา ตระหนี่ โอ้อวด มีมารยา กระด้าง ถือตัวจัด เป็นผู้มี
ความปรารถนาลามก ไปสู่อำนาจแห่งความปรารถนาอันลามก เป็นมิจฉาทิฐิ
ประกอบด้วยทิฐิอันดิ่งถึงที่สุด เป็นผู้ลูบคลำทิฐิเอง เป็นผู้ถือมั่น สละคืนได้ยาก
แม้ข้อนี้แล ย่อมเป็นอุปกิเลสแก่บุคคลผู้มีตบะ ฯ




ส่วนคนที่หน่ายบาปด้วยตบะได้นั้น...เป็นอย่างนี้..เป็นต้น

อ้างคำพูด:
[๒๕] ดูกรนิโครธะ บุคคลผู้มีตบะในโลกนี้ ย่อมถือมั่นตบะ เขาเป็นผู้
ไม่ดีใจ ไม่มีความดำริบริบูรณ์ ด้วยตบะนั้น ข้อที่ผู้มีตบะ ถือมั่นตบะ ไม่ดีใจ
ไม่มีความดำริบริบูรณ์ ด้วยตบะนั้น อย่างนี้ เขาย่อมเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น ฯ

ดูกรนิโครธะ คำอื่นที่ควรกล่าวยังมีอยู่อีก บุคคลผู้มีตบะ ย่อมถือมั่นตบะ
เขาย่อมไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น ด้วยตบะนั้น ... อย่างนี้ เขาย่อมเป็นผู้บริสุทธิ์
ในฐานะนั้น ฯ

ดูกรนิโครธะ คำอื่นที่ควรกล่าวยังมีอยู่อีก บุคคลผู้มีตบะ ย่อมถือมั่นตบะ
เขาย่อมไม่เมา ไม่ลืมสติ ย่อมไม่ถึงความเมา ด้วยตบะนั้น ... อย่างนี้ เขาย่อม
เป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น ฯ

ดูกรนิโครธะ คำอื่นที่ควรกล่าวยังมีอยู่อีก บุคคลผู้มีตบะ ย่อมถือมั่นตบะ
เขาให้ลาภสักการะและความสรรเสริญ เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาเป็นผู้ไม่ดีใจ
ไม่มีความดำริบริบูรณ์ด้วยลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น ... อย่างนี้ เขาย่อม
เป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น ฯ
ดูกรนิโครธะ คำอื่นที่ควรกล่าวยังมีอยู่อีก บุคคลผู้มีตบะ ย่อมถือมั่นตบะ
เขาให้ลาภสักการะและความสรรเสริญ เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาย่อมไม่ยกตน
ไม่ข่มผู้อื่น ด้วยลาภสักการะและความสรรเสริญนั้น ... อย่างนี้ เขาเป็นผู้บริสุทธิ์
ในฐานะนั้น ฯ

ดูกรนิโครธะ คำอื่นที่ควรกล่าวยังมีอยู่อีก บุคคลผู้มีตบะ ย่อมถือมั่นตบะ
ย่อมไม่ถึงส่วน ๒ ในโภชนะทั้งหลายว่า สิ่งนี้ควรแก่เรา สิ่งนี้ไม่ควรแก่เรา
ก็สิ่งใดแลไม่ควรแก่เขา เขาไม่มุ่งละสิ่งนั้นเสีย ส่วนสิ่งใดควรแก่เขา เขาไม่
กำหนัด ไม่ลืมสติ ไม่ติดสิ่งนั้น แลเห็นโทษ มีปัญญาคิดสลัดออก บริโภค
อยู่ อย่างนี้ เขาย่อมเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น ฯ




http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v ... 708&Z=1188


:b1: ...ท่านอ๊บซ์ เริ่มค้นหา หยิบยกพระสูตรมาแสดงเก่งขึ้นอย่างนี้ตั้งแต่เมื่อไรเนี๊ยะ ...

:b1: :b1: :b1:

อ่านแล้ว งดงาม พอให้เอกอนได้ใช้ไว้คอยสำรวจตนเอง ...

:b1:

:b8: :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.ค. 2018, 23:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
ภิกษุในธรรมวินัยเมื่อยินดีรับเงินใช้เงินทองอย่างคฤหัสถ์
และถ้ามีเหตุที่ทั้งคฤหัสถ์และบรรพชิตร่วมกันส่งเสริมกันผิดๆ
เข้าใจไหมคะว่าความจริงหนีไม่พ้นว่าพระพุทธศาสนาอันตรธานแล้ว
จากใจผู้ไม่รู้แม้เดี๋ยวนี้เองผู้ที่คิดว่าตนประเสริฐแต่ใช้เงินซื้อความสะดวก
มีเกินอัฏบริขาร8นั่นไม่ใช่ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้แล้วศาสนาจักอันตรธานแน่นอน
เพราะไม่มีผู้เงี่ยโสตลงสดับไม่ประพฤติตามพระธรรมและพระวินัยที่บัญญัติด้วยทศพลญาณ
:b13:
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2018, 20:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Kiss
ภิกษุในธรรมวินัยเมื่อยินดีรับเงินใช้เงินทองอย่างคฤหัสถ์
และถ้ามีเหตุที่ทั้งคฤหัสถ์และบรรพชิตร่วมกันส่งเสริมกันผิดๆ
เข้าใจไหมคะว่าความจริงหนีไม่พ้นว่าพระพุทธศาสนาอันตรธานแล้ว
จากใจผู้ไม่รู้แม้เดี๋ยวนี้เองผู้ที่คิดว่าตนประเสริฐแต่ใช้เงินซื้อความสะดวก
มีเกินอัฏบริขาร8นั่นไม่ใช่ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้แล้วศาสนาจักอันตรธานแน่นอน
เพราะไม่มีผู้เงี่ยโสตลงสดับไม่ประพฤติตามพระธรรมและพระวินัยที่บัญญัติด้วยทศพลญาณ
:b13:
:b32: :b32:


แล้วอัฐบริขารขอร้านสังฆภัณฑ์ได้ไหม ตอบ

1. ขอเขาได้

2. ต้องซื้อเขา

ตอบ ข้อไหน 1 หรือ 2

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2018, 05:17 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


คำพระสอน...

อ้างคำพูด:
รักษากำลังใจอย่าให้จิตตก เรื่องของใครก็เรื่องของใคร อย่านำเรื่องคนอื่นเข้ามาให้จิตเร่าร้อนไปด้วย
จงวางเฉยในกฎของกรรมลงเสียบ้าง แล้วจิตจักเป็นสุข เป็นจิตที่รู้อยู่ ไม่ดิ้นรนเดือดร้อนไปกับเรื่องราวของใครทั้งปวง
ให้ปล่อยวางเรื่องต่าง ๆ ออกไปจากจิตให้มาก ไม่ต้องกังวลถึงเหตุการณ์ในอนาคต ทำปัจจุบันธรรมให้ดีเสียให้ได้ ต่อไปข้างหน้าก็จักรู้ถึงความสุขใจของจิตอย่างแท้จริง




:b8: :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2018, 19:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
คำพระสอน...

อ้างคำพูด:

อย่าเอาอารมณ์ของใครมาเป็นธุระของตนเอง ให้เห็นเป็นธรรมดาเสียทั้งหมดได้นั่นแหละดี จักได้ไม่ต้องเป็นทุกข์ เพราะแบกอารมณ์ของใคร และจงอย่าสนใจว่าใครผิดใครถูก ให้เห็นกรรมที่บังคับจิตของคนดีกว่า ไม่มีใครที่เขาคิดว่าตัวเขาผิดหรอกที่ทำไปอย่างนั้น ทุกคนต่างมีเหตุผลหรือทัศนะวิสัยของตนเองเป็นใหญ่ ยิ่งถือมากก็ยิ่งมากไปด้วยสักกายทิฏฐิ จุดนี้เราศึกษาไว้เป็นครู เตือนจิตเตือนใจของตนเอง อย่าเอาทัศนะวิสัยของตนเองมายึดมั่นถือมั่นเป็นอารมณ์ จักทำให้เกิดการตามใจกิเลสมากกว่าตามความเป็นจริง และเป็นทาสของตัณหาอย่างร้ายกาจด้วย



:b8: :b8: :b8:

ขอยืมตังค์หน่อยดิ...คริคริคริ
:b32: :b32: :b32:

ธุระของพุทธบริษัททั้ง4คือศึกษาคำสอนของพระพุทธเจ้าให้เข้าใจ
เพราะถ้าเข้าใจคำสอนจะรู้ว่าพระพุทธเจ้าตรัสรู้ความจริงแต่ผู้ที่ทำผิด
ไม่ตรงตามคำสอนคือเข้าใจผิดดังนั้นพุทธบริษัทที่เข้าใจก็ต้องชี้โทษให้เห็น
ว่าล่วงเกินพระศาสดาคนที่ไม่เข้าใจไม่มีใครกล้าพูดเพราะเขากลัวพูดผิดจริงไหม
ส่วนคนที่เข้าใจชัดเจนถูกต้องแม่นยำยืนยันมั่นคงว่าภิกษุผู้ทุศีลรับเงินบรรลุธรรมไม่ได้
คนที่นับถือศาสนาอื่นเขามาทำลายคำสอนของพระพุทธเจ้าไม่ได้แต่คนที่เป็นชาวพุทธเท่านั้น
ที่ทำสิ่งต่างๆขัดแย้งกับคำสอนเองแล้วทำตามๆกันเพราะคิดเองตามที่เห็นคนอื่นทำตามๆกันด้วยกิเลส
:b32: :b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2018, 19:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
อ้างคำพูด:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๔ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๑
ธรรมสังคณีปกรณ์


[๖๗๐] ธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณ เป็นไฉน?
สัญโญชน์ ๓ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส.

[๖๗๑] บรรดาสัญโญชน์ ๓ นั้น สักกายทิฏฐิ เป็นไฉน?
ปุถุชนในโลกนี้ ผู้ไร้การศึกษา ไม่ได้เห็นพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า
ไม่ได้ฝึกฝนในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ได้เห็นสัตบุรุษไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไม่ได้ฝึกฝน
ในธรรมของสัตบุรุษ
ย่อมเห็นรูปเป็นตน หรือเห็นตนมีรูป เห็นรูปในตน เห็นตนในรูป
ย่อมเห็นเวทนาเป็นตน หรือเห็นตนมีเวทนา เห็นเวทนาในตน เห็นตนในเวทนา

ย่อมเห็นสัญญาเป็นตน หรือเห็นตนมีสัญญา เห็นสัญญาในตน เห็นตนในสัญญา

ย่อมเห็นสังขารเป็นตน หรือเห็นตนมีสังขาร เห็นสังขารในตน เห็นตนในสังขาร

ย่อมเห็นวิญญาณเป็นตน หรือเห็นตนมีวิญญาณ เห็นวิญญาณในตน เห็นตนในวิญญาณ

ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็นข้าศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คือทิฏฐิ ความยึดถือ ความยึดมั่น ความตั้งมั่น ความถือผิด ทางชั่ว ทางผิด ภาวะที่ผิด ลัทธิเป็นบ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาส มีลักษณะเช่นว่านี้ อันใด นี้เรียกว่า สักกายทิฏฐิ.

Kiss
สัตบุรุษคือตถาคต1เดียวในจักรวาลนี้ที่มีทศพลญาณคือพระรัตนตรัยสูงสุด
คนอื่นที่เป็นสาวกทุกคนทำได้แค่คิดถูกเข้าใจความจริงที่ทรงตรัสรู้ตามได้เท่านั้น
ทรงแสดงทุกคำทั้งทางที่ถูกและทางที่ผิดพร้อมเหตุปัจจัยไว้โดยละเอียดไม่ให้คิดเอง
ดังนั้นการอ่านถ้าปัญญาตนเองไม่พอก็เข้าใจผิดค่ะปัญญาตามคำสอนคือปัญญาเจตสิก
เป็นสภาพธรรมที่เกิดเองไม่ได้เลยต้องอาศัยฟังเข้าใจท่ามกลางกิเลสตนเองที่ไหลไม่ขาดสาย
หยุดทำเปลี่ยนเป็นฟังแล้วไตร่ตรองความจริงให้ตรงทีละคำเพื่อธัมมะปรากฏกับปัญญาทันทีหลังจาก
กิเลสเกิดเข้าใจกิเลสที่กำลังมีของตนนั่นแหละคือการสะสมปัญญาเข้าใจตรงสภาพธัมมะเข้าใจไหมคะ
:b12:
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2018, 19:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
อ้างคำพูด:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๔ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๑
ธรรมสังคณีปกรณ์


[๖๗๐] ธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณ เป็นไฉน?
สัญโญชน์ ๓ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส.

[๖๗๑] บรรดาสัญโญชน์ ๓ นั้น สักกายทิฏฐิ เป็นไฉน?
ปุถุชนในโลกนี้ ผู้ไร้การศึกษา ไม่ได้เห็นพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า
ไม่ได้ฝึกฝนในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ได้เห็นสัตบุรุษไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไม่ได้ฝึกฝน
ในธรรมของสัตบุรุษ
ย่อมเห็นรูปเป็นตน หรือเห็นตนมีรูป เห็นรูปในตน เห็นตนในรูป
ย่อมเห็นเวทนาเป็นตน หรือเห็นตนมีเวทนา เห็นเวทนาในตน เห็นตนในเวทนา

ย่อมเห็นสัญญาเป็นตน หรือเห็นตนมีสัญญา เห็นสัญญาในตน เห็นตนในสัญญา

ย่อมเห็นสังขารเป็นตน หรือเห็นตนมีสังขาร เห็นสังขารในตน เห็นตนในสังขาร

ย่อมเห็นวิญญาณเป็นตน หรือเห็นตนมีวิญญาณ เห็นวิญญาณในตน เห็นตนในวิญญาณ

ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็นข้าศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คือทิฏฐิ ความยึดถือ ความยึดมั่น ความตั้งมั่น ความถือผิด ทางชั่ว ทางผิด ภาวะที่ผิด ลัทธิเป็นบ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาส มีลักษณะเช่นว่านี้ อันใด นี้เรียกว่า สักกายทิฏฐิ.

Kiss
สัตบุรุษคือตถาคต1เดียวในจักรวาลนี้ที่มีทศพลญาณคือพระรัตนตรัยสูงสุด
คนอื่นที่เป็นสาวกทุกคนทำได้แค่คิดถูกเข้าใจความจริงที่ทรงตรัสรู้ตามได้เท่านั้น

ทรงแสดงทุกคำทั้งทางที่ถูกและทางที่ผิดพร้อมเหตุปัจจัยไว้โดยละเอียดไม่ให้คิดเอง
ดังนั้นการอ่านถ้าปัญญาตนเองไม่พอก็เข้าใจผิดค่ะปัญญาตามคำสอนคือปัญญาเจตสิก
เป็นสภาพธรรมที่เกิดเองไม่ได้เลยต้องอาศัยฟังเข้าใจท่ามกลางกิเลสตนเองที่ไหลไม่ขาดสาย
หยุดทำเปลี่ยนเป็นฟังแล้วไตร่ตรองความจริงให้ตรงทีละคำเพื่อธัมมะปรากฏกับปัญญาทันทีหลังจาก
กิเลสเกิดเข้าใจกิเลสที่กำลังมีของตนนั่นแหละคือการสะสมปัญญาเข้าใจตรงสภาพธัมมะเข้าใจไหมคะ


คิดผิดเข้าใจเยอะแยะไป :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2018, 19:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
อ้างคำพูด:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๔ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๑
ธรรมสังคณีปกรณ์


[๖๗๐] ธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณ เป็นไฉน?
สัญโญชน์ ๓ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส.

[๖๗๑] บรรดาสัญโญชน์ ๓ นั้น สักกายทิฏฐิ เป็นไฉน?
ปุถุชนในโลกนี้ ผู้ไร้การศึกษา ไม่ได้เห็นพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า
ไม่ได้ฝึกฝนในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ได้เห็นสัตบุรุษไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไม่ได้ฝึกฝน
ในธรรมของสัตบุรุษ
ย่อมเห็นรูปเป็นตน หรือเห็นตนมีรูป เห็นรูปในตน เห็นตนในรูป
ย่อมเห็นเวทนาเป็นตน หรือเห็นตนมีเวทนา เห็นเวทนาในตน เห็นตนในเวทนา

ย่อมเห็นสัญญาเป็นตน หรือเห็นตนมีสัญญา เห็นสัญญาในตน เห็นตนในสัญญา

ย่อมเห็นสังขารเป็นตน หรือเห็นตนมีสังขาร เห็นสังขารในตน เห็นตนในสังขาร

ย่อมเห็นวิญญาณเป็นตน หรือเห็นตนมีวิญญาณ เห็นวิญญาณในตน เห็นตนในวิญญาณ

ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็นข้าศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คือทิฏฐิ ความยึดถือ ความยึดมั่น ความตั้งมั่น ความถือผิด ทางชั่ว ทางผิด ภาวะที่ผิด ลัทธิเป็นบ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาส มีลักษณะเช่นว่านี้ อันใด นี้เรียกว่า สักกายทิฏฐิ.

:b12:
คนที่เป็นน้ำเต็มแก้วไม่ยอมรับว่าตนไม่รู้ใครจะช่วยอะไรได้ไหมคะ
ก็ทำได้แค่ชี้ทางบอกทางกวักมือเรียกอยู่ว่ามานี่มาฟังมาดูทางนี้
เร็วๆเห็นเงาแสงสว่างส่องลงมาแต่ต้องเดินตามมาทางนี้ก็มีแต่ว่า
ไม่เชื่อหรอกแผนที่บอกไปทางนี้ทางนั้นมันตัน555ประมาทไหม
:b13:
:b32: :b32:

:b1:
บุพการีสูงสุดคือพระพุทธเจ้า
ทุกคนต้องกราบพระพุทธเจ้า
พระพุทธเจ้ากราบแต่พระธรรม
ทรงยกพระธรรมวินัยขึ้นแทนศาสดา
ทำลายแม้สิ่งเดียวที่พระพุทธเจ้ากราบ
ทราบไหมคะมีอบายภูมิเป็นที่ไปคนไม่รู้ไม่เดือดร้อน
แต่ผู้รู้ผู้เข้าใจเห็นโทษภัยจะเกิดแก่ผู้ไม่รู้ค่ะผู้ชี้โทษคือผู้ชี้ขุมทรัพย์น๊า
https://youtu.be/Qv_XtoiSEm8
:b12:
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2018, 19:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Rosarin เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
อ้างคำพูด:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๔ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๑
ธรรมสังคณีปกรณ์


[๖๗๐] ธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณ เป็นไฉน?
สัญโญชน์ ๓ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส.

[๖๗๑] บรรดาสัญโญชน์ ๓ นั้น สักกายทิฏฐิ เป็นไฉน?
ปุถุชนในโลกนี้ ผู้ไร้การศึกษา ไม่ได้เห็นพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า
ไม่ได้ฝึกฝนในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ได้เห็นสัตบุรุษไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไม่ได้ฝึกฝน
ในธรรมของสัตบุรุษ
ย่อมเห็นรูปเป็นตน หรือเห็นตนมีรูป เห็นรูปในตน เห็นตนในรูป
ย่อมเห็นเวทนาเป็นตน หรือเห็นตนมีเวทนา เห็นเวทนาในตน เห็นตนในเวทนา

ย่อมเห็นสัญญาเป็นตน หรือเห็นตนมีสัญญา เห็นสัญญาในตน เห็นตนในสัญญา

ย่อมเห็นสังขารเป็นตน หรือเห็นตนมีสังขาร เห็นสังขารในตน เห็นตนในสังขาร

ย่อมเห็นวิญญาณเป็นตน หรือเห็นตนมีวิญญาณ เห็นวิญญาณในตน เห็นตนในวิญญาณ

ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็นข้าศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คือทิฏฐิ ความยึดถือ ความยึดมั่น ความตั้งมั่น ความถือผิด ทางชั่ว ทางผิด ภาวะที่ผิด ลัทธิเป็นบ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาส มีลักษณะเช่นว่านี้ อันใด นี้เรียกว่า สักกายทิฏฐิ.

:b12:
คนที่เป็นน้ำเต็มแก้วไม่ยอมรับว่าตนไม่รู้ใครจะช่วยอะไรได้ไหมคะ
ก็ทำได้แค่ชี้ทางบอกทางกวักมือเรียกอยู่ว่ามานี่มาฟังมาดูทางนี้
เร็วๆเห็นเงาแสงสว่างส่องลงมาแต่ต้องเดินตามมาทางนี้ก็มีแต่ว่า
ไม่เชื่อหรอกแผนที่บอกไปทางนี้ทางนั้นมันตัน555ประมาทไหม
:b13:
:b32: :b32:

:b1:
บุพการีสูงสุดคือพระพุทธเจ้า
ทุกคนต้องกราบพระพุทธเจ้า
พระพุทธเจ้ากราบแต่พระธรรม
ทรงยกพระธรรมวินัยขึ้นแทนศาสดา
ทำลายแม้สิ่งเดียวที่พระพุทธเจ้ากราบ
ทราบไหมคะมีอบายภูมิเป็นที่ไปคนไม่รู้ไม่เดือดร้อน
แต่ผู้รู้ผู้เข้าใจเห็นโทษภัยจะเกิดแก่ผู้ไม่รู้ค่ะผู้ชี้โทษคือผู้ชี้ขุมทรัพย์น๊า
https://youtu.be/Qv_XtoiSEm8
:b12:
:b4: :b4:


แล้วใยไปเชื่อแม่บริหารฯ อยู่เล่า :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2018, 19:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
Rosarin เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
อ้างคำพูด:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๔ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๑
ธรรมสังคณีปกรณ์


[๖๗๐] ธรรมอันโสดาปัตติมรรคประหาณ เป็นไฉน?
สัญโญชน์ ๓ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส.

[๖๗๑] บรรดาสัญโญชน์ ๓ นั้น สักกายทิฏฐิ เป็นไฉน?
ปุถุชนในโลกนี้ ผู้ไร้การศึกษา ไม่ได้เห็นพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า
ไม่ได้ฝึกฝนในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ได้เห็นสัตบุรุษไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไม่ได้ฝึกฝน
ในธรรมของสัตบุรุษ
ย่อมเห็นรูปเป็นตน หรือเห็นตนมีรูป เห็นรูปในตน เห็นตนในรูป
ย่อมเห็นเวทนาเป็นตน หรือเห็นตนมีเวทนา เห็นเวทนาในตน เห็นตนในเวทนา

ย่อมเห็นสัญญาเป็นตน หรือเห็นตนมีสัญญา เห็นสัญญาในตน เห็นตนในสัญญา

ย่อมเห็นสังขารเป็นตน หรือเห็นตนมีสังขาร เห็นสังขารในตน เห็นตนในสังขาร

ย่อมเห็นวิญญาณเป็นตน หรือเห็นตนมีวิญญาณ เห็นวิญญาณในตน เห็นตนในวิญญาณ

ทิฏฐิ ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็นข้าศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คือทิฏฐิ ความยึดถือ ความยึดมั่น ความตั้งมั่น ความถือผิด ทางชั่ว ทางผิด ภาวะที่ผิด ลัทธิเป็นบ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาส มีลักษณะเช่นว่านี้ อันใด นี้เรียกว่า สักกายทิฏฐิ.

:b12:
คนที่เป็นน้ำเต็มแก้วไม่ยอมรับว่าตนไม่รู้ใครจะช่วยอะไรได้ไหมคะ
ก็ทำได้แค่ชี้ทางบอกทางกวักมือเรียกอยู่ว่ามานี่มาฟังมาดูทางนี้
เร็วๆเห็นเงาแสงสว่างส่องลงมาแต่ต้องเดินตามมาทางนี้ก็มีแต่ว่า
ไม่เชื่อหรอกแผนที่บอกไปทางนี้ทางนั้นมันตัน555ประมาทไหม
:b13:
:b32: :b32:

:b1:
บุพการีสูงสุดคือพระพุทธเจ้า
ทุกคนต้องกราบพระพุทธเจ้า
พระพุทธเจ้ากราบแต่พระธรรม
ทรงยกพระธรรมวินัยขึ้นแทนศาสดา
ทำลายแม้สิ่งเดียวที่พระพุทธเจ้ากราบ
ทราบไหมคะมีอบายภูมิเป็นที่ไปคนไม่รู้ไม่เดือดร้อน
แต่ผู้รู้ผู้เข้าใจเห็นโทษภัยจะเกิดแก่ผู้ไม่รู้ค่ะผู้ชี้โทษคือผู้ชี้ขุมทรัพย์น๊า
https://youtu.be/Qv_XtoiSEm8
:b12:
:b4: :b4:


แล้วใยไปเชื่อแม่บริหารฯ อยู่เล่า :b32:

cool
พระพุทธเจ้าสอนให้รู้จักกิเลส
เมื่อรู้ทันกิเลสตนเองคือเข้าใจ
เป็นปัญญาแทรกตามหลังกิเลส
จนกว่าจะรู้ทั่วถึงกิเลสแทรกไม่ได้
จึงเป็นสติสัมปชัญญะกิจปัญญาเจตสิก
ที่มีกำลังเพิ่มมาจากการฟังถ้าไม่ฟังก็ไม่เกิด
วิบากกรรมดีที่ประกอบด้วยปัญญาไงคะคริคริคริ
อันว่านั่งหลับตานั้นคนอินเดียคนทั่วโลกเขาก็ทำไม่ใช่คำสอนตถาคตน๊า
:b32: :b32: :b32:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 215 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 11, 12, 13, 14, 15  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร