วันเวลาปัจจุบัน 22 ก.ค. 2025, 01:44  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 78 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.ค. 2018, 16:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
Rosarin เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
Rosarin เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
อ้างคำพูด:
รูปตามอภิธรรม28รูปไม่มีอิริยาบททั้ง4เลย

http://www.84000.org/tipitaka/read/v.php?B=34&A=4763&Z=5041&pagebreak=0
[๕๔๘] รูปเป็นวิญญัติ นั้น เป็นไฉน?
กายวิญญัติ วจีวิญญัติ รูปนี้เรียกว่า รูปเป็นวิญญัติ.

[๕๒๘] รูปที่เรียกว่า กายวิญญัติ นั้น เป็นไฉน?
ความเคร่งตึง กิริยาที่เคร่งตึงด้วยดี ความเคร่งตึงด้วยดี การแสดงให้รู้ความหมาย
กิริยาที่แสดงให้รู้ความหมาย ความแสดงให้รู้ความหมาย (แห่งกายของบุคคลผู้มีจิตเป็นกุศล
หรือมีจิตเป็นอกุศล หรือมีจิตเป็นอัพยากฤต
) ก้าวไปอยู่ ถอยกลับอยู่ แลดูอยู่ เหลียวซ้ายแล
ขวาอยู่ คู้เข้าอยู่ หรือเหยียดออกอยู่ อันใด รูปทั้งนี้เรียกว่า กายวิญญัติ
http://www.84000.org/tipitaka/read/v.php?B=34&A=4414&Z=4762&pagebreak=0

:b32:
รู้จักปกติไหมคะตามที่ยกมาสมมุติว่าตอนนี้นั่งเก้าอี้รับประทานอาหารในห้องแอร์
อ่ะมันนั่งเป็นรูปปั้นท่าเดียวมองจานข้าวแล้วอิ่มเลยอย่างนั้นหรือคะคริคริคริ
อาการกิริยาต่างๆมันขยับไปมาตลอดเวลาไม่ใช่หรือคะตักข้าวใส่ปาก
งอแขนเหยียดแขนเหยียดแข้งเหยียดขากว่าจะอิ่มมีเย็นจากแอร์
มีรสอาหารที่ลิ้นเคี้ยวไปฟังเพลงไปเดี๋ยวจืดก็ปรุงพริกน้ำปลา
เป็นพระภิกษุทำอย่างคฤหัสถ์ได้ไหมคะปรุงรสก็ไม่ได้
แล้วไปหยิบจับเงินมีคู้มีเหยียดมีรับพอใจรับไหม
:b32: :b32: :b32:
ที่กำลังมีจริงๆคือวิสยรูป7ที่กายมีแล้วใจตนรู้คือปรมัตถสัจจธรรมที่เกิดคือจิต+เจตสิก+รูป/นิพพานไม่เกิด
onion onion onion

รู้จักคำพระพุทธเจ้าไหม
รูปวิญญัติ เป็นไฉน.....
อ่านให้เข้าใจจะได้สุตตะมยปัญญา ........

cool
:b12:
เห็นตรงที่ทำวงเล็บเพิ่มให้ไหมคะว่าคืออะไร
:b1:
กสลาธัมมา อกุสลาธัมมา อัพยากตาธัมมา
เคยได้ยินจากสวดอภิธรรมใช่ไหมคะ
ใครไม่รู้ว่าเมื่ยก็ต้องเปลี่ยนท่าบ้างคะ
ที่ไม่รู้คือไม่รู้ว่าขณะไหนเป็น
กุศล/อกุศล/อัพยากตะค่ะ
เพราะขาดสุตมยปัญญา
ทำไปเถอะท่าต่างๆ
แต่ไม่ฟังก็เดิน
ตลอดชีวิต
ปัญญาไม่เพิ่มค่ะ
ปัญญาเพิ่มเริ่มที่ฟังจะฟังไหมคะ
:b32:
:b17: :b17:

โง่ซ้ำซากจริงๆ
ถึงบอกให้อ่านให้เข้าใจให้เกิดปัญญา
กายวิญญัติ มีจิตเป็นสมุฏฐาน
พระอาจารย์ผู้แปลพระบาลีเกรงว่าคนอ่านจะไม่เข้าใจจึง ใส่คำธิบายถึงการสงเคราะห์ด้วยจิต สามประเภท
การใส่วงเล็บ ในพระอภิธรรม ผู้ศึกษา พระสูตร พระอภิธรรม ต่างก็รู้ดีว่าเป็นการสอดแทรกคำอธิบายโดยพระอาจารย์ผู้แปลผู้ถอดความ

อ่านคำพระพุทธเจ้าให้ถ้วนถี่ อย่าตะแบงแบกทิฏฐิของตน และทิฏฐิของป้าสุจินต์มาใส่เลย
ลิงค์ต่างๆ ที่ส่งมาให้ดูจากบ้านธัมมะน่ะ มีแต่คำของป้าทั้งนั้น ยิ่งฟังยิ่งนำมาซึ่งความเขลา
ไปศึกษาพระอภิธรรม หรือพระสูตร จากพระไตรปิฎกครับ จึงเรียกว่าเป็นการสดับ การอ่าน การฟัง การสั่งสมสุตตะ เพื่อให้เกิดปัญญาตรงต่อคำของพระพุทธองค์

:b32:
ก็จิตทั้ง3ประเภทนั้นมันเกิดพร้อมกันไม่ได้ไงคะ
ตนเองน่ะต้องรู้ตรง1คำตรงคำวาจาสัจจะที่ตนมี
ไม่รู้ตรง1คำวาจาสัจจะนั้นแหละสะสมกิเลสอกุศลเดี๋ยวนี้ค่ะ
:b32: :b32:

อย่าเบี่ยงประเด็น
ใครบอกว่า รูปตามอภิธรรม ไม่มีอิริยาบถ
เช่นนั้น กำลังบอกว่า มีครับ
และคุณโรส บอกให้ดูวงเล็บ
ก็อธิบายว่า มีจิตเป็นสมุฏฐาน
นี่คือตรงกับสัจจะที่พระพุทธองค์แสดงครับ
การอ่านให้เข้าใจจึงเกิดสุตตมยปัญญาครับ
จริงหรือไม่จริง ที่ยกมาตามพระอภิธรรม ........ หรือสิ่งที่ยกมาไม่ใช่มาจากปากของป้าสุจินต์จึงรับไม่ได้ครับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.ค. 2018, 18:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
Rosarin เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
Rosarin เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
Rosarin เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
อ้างคำพูด:
รูปตามอภิธรรม28รูปไม่มีอิริยาบททั้ง4เลย

http://www.84000.org/tipitaka/read/v.php?B=34&A=4763&Z=5041&pagebreak=0
[๕๔๘] รูปเป็นวิญญัติ นั้น เป็นไฉน?
กายวิญญัติ วจีวิญญัติ รูปนี้เรียกว่า รูปเป็นวิญญัติ.

[๕๒๘] รูปที่เรียกว่า กายวิญญัติ นั้น เป็นไฉน?
ความเคร่งตึง กิริยาที่เคร่งตึงด้วยดี ความเคร่งตึงด้วยดี การแสดงให้รู้ความหมาย
กิริยาที่แสดงให้รู้ความหมาย ความแสดงให้รู้ความหมาย (แห่งกายของบุคคลผู้มีจิตเป็นกุศล
หรือมีจิตเป็นอกุศล หรือมีจิตเป็นอัพยากฤต
) ก้าวไปอยู่ ถอยกลับอยู่ แลดูอยู่ เหลียวซ้ายแล
ขวาอยู่ คู้เข้าอยู่ หรือเหยียดออกอยู่ อันใด รูปทั้งนี้เรียกว่า กายวิญญัติ
http://www.84000.org/tipitaka/read/v.php?B=34&A=4414&Z=4762&pagebreak=0

:b32:
รู้จักปกติไหมคะตามที่ยกมาสมมุติว่าตอนนี้นั่งเก้าอี้รับประทานอาหารในห้องแอร์
อ่ะมันนั่งเป็นรูปปั้นท่าเดียวมองจานข้าวแล้วอิ่มเลยอย่างนั้นหรือคะคริคริคริ
อาการกิริยาต่างๆมันขยับไปมาตลอดเวลาไม่ใช่หรือคะตักข้าวใส่ปาก
งอแขนเหยียดแขนเหยียดแข้งเหยียดขากว่าจะอิ่มมีเย็นจากแอร์
มีรสอาหารที่ลิ้นเคี้ยวไปฟังเพลงไปเดี๋ยวจืดก็ปรุงพริกน้ำปลา
เป็นพระภิกษุทำอย่างคฤหัสถ์ได้ไหมคะปรุงรสก็ไม่ได้
แล้วไปหยิบจับเงินมีคู้มีเหยียดมีรับพอใจรับไหม
:b32: :b32: :b32:
ที่กำลังมีจริงๆคือวิสยรูป7ที่กายมีแล้วใจตนรู้คือปรมัตถสัจจธรรมที่เกิดคือจิต+เจตสิก+รูป/นิพพานไม่เกิด
onion onion onion

รู้จักคำพระพุทธเจ้าไหม
รูปวิญญัติ เป็นไฉน.....
อ่านให้เข้าใจจะได้สุตตะมยปัญญา ........

cool
:b12:
เห็นตรงที่ทำวงเล็บเพิ่มให้ไหมคะว่าคืออะไร
:b1:
กสลาธัมมา อกุสลาธัมมา อัพยากตาธัมมา
เคยได้ยินจากสวดอภิธรรมใช่ไหมคะ
ใครไม่รู้ว่าเมื่ยก็ต้องเปลี่ยนท่าบ้างคะ
ที่ไม่รู้คือไม่รู้ว่าขณะไหนเป็น
กุศล/อกุศล/อัพยากตะค่ะ
เพราะขาดสุตมยปัญญา
ทำไปเถอะท่าต่างๆ
แต่ไม่ฟังก็เดิน
ตลอดชีวิต
ปัญญาไม่เพิ่มค่ะ
ปัญญาเพิ่มเริ่มที่ฟังจะฟังไหมคะ
:b32:
:b17: :b17:

โง่ซ้ำซากจริงๆ
ถึงบอกให้อ่านให้เข้าใจให้เกิดปัญญา
กายวิญญัติ มีจิตเป็นสมุฏฐาน
พระอาจารย์ผู้แปลพระบาลีเกรงว่าคนอ่านจะไม่เข้าใจจึง ใส่คำธิบายถึงการสงเคราะห์ด้วยจิต สามประเภท
การใส่วงเล็บ ในพระอภิธรรม ผู้ศึกษา พระสูตร พระอภิธรรม ต่างก็รู้ดีว่าเป็นการสอดแทรกคำอธิบายโดยพระอาจารย์ผู้แปลผู้ถอดความ

อ่านคำพระพุทธเจ้าให้ถ้วนถี่ อย่าตะแบงแบกทิฏฐิของตน และทิฏฐิของป้าสุจินต์มาใส่เลย
ลิงค์ต่างๆ ที่ส่งมาให้ดูจากบ้านธัมมะน่ะ มีแต่คำของป้าทั้งนั้น ยิ่งฟังยิ่งนำมาซึ่งความเขลา
ไปศึกษาพระอภิธรรม หรือพระสูตร จากพระไตรปิฎกครับ จึงเรียกว่าเป็นการสดับ การอ่าน การฟัง การสั่งสมสุตตะ เพื่อให้เกิดปัญญาตรงต่อคำของพระพุทธองค์

:b32:
ก็จิตทั้ง3ประเภทนั้นมันเกิดพร้อมกันไม่ได้ไงคะ
ตนเองน่ะต้องรู้ตรง1คำตรงคำวาจาสัจจะที่ตนมี
ไม่รู้ตรง1คำวาจาสัจจะนั้นแหละสะสมกิเลสอกุศลเดี๋ยวนี้ค่ะ
:b32: :b32:

อย่าเบี่ยงประเด็น
ใครบอกว่า รูปตามอภิธรรม ไม่มีอิริยาบถ
เช่นนั้น กำลังบอกว่า มีครับ
และคุณโรส บอกให้ดูวงเล็บ
ก็อธิบายว่า มีจิตเป็นสมุฏฐาน
นี่คือตรงกับสัจจะที่พระพุทธองค์แสดงครับ
การอ่านให้เข้าใจจึงเกิดสุตตมยปัญญาครับ
จริงหรือไม่จริง ที่ยกมาตามพระอภิธรรม ........ หรือสิ่งที่ยกมาไม่ใช่มาจากปากของป้าสุจินต์จึงรับไม่ได้ครับ

Kiss
คำสอนตรงมากเดี๋ยวนี้ก็คือเดี๋ยวนี้จริงๆ
มีจิตครบแล้วทั้ง6ทางถูกใช่ไหมคะ
แต่ตถาคตแสดงว่าจิตเกิดดับ
ทีละ1ขณะทีละ1ทางจริงๆ
แต่ทุกคนไม่ได้เห็นถูก
กำลังเห็นผิดคิดจำ
ตัวอักษรเป็นจิตคิดนึก
หลังเห็นดับไปแล้วหลายขณะ
ที่กะพริบตาแล้วก็นับขณะไม่ถ้วน
ทุกคนจะไปนับทุกขณะเดี๋ยวนี้เลยไม่ได้
จึงต้องพึ่งคำตถาคตตรงรูปที่ปรากฏทีละ1ตรงสัจจะที่กายใจตนรู้ทัน1นั้น
ถ้าไม่ทันเลยไม่รู้ตรงความจริงที่ตนกำลังมีเลยนั่นแหละเรียกว่ามีอวิชชาแล้วค่ะ
ปัญญาตามคำสอนเกิดได้ตามลำดับ123จะข้าม1ไม่ได้ทุกครั้งที่ทำปัญญานะคะ
ฌานเหมือนกันเวลาเริ่มก็ต้องแบบเดิมทุกครั้งไม่ข้าม1ไป5นะคะสุตมยปัญญาต้องตรงจริงค่ะ
:b12:
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.ค. 2018, 18:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
ปกติตื่นลืมตาดูอยู่นี้มีตัวตนถูกไหม
ใครไม่รู้ว่าตัวเองนั่งยืนเดินนอน
ก็รู้อยู่แล้วทำไมจะต้องไป
กำหนดตัวตนเน้นย้ำ
ให้มีอัตตาเข้าไปอีก
การฟังเป็นการละไม่รู้
คลายความติดข้องต้องการ
ที่อยากจะไปรู้ค่ะเพราะกำลังฟังแล้วรู้
หายสงสัยหมดอยากแล้วค่ะตอนฟังแต่พอ
หยุดฟังก็ไปทำตามที่ตนมีกิจธุระตามปกติไงคะ
การพึ่งพระรัตนตรัยต้องพึ่งฟังจริงๆแล้วรู้สึกตัวตรงคำปรมัตถสัจจะ
สมมุติสัจจะมีพระองค์ก็แสดงให้ทราบความต่างของอัตตาและอนัตตา
การไปเลือกทำตามที่ตนต้องการเป็นการส่งเสริมอัตตามันมีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน
แต่การฟังจะเลือกให้ปัญญาเกิดเป็นไปไม่ได้แล้วแต่การรู้สึกตัวที่แต่ละคนสะสมความตรงปัจจุบันค่ะ
รู้ความจริงตามที่ปรากฏแต่ละทางตามเหตุปัจจัยที่เกิดปรากฏว่ามีแล้วเท่านั้นที่รู้ได้ส่วนที่ดับก็ผ่านไปแล้ว
เกิดสิ่งใหม่ตลอดเวลาเทียบความเร็วให้ทราบได้ตามปกติว่าดับครบ6ทางนับไม่ถ้วนตอนกะพริบตาแล้วนั้น
ไม่ทันก็คือความจริงปรากฏมีตามเหตุตามปัจจัยที่กายใจกำลังมีแต่ตนไม่รู้ความจริงจึงปรากฏกับอวิชชา
:b12:
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.ค. 2018, 20:54 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


สรุป....คุณโรสแพ้คาเวที...กรณีที่ไปให้ความเห็นว่า..รูปไม่มีอริยาบท..

อ้างคำพูด:
เช่นนั้น...

http://www.84000.org/tipitaka/read/v.ph ... agebreak=0
[๕๔๘] รูปเป็นวิญญัติ นั้น เป็นไฉน?
กายวิญญัติ วจีวิญญัติ รูปนี้เรียกว่า รูปเป็นวิญญัติ.

[๕๒๘] รูปที่เรียกว่า กายวิญญัติ นั้น เป็นไฉน?
ความเคร่งตึง กิริยาที่เคร่งตึงด้วยดี ความเคร่งตึงด้วยดี การแสดงให้รู้ความหมาย
กิริยาที่แสดงให้รู้ความหมาย ความแสดงให้รู้ความหมาย (แห่งกายของบุคคลผู้มีจิตเป็นกุศล
หรือมีจิตเป็นอกุศล หรือมีจิตเป็นอัพยากฤต) ก้าวไปอยู่ ถอยกลับอยู่ แลดูอยู่ เหลียวซ้ายแล
ขวาอยู่ คู้เข้าอยู่ หรือเหยียดออกอยู่ อันใด รูปทั้งนี้เรียกว่า กายวิญญัติ
http://www.84000.org/tipitaka/read/v.ph ... agebreak=0



โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.ค. 2018, 21:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
:b32: :b32: :b32:
ยังไม่รู้สึกตัวอีกกิเลสไม่ถลอกเลย
ฟังคำตถาคตแล้วกิเลสร้องไห้เลือดซึมเลยรู้ป่าวล่ะ
:b13:
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.ค. 2018, 20:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อิริยาบถ "ทางแห่งการเคลื่อนไหว" ท่าทางที่ร่างกายจะเป็นไป, ท่าที่เคลื่อนไหวตั้งวางร่างกายอย่างใดอย่างหนึ่ง, อิริยาบถหลักมี ๔ คือ ยืน เดิน นั่ง นอน, อิริยาบถย่อย เรียกว่า จุณณิยอิริยาบถ หรือ จุณณิกอิริยาบถ ได้แก่ ท่าที่แปรเปลี่ยนยักย้ายไประหว่างอิริยาบถทั้ง ๔ นั้น

เอกายนมรรค ทางอันเอก คือ ข้อปฏิบัติไปสู่ความบริสุทธิ์หมดจด หมดความทุกข์ และบรรลุนิพพาน ได้แก่ สติปัฏฐาน ๔; อย่างกว้างขวาง เช่น ในมหานิทเทส หมายถึง โพธิปักขิยธรรม ด้วย

:b13:
รูปตามอภิธรรม28รูปไม่มีอิริยาบททั้ง4เลย
แนะนำผิดๆทำให้ผู้อื่นคิดเห็นผิดโทษมาก
:b32: :b32:


นี่เขาเรียกว่า ยิ่งอ่านยิ่งโง่

ก็ในอภิธรรมเขาแยกซอยไปยังงั้นแล้วมันจะมีได้ยังไง ไปดูคัมภีร์อื่นบ้างสิ

ถามนะ ในแต่ละวันๆ คุณโรส ได้ยืน เดิน นั่ง นอน ไหม ตอบตรงๆนะ มีช้อยให้เลือก

1. ได้มี ยืน เดิน นั่ง นอน

2. ไม่มี (คือไม่เดิน ไม่นั่ง ไม่นอน ไม่ยืน คิกๆๆ)

:b12:
เพราะไม่รู้ไงว่าทุกข์คืออะไรจึงยึดถือตัวตนที่มีอิริยาบถกำกับอยู่ไงคะ
การจะระลึกตามได้ทันสภาพธรรมที่กำลังปรากฏครบ6ทางทั่วตัวต้องทัน
ตัวจริงคือสัจจะทีละ1คำสัจจะเริ่มเข้าใจทีละอย่างช้าๆก่อนฟังบ่อยๆจนจำได้
และระลึกได้เร็วขึ้นตามปัญญาที่เพิ่มขึ้นฟังไม่รู้เรื่องนั่นแหละปัญญาตนไม่พอค่ะ
จะยึดถืออิริยาบทไปตลอดชาติก็ถึงวิปัสสนาญาณไม่ได้หรอกนะคะแค่เห็นจริงๆไม่มี
เห็นแล้วดับแล้วมัวแต่ห่วงอิริยาบทเอาไม่ทันเลยสักทางมัวแต่ไปกำหนดมันไม่ทันรู้ยังคะ
:b32: :b32:



ตอบให้ตรงคำถามสิ คุณโรส เคย ยืน เดิน นั่ง นอน ไหม

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ค. 2018, 17:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


deecup เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เพื่อให้เห็นภาพอิริยาบถนั่งปฏิบัติชัด ลงรูปภาพให้เพื่อถามข้อสังสัย

รูปภาพ


ใช้ลมหายใจเข้า-ออก ใช้พอง-ยุบ อะไรถามได้หมด

ผม งงตรงพองยุบ คือเวลาหายใจเข้า ท้องก็กำลังพอง ให้กำหนดตั้งแต่ท้องกำลังเริ่มพอง แล้วจิตก็ตามดูอาการ และท่องว่า พอง...ๆๆๆ พอท้องพองได้สุดแค่ใหน ก็หยุดคำว่าพอง แล้วเอาตัวสติคือหนอ มาปิดกำกับไว้ เป็นเขตแดนของเรา ไม่ให้จิตส่งไปนอก กิเลสเข้ามาข้างใน แบบนี้ถูกเปล่า มันกำหนดอาการยากนะ ไอ้พองยุบเนี่ย เห่อๆ


เมื่อไม่ถนัดรูปแบบกัมมัฏฐานนี้ ก็ใช้ลมเข้ากับลมออกได้ ไม่ถนัดอีก ใช้นับลูกประคำได้ ไม่ถนัดอีก นับเป็นตัวเลขได้

ต่อไปตอบคำถาม ท้องพองว่า พอง สุดพองว่าหนอ ท้องยุบ ว่ายุบ สุดยุบว่าหนอ เบื้องต้นก็เท่านี้ แบบนี้เรียกว่า ใช้อาการท้องพอง กับ ยุบ เป็นที่ทำงานของจิต (กรรมฐาน)

หนอ ไม่ใช่ตัวสติ ไม่ใช่ หนอตัดทิ้งก็ได้ เมื่อขณะนั้น พอง-ยุบเร็วว่าหนอไม่ทัน ตัดออกเลยได้ ว่าแค่พอง ยุบๆๆๆๆๆๆๆๆ ไป

กิเลสคือความฟุ้งซ่านเป็นต้น ถ้าควบคุมจิตให้อยู่กับอาการพอง-ยุบ ได้นานๆ นั่นแปลว่า ระงับกิเลสได้แล้ว

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ค. 2018, 17:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


deecup เขียน:
Rosarin เขียน:
deecup เขียน:
หลายสำนัก หลายวัด เน้นการเจริญสติทุกอริยาบท มากกว่าเน้นการนั่งสมาธิเป็นชั่วโมง ข้ามคืนจนก้นใส้ติ่งแตก ก้นแตกก็มี

หลายสำนักเน้นการเคลื่อนไหว เช่นเคลื่อนไหวมือ แขน และรวมไปถึงการเดินจงกรม แต่นั่งสมาธิก็ทำนะแต่ทำไม่นาน

เป็นเพราะอะไรครับ หรือแม้แต่การดูจิตในชีวิตประจำวัน รู้เท่าทันจิต นี่ก็เน้นอริยาบทประจำวัน แต่ส่วนใหย่เขาจะนั่งสมาธิกันน้อย หรือเพราะ ทางโลกต้องทำงานมาก จะหาเวลาว่าง มานั่งสมาธิเป็นวันๆข้ามขืนนั้นยาก

หลายสำนักเลยเน้นการเจริญสติทุกอริยาบท ตั้งแต่ยืนเดินนั่งนอน กินข้าวก็ยังกินแบบพระ กำหนดอริยาบทการเคี้ยวการกลืน การดื่มน้ำลงคอ ต้องพิจารณาไม่ให้ติดรสชอบไม่ชอบ รวมไปถึงกินกล้วยก็อย่างับทั้งปาก ให้เอาช้อนแบ่งออก ไม่งั้นต้องปลงอาบัติแบบทางโลก เข้มมากเลย มีใครทำบ้าง ?

Kiss
ต้องเข้าใจก่อนค่ะว่าความจริงต้องตรงจริงคือเดี๋ยวนี้เลยค่ะ
ถ้าเราใช้ชีวิตตามปกติในการทำงานต่างๆก็คือมีสมาธิในการทำค่ะ
แต่เป็นมิจฉาสมาธิเพราะไม่ได้กำลังระลึกตามคือคิดถึงคำตถาคตอยู่
การเป็นผู้ตรงต้องกระทำตรงคือคิดตามตรงทีละ1คำตรงคำพร้อมรู้สึกตัว
ที่ตัวตนของตนเองว่ากำลังมีอะไรตรงตามคำที่กำลังได้ยินค่ะจึงเรียกว่าเริ่ม
มีสัมมาคือคิดตามได้ตรงความจริงที่ตนกำลังมีจริงๆไม่ใช่คิดอย่างอื่นไปด้วยค่ะ
:b20:
:b4: :b4:

คิด คือ ไม่คิด พอไม่คิด ก็คือคิด ผมมึนหัวมาก เช่นเราเคลื่อนไหวอยู่ เราไม่คิด บางอาจารย์ก็บอกว่า ไอ้ที่คุณไม่คิดนั่นแหละั คือคุณกำลังคิด :b14:


ก็สมควรมึนหัวหรอกครับ ไม่คิดคือกำลังคิด พูดแบบนี้ หมายความว่าคิดคือไม่คิดใช่หรือไม่ คิกๆๆ

ประเด็นนี้ ใช้บททดสอบด้วยการทำ ขณะที่จิตอยู่กับลมเข้า อยู่กับลมออกได้ นั่นคือไม่คิด หมายถึงว่า ไม่คิดฟุ้งซ่านไปอื่น อยู่กับกัมมัฏฐาน หมายถึงว่า จิตมันทำงานอยู่ ณ ที่นั่น เหมือนตัวอย่างลิงค์ที่ให้ดูข้างต้น เขาอยู่กับลมเข้า-ออกได้เป็นสายได้นานๆ


อ้างคำพูด:
ในการนั่งสมาธิครั้งนี้ผมสามารถรับรู้ลมหายใจได้ตลอดสายเป็นเวลานาน


แสดงว่าจิตไม่ฟุ้งซ่านพล่านไป ถ้าฟุ้งซ่านแล้ว ไม่มีทางจะรู้ได้ติดต่อกันนานๆหรอก คือ มันจะวิบไปวิบมา บางทีไปนานกว่าจะระลึกรู้สึกตัว นั่นแปลว่า สติอ่อนแอมากๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ค. 2018, 18:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


deecup เขียน:
กรัชกาย เขียน:
deecup เขียน:
แล้วกำหนดสติยังไง ให้จิตเป็นศีล สมาธิ ปัญญา
หมายถีง สติศีล สติสมาธิ สติปัญญา


สติศีล สติสมาธิ สติปัญญา เพิ่งเคยได้ยินเนี่ย ไปได้มาแต่ไหนหรอ

ผมอ่านจากด้านล่างอันนี้อะครับ เลยน่าจะเรียกว่า สติศีล สติสมาธิ สติปัญญา

สติใช้เพื่อที่จะรู้เท่าทันในสังขาร 3

รู้เท่าทันในการเคลื่อนไหว(กายสังขาร) ในอันที่จะการสร้างกรรมใดๆ นั่นคือศีล
รู้เท่าทันในอารมณ์ที่ปรุงแต่งจิต(จิตสังขาร) จนจิตเป็นอิสระจากอารมณ์ นี่คือสมาธิ
รู้เท่าทันความคิดทั้งหลาย(มโนสังขาร) ว่าความคิดเป็นเหตุเป็นผลหรือไม่(โยนิโสมนสิการ) นี้คือปัญญา



หลักเป็นอย่างนี้

กายสังขาร 1. ปัจจัยปรุงแต่งกาย ได้แก่ ลมหายใจเข้า หายใจออ ก 2. สภาพที่ปรุงแต่งการกระทำทางกาย ได้แก่ กายสัญเจตนา หรือความจงใจทางกาย ซึ่งทำให้เกิดกายกรรม

วจีสังขาร 1. ปัจจัยปรุงแต่งวาจา ได้แก่ วิตก (ตรึก) และวิจาร (ตรอง) ถ้าไม่มีตรึกตรองก่อนแล้ว พูดย่อมไม่รู้เรื่อง 2. สภาพที่ปรุงแต่งการกระทำทางวาจา ได้แก่ วิจีสัญเจตนา คือความจงใจทางวาจา ที่ก่อให้เกิดวจีกรรม

จิตตสังขาร หรือ มโนสังขาร 1. ปัจจัยปรุงแต่งจิต ได้แก่ สัญญาและเวทนา 2. สภาพที่ปรุงแต่งการกระทำทางใจ ได้แก่ เจตนาที่ก่อให้เกิดมโนกรรม

สังขาร 1. สิ่งที่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง, สิ่งที่เกิดจากเหตุปัจจัย เป็นรูปธรรมก็ตาม นามธรรมก็ตาม ได้แก่ ขันธ์ ๕ ทั้งหมด

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ค. 2018, 18:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


deecup เขียน:
กรัชกาย เขียน:
deecup เขียน:
แล้วกำหนดสติยังไง ให้จิตเป็นศีล สมาธิ ปัญญา
หมายถีง สติศีล สติสมาธิ สติปัญญา


สติศีล สติสมาธิ สติปัญญา เพิ่งเคยได้ยินเนี่ย ไปได้มาแต่ไหนหรอ

ผมอ่านจากด้านล่างอันนี้อะครับ เลยน่าจะเรียกว่า สติศีล สติสมาธิ สติปัญญา

สติใช้เพื่อที่จะรู้เท่าทันในสังขาร 3

รู้เท่าทันในการเคลื่อนไหว(กายสังขาร) ในอันที่จะการสร้างกรรมใดๆ นั่นคือศีล
รู้เท่าทันในอารมณ์ที่ปรุงแต่งจิต(จิตสังขาร) จนจิตเป็นอิสระจากอารมณ์ นี่คือสมาธิ
รู้เท่าทันความคิดทั้งหลาย(มโนสังขาร) ว่าความคิดเป็นเหตุเป็นผลหรือไม่(โยนิโสมนสิการ) นี้คือปัญญา



้ถ้าจะเอาศีล สมาธิ ปัญญา หลักเขามีอย่างนี้

อธิสีลสิกขา เรียกสั้นๆว่า ศีล

อธิจิตตสิกขา เรียกสั้นๆว่า สมาธิ

อธิปัญญาสิกขา เรียกสั้นๆว่า ปัญญา

ศีล สมาธิ ปัญญา นี่ย่อมาจากอริยมัคค์มีองค์ ๘ คือ ท่านย่อมาเป็นหลักปฏิบัติ เรียกว่า ไตรสิกขา

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ค. 2018, 20:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


deecup เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เพื่อให้เห็นภาพอิริยาบถนั่งปฏิบัติชัด ลงรูปภาพให้เพื่อถามข้อสังสัย

รูปภาพ


ใช้ลมหายใจเข้า-ออก ใช้พอง-ยุบ อะไรถามได้หมด

ผม งงตรงพองยุบ คือเวลาหายใจเข้า ท้องก็กำลังพอง ให้กำหนดตั้งแต่ท้องกำลังเริ่มพอง แล้วจิตก็ตามดูอาการ และท่องว่า พอง...ๆๆๆ พอท้องพองได้สุดแค่ใหน ก็หยุดคำว่าพอง แล้วเอาตัวสติคือหนอ มาปิดกำกับไว้ เป็นเขตแดนของเรา ไม่ให้จิตส่งไปนอก กิเลสเข้ามาข้างใน แบบนี้ถูกเปล่า มันกำหนดอาการยากนะ ไอ้พองยุบเนี่ย เห่อๆ


หายใจเข้า-ออก นับเป็นตัวเลขให้ดู

การนับ (คณนา)

เริ่มแรก ในการกำหนดลมหายใจเข้า-ออกนั้น ท่านว่าให้นับไปด้วย เพราะการนับจะช่วยตรึงจิตได้ดี การนับแบ่งเป็น ๒ ตอน

- ช่วงแรก ท่านให้นับช้าๆ การนับมีเคล็ดหรือกลวิธีว่า อย่านับต่ำกว่า ๕ แต่อย่าให้เกิน ๑๐ และให้เลขเรียงลำดับ อย่าโจนข้าม ไป (ถ้าต่ำกว่า ๕ จิตจะดิ้นรนในโอกาสอันแคบ ถ้าเกิน ๑๐ จิตจะไปพะวงที่การนับ แทนที่จะจับอยู่กับกรรมฐาน คือลมหายใจ ถ้านับขาดๆ ข้ามๆ จิตจะหวั่นจะวุ่นไป)

ให้นับที่หายใจเข้า-ออกอย่างสบายๆ เป็นคู่ๆ คือ ลมเข้าว่า ๑ ลมออก ว่า ๑
ลมเข้าว่า ๒ ลมออกว่า ๒ อย่างนี้เรื่อยไป จนถึง ๕,๕ แล้วตั้งต้นใหม่ ๑,๑ จน ถึง ๖,๖ แล้วตั้งต้นใหม่ เพิ่มทีละคู่ไปจนครบ ๑๐ คู่ แล้วย้อน ที่ ๕ คู่ใหม่ จนถึง ๑๐ อย่างนั้นเรื่อยไป

พอจะเขียนให้ดูได้ ดังนี้

๑,๑ ๒,๒ ๓,๓ ๔,๔ ๕,๕

๑,๑ ๒,๒ ๓,๓ ๔,๔ ๕,๕ ๖,๖

๑,๑ ๒,๒ ๓,๓ ๔,๔ ๕,๕ ๖,๖ ๗,๗

๑,๑ ๒,๒ ๓,๓ ๔,๔ ๕,๕ ๖,๖ ๗,๗ ๘,๘

๑,๑ ๒,๒ ๓,๓ ๔,๔ ๕,๕ ๖,๖ ๗,๗ ๘,๘ ๙,๙

๑,๑ ๒,๒ ๓,๓ ๔,๔ ๕,๕ ๖,๖ ๗,๗ ๘,๘ ๙,๙ ๑๐,๑๐

๑,๑ ๒,๒ ๓,๓ ๔,๔ ๕,๕

๑,๑ ๒,๒ ๓,๓ ๔,๔ ๕,๕ ๖,๖

ฯลฯ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ค. 2018, 21:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อธิศีล ศีลอันยิ่ง หมายถึงปาฏิโมกข์สังวรศีล ตลอดลงมาจนถึงศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๑๐ ที่รักษาด้วยความเข้าใจ ให้เป็นเครื่องหนุนนำออกจากวัฏฏะ หรือเป็นปัจจัยให้ก้าวไปในมรรค

อธิศีลสิกขา เรื่องอธิศีลอันจะต้องศึกษา, การศึกษาในอธิศีล, ข้อปฏิบัติสำหรับฝึกอบรมพัฒนาศีลอย่างสูง ที่จะให้ตั้งอยู่ในวินัย รู้จักใช้อินทรีย์ และมีพฤติกรรมทางกายวาจาดีงาม ในการสัมพันธ์ที่จะอยู่ร่วมสังคมกับผู้อื่น และอยู่ในสิ่งแวดล้อมต่างๆด้วยดี ให้เป็นประโยชน์เกื้อกูล ไม่เบียดเบียน ไม่ทำลาย และให้เป็นพื้นฐานแห่งการฝึกอบรมพัฒนาจิตใจในอธิจิตตสิกขา
เขียนอย่างบาลีเป็น อธิสีลสิกขา และเรียกกันง่ายๆว่า ศีล

อธิจิต, อธิจิตต์ จิตอันยิ่ง, เรื่องในของการเจริญสมาธิอย่างสูง หมายถึงฌานสมาบัติที่เป็นบาทแห่งวิปัสสนา หรือแม้สมาธิที่เจริญด้วยความรู้เข้าใจโดยมุ่งให้เป็นปัจจัยแห่งการก้าวไป ในมรรค

อธิจิตตสิกขา เรื่องอธิจิตต์อันจะต้องศึกษา, การศึกษาในอธิจิตต์, ข้อปฏิบัติสำหรับฝึกอบรมพัฒนาจิตใจอย่างสูง เพื่อให้เกิดสมาธิ ความเข้มแข็งมั่นคงพร้อมทั้งคุณธรรมและคุณสมบัติที่เกื้อกูลทั้งหลาย เช่น สติ ขันติ เมตตา กรุณา สดชื่น เบิกบาน เป็นสุข ผ่องใส อันจะทำให้จิตใจมีสภาพที่เหมาะแก่การใช้งาน เฉพาะอย่างยิ่ง ให้เป็นฐานแห่งการเจริญปัญญา เรียกกันง่ายๆว่า สมาธิ

อธิปัญญา ปัญญาอันยิ่ง โดยเฉพาะวิปัสสนาปัญญา ที่กำหนดรู้ความจริงแห่งไตรลักษณ์

อธิปัญญาสิกขา เรื่องอธิปัญญาอันจะต้องศึกษา, การศึกษาในอธิปัญญา, ข้อปฏิบัติสำหรับฝึกอบรมพัฒนาปัญญาอย่างสูง เพื่อให้เกิดความรู้แจ้ง มองเห็นสิ่งทั้งหลายตามเป็นจริง อันจะทำให้จิตใจหลุดพ้นเป็นอิสระ ปราศจากกิเลสและความทุกข์ เรียกกันง่ายๆว่า ปัญญา

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ค. 2018, 02:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


deecup เขียน:
Rosarin เขียน:
deecup เขียน:
หลายสำนัก หลายวัด เน้นการเจริญสติทุกอริยาบท มากกว่าเน้นการนั่งสมาธิเป็นชั่วโมง ข้ามคืนจนก้นใส้ติ่งแตก ก้นแตกก็มี

หลายสำนักเน้นการเคลื่อนไหว เช่นเคลื่อนไหวมือ แขน และรวมไปถึงการเดินจงกรม แต่นั่งสมาธิก็ทำนะแต่ทำไม่นาน

เป็นเพราะอะไรครับ หรือแม้แต่การดูจิตในชีวิตประจำวัน รู้เท่าทันจิต นี่ก็เน้นอริยาบทประจำวัน แต่ส่วนใหย่เขาจะนั่งสมาธิกันน้อย หรือเพราะ ทางโลกต้องทำงานมาก จะหาเวลาว่าง มานั่งสมาธิเป็นวันๆข้ามขืนนั้นยาก

หลายสำนักเลยเน้นการเจริญสติทุกอริยาบท ตั้งแต่ยืนเดินนั่งนอน กินข้าวก็ยังกินแบบพระ กำหนดอริยาบทการเคี้ยวการกลืน การดื่มน้ำลงคอ ต้องพิจารณาไม่ให้ติดรสชอบไม่ชอบ รวมไปถึงกินกล้วยก็อย่างับทั้งปาก ให้เอาช้อนแบ่งออก ไม่งั้นต้องปลงอาบัติแบบทางโลก เข้มมากเลย มีใครทำบ้าง ?

Kiss
ต้องเข้าใจก่อนค่ะว่าความจริงต้องตรงจริงคือเดี๋ยวนี้เลยค่ะ
ถ้าเราใช้ชีวิตตามปกติในการทำงานต่างๆก็คือมีสมาธิในการทำค่ะ
แต่เป็นมิจฉาสมาธิเพราะไม่ได้กำลังระลึกตามคือคิดถึงคำตถาคตอยู่
การเป็นผู้ตรงต้องกระทำตรงคือคิดตามตรงทีละ1คำตรงคำพร้อมรู้สึกตัว
ที่ตัวตนของตนเองว่ากำลังมีอะไรตรงตามคำที่กำลังได้ยินค่ะจึงเรียกว่าเริ่ม
มีสัมมาคือคิดตามได้ตรงความจริงที่ตนกำลังมีจริงๆไม่ใช่คิดอย่างอื่นไปด้วยค่ะ
:b20:
:b4: :b4:

คิด คือ ไม่คิด พอไม่คิด ก็คือคิด ผมมึนหัวมาก เช่นเราเคลื่อนไหวอยู่ เราไม่คิด บางอาจารย์ก็บอกว่า ไอ้ที่คุณไม่คิดนั่นแหละั คือคุณกำลังคิด :b14:

Kiss
:b1:
ทุกอย่างเกิดโดยความเป็นอนัตตาคือเลือกให้เกิดปัญญาไม่ได้ค่ะ
เลือกให้เกิดผลเดี๋ยวนี้เลยไม่ได้เพราะสิ่งที่ปรากฏเป็นผลของกรรม
แต่การคิดถูกเข้าใจถูกตามพระพุทธพจน์คือคิดตรง1คำเข้าใจทุกคำ
:b12:
คือการเพียรฟังเพื่อเข้าใจความจริงถูกตามได้ทีละขณะเพราะจิตเกิดดับทีละ1ขณะค่ะ
ถ้าคิดไม่ตรงคำและไม่ตรงขณะก็ไม่ใช่ผู้ตรงต่อการมีสัจจะค่ะเพราะมีความจริงปรากฏแล้ว
แต่อวิชชาไม่รู้จึงคิดไปเร่งให้เกิดเร็วยาวๆหลายชั่วโมงโดยนั่งหลับตาหาเองมันผิดทางแล้วนะคะ
เพราะทางรู้ความจริงคือการใช้จิตได้ยินตามเสียงนำทางจิตทางอื่นๆเข้าใจการเกิดแต่ละทางค่ะ
จนกว่าจะจำลักษณะสภาพธรรมที่กำลังปรากฏตรงตามที่กำลังฟังถูกตรงๆคือรู้ชัดเจนจริงๆนะคะ
ความเข้าใจที่รอบรู้อย่างนั้นจะมีได้ตอนลืมตาดูใข้หูฟังพระพุทธพจน์เข้าใจถูกตามไปด้วยจริงๆ
และที่กำลังลืมตาเห็นเป็นสิ่งหนึ่งสิ่งใดรอบๆตัวแล้วยังไม่เอ่ยชื่อก็คือจิตคิดนึกจำผิดหลงผิดแล้ว
:b12:
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ค. 2018, 02:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อิริยาบถ "ทางแห่งการเคลื่อนไหว" ท่าทางที่ร่างกายจะเป็นไป, ท่าที่เคลื่อนไหวตั้งวางร่างกายอย่างใดอย่างหนึ่ง, อิริยาบถหลักมี ๔ คือ ยืน เดิน นั่ง นอน, อิริยาบถย่อย เรียกว่า จุณณิยอิริยาบถ หรือ จุณณิกอิริยาบถ ได้แก่ ท่าที่แปรเปลี่ยนยักย้ายไประหว่างอิริยาบถทั้ง ๔ นั้น

เอกายนมรรค ทางอันเอก คือ ข้อปฏิบัติไปสู่ความบริสุทธิ์หมดจด หมดความทุกข์ และบรรลุนิพพาน ได้แก่ สติปัฏฐาน ๔; อย่างกว้างขวาง เช่น ในมหานิทเทส หมายถึง โพธิปักขิยธรรม ด้วย

:b13:
รูปตามอภิธรรม28รูปไม่มีอิริยาบททั้ง4เลย
แนะนำผิดๆทำให้ผู้อื่นคิดเห็นผิดโทษมาก
:b32: :b32:


นี่เขาเรียกว่า ยิ่งอ่านยิ่งโง่

ก็ในอภิธรรมเขาแยกซอยไปยังงั้นแล้วมันจะมีได้ยังไง ไปดูคัมภีร์อื่นบ้างสิ

ถามนะ ในแต่ละวันๆ คุณโรส ได้ยืน เดิน นั่ง นอน ไหม ตอบตรงๆนะ มีช้อยให้เลือก

1. ได้มี ยืน เดิน นั่ง นอน

2. ไม่มี (คือไม่เดิน ไม่นั่ง ไม่นอน ไม่ยืน คิกๆๆ)

:b12:
เพราะไม่รู้ไงว่าทุกข์คืออะไรจึงยึดถือตัวตนที่มีอิริยาบถกำกับอยู่ไงคะ
การจะระลึกตามได้ทันสภาพธรรมที่กำลังปรากฏครบ6ทางทั่วตัวต้องทัน
ตัวจริงคือสัจจะทีละ1คำสัจจะเริ่มเข้าใจทีละอย่างช้าๆก่อนฟังบ่อยๆจนจำได้
และระลึกได้เร็วขึ้นตามปัญญาที่เพิ่มขึ้นฟังไม่รู้เรื่องนั่นแหละปัญญาตนไม่พอค่ะ
จะยึดถืออิริยาบทไปตลอดชาติก็ถึงวิปัสสนาญาณไม่ได้หรอกนะคะแค่เห็นจริงๆไม่มี
เห็นแล้วดับแล้วมัวแต่ห่วงอิริยาบทเอาไม่ทันเลยสักทางมัวแต่ไปกำหนดมันไม่ทันรู้ยังคะ
:b32: :b32:



ตอบให้ตรงคำถามสิ คุณโรส เคย ยืน เดิน นั่ง นอน ไหม

cool
ตอนนี้กำลังยืนหรือเดินหรือนั่งหรือนอนอยู่ล่ะคะก็รู้สึกตัวเองตามปกติมีตัวตนแล้วนี่คะ
ไปบังคับหรือฝืนตัวตนนั่นแหละมีตัวตนชัดเจนมีท่าด้วยยิ่งจำตัวตนเข้าไปอีกหลายชั้น
คริคริคริบอกว่าให้เริ่มฟังเพื่อละไม่รู้ที่ไหลถล่มทลายอยู่ในขณะนี้เพื่อดับความเห็นผิด
จำแต่บัญญัติคำมันเป็นสัญญาจำคำตถาคตค่ะแต่ไม่เข้าใจความจริงที่ตนเองกำลังมีไง
:b12:
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ค. 2018, 05:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อิริยาบถ "ทางแห่งการเคลื่อนไหว" ท่าทางที่ร่างกายจะเป็นไป, ท่าที่เคลื่อนไหวตั้งวางร่างกายอย่างใดอย่างหนึ่ง, อิริยาบถหลักมี ๔ คือ ยืน เดิน นั่ง นอน, อิริยาบถย่อย เรียกว่า จุณณิยอิริยาบถ หรือ จุณณิกอิริยาบถ ได้แก่ ท่าที่แปรเปลี่ยนยักย้ายไประหว่างอิริยาบถทั้ง ๔ นั้น

เอกายนมรรค ทางอันเอก คือ ข้อปฏิบัติไปสู่ความบริสุทธิ์หมดจด หมดความทุกข์ และบรรลุนิพพาน ได้แก่ สติปัฏฐาน ๔; อย่างกว้างขวาง เช่น ในมหานิทเทส หมายถึง โพธิปักขิยธรรม ด้วย

:b13:
รูปตามอภิธรรม28รูปไม่มีอิริยาบททั้ง4เลย
แนะนำผิดๆทำให้ผู้อื่นคิดเห็นผิดโทษมาก
:b32: :b32:


นี่เขาเรียกว่า ยิ่งอ่านยิ่งโง่

ก็ในอภิธรรมเขาแยกซอยไปยังงั้นแล้วมันจะมีได้ยังไง ไปดูคัมภีร์อื่นบ้างสิ

ถามนะ ในแต่ละวันๆ คุณโรส ได้ยืน เดิน นั่ง นอน ไหม ตอบตรงๆนะ มีช้อยให้เลือก

1. ได้มี ยืน เดิน นั่ง นอน

2. ไม่มี (คือไม่เดิน ไม่นั่ง ไม่นอน ไม่ยืน คิกๆๆ)

:b12:
เพราะไม่รู้ไงว่าทุกข์คืออะไรจึงยึดถือตัวตนที่มีอิริยาบถกำกับอยู่ไงคะ
การจะระลึกตามได้ทันสภาพธรรมที่กำลังปรากฏครบ6ทางทั่วตัวต้องทัน
ตัวจริงคือสัจจะทีละ1คำสัจจะเริ่มเข้าใจทีละอย่างช้าๆก่อนฟังบ่อยๆจนจำได้
และระลึกได้เร็วขึ้นตามปัญญาที่เพิ่มขึ้นฟังไม่รู้เรื่องนั่นแหละปัญญาตนไม่พอค่ะ
จะยึดถืออิริยาบทไปตลอดชาติก็ถึงวิปัสสนาญาณไม่ได้หรอกนะคะแค่เห็นจริงๆไม่มี
เห็นแล้วดับแล้วมัวแต่ห่วงอิริยาบทเอาไม่ทันเลยสักทางมัวแต่ไปกำหนดมันไม่ทันรู้ยังคะ
:b32: :b32:



ตอบให้ตรงคำถามสิ คุณโรส เคย ยืน เดิน นั่ง นอน ไหม

cool
ตอนนี้กำลังยืนหรือเดินหรือนั่งหรือนอนอยู่ล่ะคะก็รู้สึกตัวเองตามปกติมีตัวตนแล้วนี่คะ
ไปบังคับหรือฝืนตัวตนนั่นแหละมีตัวตนชัดเจนมีท่าด้วยยิ่งจำตัวตนเข้าไปอีกหลายชั้น
คริคริคริบอกว่าให้เริ่มฟังเพื่อละไม่รู้ที่ไหลถล่มทลายอยู่ในขณะนี้เพื่อดับความเห็นผิด
จำแต่บัญญัติคำมันเป็นสัญญาจำคำตถาคตค่ะแต่ไม่เข้าใจความจริงที่ตนเองกำลังมีไง
:b12:
:b32: :b32:



บ้านธัมมะ น้ำโดยแม่สุจินต์ กับ คุณโรสเป็นต้น คิดว่าเข้าใจธัมม์ นั่นมันคิดเอาเอง ไม่ได้เข้าใจหรอก เขาเรียกฟุ้งซ่านธรรม :b13: คนที่ไปทำกรรมฐานเขาไปฝึกสติสัมปชัญญะ เพื่อให้รู้เข้าใจสภาวะชีวิต เรื่องนี้มันต้องฝึก (ทมะ) ต้องสร้างปัญญา (ภาวนามยปัญญา) ไม่ใช่ปล่อยให้คิดไปตามเรื่องแบบบ้านธัมมะอะไรนั่น

คุณโรสเขาเป็นอะไร

อ้างคำพูด:
จิตคิดด่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์

ไม่ได้ตั้งใจจะลบลู่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ แต่จิตมันแว๊บขึ้นมา จะทำอย่างไร จะให้คำหยาบคำด่า หรืออะไรที่คิดอกุศลหายไปค่ะ พยายามนึกคิดในสิ่งที่ดี..สวดมนต์ก็แล้วยังไม่หลุดไปรบกวน แนะนำด้วยค่ะ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 78 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร