วันเวลาปัจจุบัน 27 ก.ค. 2025, 23:27  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 24 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 มิ.ย. 2018, 19:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
มหากุศลจิต ๘ เกิดได้ใน ๓๐ ภูมิ (เว้น อสัญญสัตตภภูมิ)
แต่มหากุศลจิต ๘ จะไม่เกิดกับบุคคล ๕ จำพวก
๑. โสดาปัตติมรรค
๒. สกทาคามิมรรค
๓. อนาคามิมรรค
๔. อรหันตมรรค
๕. อรหันตผล

ทั้งนี้เพราะมรรคทั้ง ๔ มีขณะจิตเดียวเกิดขึ้นเพื่อประหารกิเลส แล้วดับลง
และมรรคทั้ง ๔ เกิดขึ้นในโลกุตตรจิตมีนิพพานเป็นอารมณ์
ส่วนอรหันตผลนั้น ชวนจิต ก็เป็นมหากิริยาจิต มีนิพพานเป็นอารมณ์
จึงกล่าวว่าบุคคล ๕ จำำพวกนี้มหากุศลจิต ๘ จะไม่เกิดขึ้นเลย


มหากุศลจิตเรียกอีกชื่อนึงว่ากามาวจรกุศลจิต 8 ก็ได้ค่ะ



ตามที่เขาแบ่งให้เรียนกันนั่นน่า มันเป็นระดับจิตซึ่งได้พัฒนาขึ้นไปเป็นขั้นๆ เช่น ขั้นกามาวจรจิต, รูปาวจรจิต, อรูปาวจรจิต, โลกุตตรจิต, (แบ่งเป็นภูมิก็ได้)

ปุถุชนคนทั่วๆไปอย่างเราๆท่านๆก็ใช้จิตใช้ความรู้สึกนึกคิดนั่นๆนี่ๆอยู่เพียงแค่ขั้นกามาวจรจิต ที่ในแต่ละวันเวลานาทีวินาทีเซี้ยววินาทีก็มีทั้งกุศลจิตบ้าง อกุศลจิตบ้างเกิดๆดับๆอยู่ ไปไม่ถึง รูปาวจรจิต,อรูปาวจรจิต, โลกุตรจิตดอก เพราะอะไร เพราะยังไม่ได้เริ่มฝึกหัดพัฒนาจิตอะไรเลย


อย่างเมโลกสวยพูดนั่นน่าเขาเรียกพูดตามตำรา :b32: เอ้าเถียงซี่ เอ้า :b13:



ที่ว่านี่ชัดแล้วนะ เริ่มเรียนอภิธรรมชั้นจูฬ-ตรี ก็เริ่มท่องแล้ว จึงว่าว่าตามตำรา


เสริมเข้าภาคปฏิบัติ


กามาวจรจิต <= => รูปาวจรจิต => รูปาวจรจิต => โลกุตรจิต


ปุถุชนคนทั่วๆไป อย่างเราๆท่านๆ ใช้ชีวิตอยู่เพียงขั้นกามาวจร (กามาวจรจิต) ซึ่งบางขณะกุศลจิตเกิด เกิดไม่แรงพอก็อยู่ในใจ เกิดแรงก็ล่วงออกมาทางกาย ทางวาจา ก็พูดดี ทำดี บางขณะอกุศลจิตเกิด เกิดไม่แรงก็หมกอยู่ในใจ เกิดแรงก็ล่วงออกมาทางกาย ทางวาจา ก็ด่ากันบ้าง ประหัตประหารกันบ้าง ฯลฯ ว่ากันไป

อยู่มาวันหนึ่งผู้นั้นเกิดสำนึกที่เป็นกุศล เพราะเห็นโลกและชีวิตประกอบไปด้วยทุกข์นานา จึงใช้ชีวิตอย่างรู้ค่า จึงสมาทานศีล เป็นผู้มีศีล (กัลยาณปุถุชน) เขาไม่หยุดอยู่แค่นั้น เห็นว่าควรเจริญสมาธิด้วย => (รูปาวจรจิต – อรูปาวจรจิต) เห็นอีกว่าไม่ควรหยุดอยู่เพียงแค่นี้ ควรพัฒนาปัญญา คือเจริญปัญญาด้วย => โลกุตตรจิต ก็จึง ( = ศีล สมาธิ ปัญญา = ศีลก็เพื่อสมาธิ สมาธิก็เพื่อปัญญา ปัญญาก็เพื่อวิมุตติ หลุดพ้นจากความทุกข์ ตามแนวพุทธธรรมตามระดับชั้นน

สรุปก็คือ กามาวจรจิต รูปาวจรจิต อรูปาวจรจิต โลกุตตรจิต มันเป็นระดับจิตที่ผู้นั้นใดพัฒนาขึ้นไปๆ
ตามหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา

ถ้าไม่พัฒนาก็อยู่ขั้นกามาวจรจิตเหมือนคนทั่วๆไป

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 มิ.ย. 2018, 01:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
มหากุศลจิต ๘ เกิดได้ใน ๓๐ ภูมิ (เว้น อสัญญสัตตภภูมิ)
แต่มหากุศลจิต ๘ จะไม่เกิดกับบุคคล ๕ จำพวก
๑. โสดาปัตติมรรค
๒. สกทาคามิมรรค
๓. อนาคามิมรรค
๔. อรหันตมรรค
๕. อรหันตผล

ทั้งนี้เพราะมรรคทั้ง ๔ มีขณะจิตเดียวเกิดขึ้นเพื่อประหารกิเลส แล้วดับลง
และมรรคทั้ง ๔ เกิดขึ้นในโลกุตตรจิตมีนิพพานเป็นอารมณ์
ส่วนอรหันตผลนั้น ชวนจิต ก็เป็นมหากิริยาจิต มีนิพพานเป็นอารมณ์
จึงกล่าวว่าบุคคล ๕ จำำพวกนี้มหากุศลจิต ๘ จะไม่เกิดขึ้นเลย


มหากุศลจิตเรียกอีกชื่อนึงว่ากามาวจรกุศลจิต 8 ก็ได้ค่ะ



ตามที่เขาแบ่งให้เรียนกันนั่นน่า มันเป็นระดับจิตซึ่งได้พัฒนาขึ้นไปเป็นขั้นๆ เช่น ขั้นกามาวจรจิต, รูปาวจรจิต, อรูปาวจรจิต, โลกุตตรจิต, (แบ่งเป็นภูมิก็ได้)

ปุถุชนคนทั่วๆไปอย่างเราๆท่านๆก็ใช้จิตใช้ความรู้สึกนึกคิดนั่นๆนี่ๆอยู่เพียงแค่ขั้นกามาวจรจิต ที่ในแต่ละวันเวลานาทีวินาทีเซี้ยววินาทีก็มีทั้งกุศลจิตบ้าง อกุศลจิตบ้างเกิดๆดับๆอยู่ ไปไม่ถึง รูปาวจรจิต,อรูปาวจรจิต, โลกุตรจิตดอก เพราะอะไร เพราะยังไม่ได้เริ่มฝึกหัดพัฒนาจิตอะไรเลย


อย่างเมโลกสวยพูดนั่นน่าเขาเรียกพูดตามตำรา :b32: เอ้าเถียงซี่ เอ้า :b13:



ที่ว่านี่ชัดแล้วนะ เริ่มเรียนอภิธรรมชั้นจูฬ-ตรี ก็เริ่มท่องแล้ว จึงว่าว่าตามตำรา


เสริมเข้าภาคปฏิบัติ


กามาวจรจิต <= => รูปาวจรจิต => รูปาวจรจิต => โลกุตรจิต


ปุถุชนคนทั่วๆไป อย่างเราๆท่านๆ ใช้ชีวิตอยู่เพียงขั้นกามาวจร (กามาวจรจิต) ซึ่งบางขณะกุศลจิตเกิด เกิดไม่แรงพอก็อยู่ในใจ เกิดแรงก็ล่วงออกมาทางกาย ทางวาจา ก็พูดดี ทำดี บางขณะอกุศลจิตเกิด เกิดไม่แรงก็หมกอยู่ในใจ เกิดแรงก็ล่วงออกมาทางกาย ทางวาจา ก็ด่ากันบ้าง ประหัตประหารกันบ้าง ฯลฯ ว่ากันไป

อยู่มาวันหนึ่งผู้นั้นเกิดสำนึกที่เป็นกุศล เพราะเห็นโลกและชีวิตประกอบไปด้วยทุกข์นานา จึงใช้ชีวิตอย่างรู้ค่า จึงสมาทานศีล เป็นผู้มีศีล (กัลยาณปุถุชน) เขาไม่หยุดอยู่แค่นั้น เห็นว่าควรเจริญสมาธิด้วย => (รูปาวจรจิต – อรูปาวจรจิต) เห็นอีกว่าไม่ควรหยุดอยู่เพียงแค่นี้ ควรพัฒนาปัญญา คือเจริญปัญญาด้วย => โลกุตตรจิต ก็จึง ( = ศีล สมาธิ ปัญญา = ศีลก็เพื่อสมาธิ สมาธิก็เพื่อปัญญา ปัญญาก็เพื่อวิมุตติ หลุดพ้นจากความทุกข์ ตามแนวพุทธธรรมตามระดับชั้นน

สรุปก็คือ กามาวจรจิต รูปาวจรจิต อรูปาวจรจิต โลกุตตรจิต มันเป็นระดับจิตที่ผู้นั้นใดพัฒนาขึ้นไปๆ
ตามหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา

ถ้าไม่พัฒนาก็อยู่ขั้นกามาวจรจิตเหมือนคนทั่วๆไป



ชัดเรยค่ะ
ชัดมากๆ

นี่แหละค่ะ คุณกรัชกายแสดงการปฎิบัติ ที่ไม่สอดคล้องกับปริยัติพระอภิธรรม
เพราะไม่ได้เรียนปรมัตถ์มาเรย

เรยพูดจาผิดเพี้ยนไป กลายเป็นมีระดับแบบโน้นแบบนี้
มีปุถุชนมีผู้ปฎิบัติมีระดับจิตที่พัฒนาเป็นแบบโน้นแบบนี้
คุณกรัชกายก็เรย ยังมีความเห็นผิด อัตตานุทิฎฐิว่าเป็นตัวตนเป็นเราๆท่านๆ ปุถุชน
เพราะไม่ได้เรียนพระอภิธรรม

แต่ในปริยัติพระอภิธรรมนะคะ
ปรมัตถ์ธรรมเค้าสอนกันไม่ผิดหรอกค่ะ
การปฎิบัติน่ะมี แต่ไม่มีผุ้ปฎิบัติ
และระดับสภาวะเหล่านั้นในปรมัถต์ก็เพี้ยนแระหละค่ะ

ปรมัตถ์มีแต่จิต 1 เจตสิก 52 และ สภาวะรูป 18
ไม่มีหรอก ปุถุชงปุถุชน
มีแต่มหาภูติ4 อุทายรูป 24

เพราะคุณกรัชกายไม่ได้เรียนปริยัติพระอภิธรรมมาเรย
ก็เรยเมาหนัก ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด
ไม่สามารถเข้าถึงอธิปัญญาสิกขาได้ เพราะไม่ได้เรียนพระอภิธรรมค่ะ
หนูแนะนำใมห้ไปหัดเรียนปริยัติเบื้องต้นก่อนนะคะ จะได้มีพื้นฐานที่ดีค่ะ



โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 มิ.ย. 2018, 07:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
มหากุศลจิต ๘ เกิดได้ใน ๓๐ ภูมิ (เว้น อสัญญสัตตภภูมิ)
แต่มหากุศลจิต ๘ จะไม่เกิดกับบุคคล ๕ จำพวก
๑. โสดาปัตติมรรค
๒. สกทาคามิมรรค
๓. อนาคามิมรรค
๔. อรหันตมรรค
๕. อรหันตผล

ทั้งนี้เพราะมรรคทั้ง ๔ มีขณะจิตเดียวเกิดขึ้นเพื่อประหารกิเลส แล้วดับลง
และมรรคทั้ง ๔ เกิดขึ้นในโลกุตตรจิตมีนิพพานเป็นอารมณ์
ส่วนอรหันตผลนั้น ชวนจิต ก็เป็นมหากิริยาจิต มีนิพพานเป็นอารมณ์
จึงกล่าวว่าบุคคล ๕ จำำพวกนี้มหากุศลจิต ๘ จะไม่เกิดขึ้นเลย


มหากุศลจิตเรียกอีกชื่อนึงว่ากามาวจรกุศลจิต 8 ก็ได้ค่ะ



ตามที่เขาแบ่งให้เรียนกันนั่นน่า มันเป็นระดับจิตซึ่งได้พัฒนาขึ้นไปเป็นขั้นๆ เช่น ขั้นกามาวจรจิต, รูปาวจรจิต, อรูปาวจรจิต, โลกุตตรจิต, (แบ่งเป็นภูมิก็ได้)

ปุถุชนคนทั่วๆไปอย่างเราๆท่านๆก็ใช้จิตใช้ความรู้สึกนึกคิดนั่นๆนี่ๆอยู่เพียงแค่ขั้นกามาวจรจิต ที่ในแต่ละวันเวลานาทีวินาทีเซี้ยววินาทีก็มีทั้งกุศลจิตบ้าง อกุศลจิตบ้างเกิดๆดับๆอยู่ ไปไม่ถึง รูปาวจรจิต,อรูปาวจรจิต, โลกุตรจิตดอก เพราะอะไร เพราะยังไม่ได้เริ่มฝึกหัดพัฒนาจิตอะไรเลย


อย่างเมโลกสวยพูดนั่นน่าเขาเรียกพูดตามตำรา :b32: เอ้าเถียงซี่ เอ้า :b13:



ที่ว่านี่ชัดแล้วนะ เริ่มเรียนอภิธรรมชั้นจูฬ-ตรี ก็เริ่มท่องแล้ว จึงว่าว่าตามตำรา


เสริมเข้าภาคปฏิบัติ


กามาวจรจิต <= => รูปาวจรจิต => รูปาวจรจิต => โลกุตรจิต


ปุถุชนคนทั่วๆไป อย่างเราๆท่านๆ ใช้ชีวิตอยู่เพียงขั้นกามาวจร (กามาวจรจิต) ซึ่งบางขณะกุศลจิตเกิด เกิดไม่แรงพอก็อยู่ในใจ เกิดแรงก็ล่วงออกมาทางกาย ทางวาจา ก็พูดดี ทำดี บางขณะอกุศลจิตเกิด เกิดไม่แรงก็หมกอยู่ในใจ เกิดแรงก็ล่วงออกมาทางกาย ทางวาจา ก็ด่ากันบ้าง ประหัตประหารกันบ้าง ฯลฯ ว่ากันไป

อยู่มาวันหนึ่งผู้นั้นเกิดสำนึกที่เป็นกุศล เพราะเห็นโลกและชีวิตประกอบไปด้วยทุกข์นานา จึงใช้ชีวิตอย่างรู้ค่า จึงสมาทานศีล เป็นผู้มีศีล (กัลยาณปุถุชน) เขาไม่หยุดอยู่แค่นั้น เห็นว่าควรเจริญสมาธิด้วย => (รูปาวจรจิต – อรูปาวจรจิต) เห็นอีกว่าไม่ควรหยุดอยู่เพียงแค่นี้ ควรพัฒนาปัญญา คือเจริญปัญญาด้วย => โลกุตตรจิต ก็จึง ( = ศีล สมาธิ ปัญญา = ศีลก็เพื่อสมาธิ สมาธิก็เพื่อปัญญา ปัญญาก็เพื่อวิมุตติ หลุดพ้นจากความทุกข์ ตามแนวพุทธธรรมตามระดับชั้นน

สรุปก็คือ กามาวจรจิต รูปาวจรจิต อรูปาวจรจิต โลกุตตรจิต มันเป็นระดับจิตที่ผู้นั้นใดพัฒนาขึ้นไปๆ
ตามหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา

ถ้าไม่พัฒนาก็อยู่ขั้นกามาวจรจิตเหมือนคนทั่วๆไป



ชัดเรยค่ะ
ชัดมากๆ

นี่แหละค่ะ คุณกรัชกายแสดงการปฎิบัติ ที่ไม่สอดคล้องกับปริยัติพระอภิธรรม
เพราะไม่ได้เรียนปรมัตถ์มาเรย

เรยพูดจาผิดเพี้ยนไป กลายเป็นมีระดับแบบโน้นแบบนี้
มีปุถุชนมีผู้ปฎิบัติมีระดับจิตที่พัฒนาเป็นแบบโน้นแบบนี้
คุณกรัชกายก็เรย ยังมีความเห็นผิด อัตตานุทิฎฐิว่าเป็นตัวตนเป็นเราๆท่านๆ ปุถุชน
เพราะไม่ได้เรียนพระอภิธรรม

แต่ในปริยัติพระอภิธรรมนะคะ
ปรมัตถ์ธรรมเค้าสอนกันไม่ผิดหรอกค่ะ
การปฎิบัติน่ะมี แต่ไม่มีผุ้ปฎิบัติ
และระดับสภาวะเหล่านั้นในปรมัถต์ก็เพี้ยนแระหละค่ะ

ปรมัตถ์มีแต่จิต 1 เจตสิก 52 และ สภาวะรูป 18
ไม่มีหรอก ปุถุชงปุถุชน
มีแต่มหาภูติ4 อุทายรูป 24

เพราะคุณกรัชกายไม่ได้เรียนปริยัติพระอภิธรรมมาเรย
ก็เรยเมาหนัก ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด
ไม่สามารถเข้าถึงอธิปัญญาสิกขาได้ เพราะไม่ได้เรียนพระอภิธรรมค่ะ
หนูแนะนำใมห้ไปหัดเรียนปริยัติเบื้องต้นก่อนนะคะ จะได้มีพื้นฐานที่ดีค่ะ






อ้างคำพูด:
การปฎิบัติน่ะมี แต่ไม่มีผุ้ปฎิบัติ
และระดับสภาวะเหล่านั้นในปรมัถต์ก็เพี้ยนแระหละค่ะ


เมโลกซวย เหาะเกินลงกา เมโลกสวยพูดอย่างนั้น กรัชกายพูดอย่างนี้ "คนน่ามี แต่ไม่มีคน" คิกๆๆ

นู๋เมโลกสวย พูดอย่างนั้นเขาเรียกมโนไปตามหนังสือ คืออ่านหนังสือแล้วจำได้ เรียกว่ารู้ไปตามสัญญา (ความจำ) พอจำได้แล้วมโนฟุ้งไป แหมๆๆ ปฏิบัติน่ามี แต่ไม่มีผู้ปฏิบัติ คิกๆๆ คนน่ามี แต่ไม่มีคน :b32:

ปอลิง. ถามจริงๆ เมโลกสวยเห็นความเป็นอย่างนั้นของมันมั้ย คือเห็นความเป็นปรมัตถ์ที่ว่านั่นน่า

1. เห็นแล้ว
2. ยังไม่เห็น

ตอบข้อไหน 1 หรือ 2 :b13:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 มิ.ย. 2018, 10:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
มหากุศลจิต ๘ เกิดได้ใน ๓๐ ภูมิ (เว้น อสัญญสัตตภภูมิ)
แต่มหากุศลจิต ๘ จะไม่เกิดกับบุคคล ๕ จำพวก
๑. โสดาปัตติมรรค
๒. สกทาคามิมรรค
๓. อนาคามิมรรค
๔. อรหันตมรรค
๕. อรหันตผล

ทั้งนี้เพราะมรรคทั้ง ๔ มีขณะจิตเดียวเกิดขึ้นเพื่อประหารกิเลส แล้วดับลง
และมรรคทั้ง ๔ เกิดขึ้นในโลกุตตรจิตมีนิพพานเป็นอารมณ์
ส่วนอรหันตผลนั้น ชวนจิต ก็เป็นมหากิริยาจิต มีนิพพานเป็นอารมณ์
จึงกล่าวว่าบุคคล ๕ จำำพวกนี้มหากุศลจิต ๘ จะไม่เกิดขึ้นเลย


มหากุศลจิตเรียกอีกชื่อนึงว่ากามาวจรกุศลจิต 8 ก็ได้ค่ะ



ตามที่เขาแบ่งให้เรียนกันนั่นน่า มันเป็นระดับจิตซึ่งได้พัฒนาขึ้นไปเป็นขั้นๆ เช่น ขั้นกามาวจรจิต, รูปาวจรจิต, อรูปาวจรจิต, โลกุตตรจิต, (แบ่งเป็นภูมิก็ได้)

ปุถุชนคนทั่วๆไปอย่างเราๆท่านๆก็ใช้จิตใช้ความรู้สึกนึกคิดนั่นๆนี่ๆอยู่เพียงแค่ขั้นกามาวจรจิต ที่ในแต่ละวันเวลานาทีวินาทีเซี้ยววินาทีก็มีทั้งกุศลจิตบ้าง อกุศลจิตบ้างเกิดๆดับๆอยู่ ไปไม่ถึง รูปาวจรจิต,อรูปาวจรจิต, โลกุตรจิตดอก เพราะอะไร เพราะยังไม่ได้เริ่มฝึกหัดพัฒนาจิตอะไรเลย


อย่างเมโลกสวยพูดนั่นน่าเขาเรียกพูดตามตำรา :b32: เอ้าเถียงซี่ เอ้า :b13:



ที่ว่านี่ชัดแล้วนะ เริ่มเรียนอภิธรรมชั้นจูฬ-ตรี ก็เริ่มท่องแล้ว จึงว่าว่าตามตำรา


เสริมเข้าภาคปฏิบัติ


กามาวจรจิต <= => รูปาวจรจิต => รูปาวจรจิต => โลกุตรจิต


ปุถุชนคนทั่วๆไป อย่างเราๆท่านๆ ใช้ชีวิตอยู่เพียงขั้นกามาวจร (กามาวจรจิต) ซึ่งบางขณะกุศลจิตเกิด เกิดไม่แรงพอก็อยู่ในใจ เกิดแรงก็ล่วงออกมาทางกาย ทางวาจา ก็พูดดี ทำดี บางขณะอกุศลจิตเกิด เกิดไม่แรงก็หมกอยู่ในใจ เกิดแรงก็ล่วงออกมาทางกาย ทางวาจา ก็ด่ากันบ้าง ประหัตประหารกันบ้าง ฯลฯ ว่ากันไป

อยู่มาวันหนึ่งผู้นั้นเกิดสำนึกที่เป็นกุศล เพราะเห็นโลกและชีวิตประกอบไปด้วยทุกข์นานา จึงใช้ชีวิตอย่างรู้ค่า จึงสมาทานศีล เป็นผู้มีศีล (กัลยาณปุถุชน) เขาไม่หยุดอยู่แค่นั้น เห็นว่าควรเจริญสมาธิด้วย => (รูปาวจรจิต – อรูปาวจรจิต) เห็นอีกว่าไม่ควรหยุดอยู่เพียงแค่นี้ ควรพัฒนาปัญญา คือเจริญปัญญาด้วย => โลกุตตรจิต ก็จึง ( = ศีล สมาธิ ปัญญา = ศีลก็เพื่อสมาธิ สมาธิก็เพื่อปัญญา ปัญญาก็เพื่อวิมุตติ หลุดพ้นจากความทุกข์ ตามแนวพุทธธรรมตามระดับชั้นน

สรุปก็คือ กามาวจรจิต รูปาวจรจิต อรูปาวจรจิต โลกุตตรจิต มันเป็นระดับจิตที่ผู้นั้นใดพัฒนาขึ้นไปๆ
ตามหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา

ถ้าไม่พัฒนาก็อยู่ขั้นกามาวจรจิตเหมือนคนทั่วๆไป



ชัดเรยค่ะ
ชัดมากๆ

นี่แหละค่ะ คุณกรัชกายแสดงการปฎิบัติ ที่ไม่สอดคล้องกับปริยัติพระอภิธรรม
เพราะไม่ได้เรียนปรมัตถ์มาเรย

เรยพูดจาผิดเพี้ยนไป กลายเป็นมีระดับแบบโน้นแบบนี้
มีปุถุชนมีผู้ปฎิบัติมีระดับจิตที่พัฒนาเป็นแบบโน้นแบบนี้
คุณกรัชกายก็เรย ยังมีความเห็นผิด อัตตานุทิฎฐิว่าเป็นตัวตนเป็นเราๆท่านๆ ปุถุชน
เพราะไม่ได้เรียนพระอภิธรรม

แต่ในปริยัติพระอภิธรรมนะคะ
ปรมัตถ์ธรรมเค้าสอนกันไม่ผิดหรอกค่ะ
การปฎิบัติน่ะมี แต่ไม่มีผุ้ปฎิบัติ
และระดับสภาวะเหล่านั้นในปรมัถต์ก็เพี้ยนแระหละค่ะ

ปรมัตถ์มีแต่จิต 1 เจตสิก 52 และ สภาวะรูป 18
ไม่มีหรอก ปุถุชงปุถุชน
มีแต่มหาภูติ4 อุทายรูป 24

เพราะคุณกรัชกายไม่ได้เรียนปริยัติพระอภิธรรมมาเรย
ก็เรยเมาหนัก ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด
ไม่สามารถเข้าถึงอธิปัญญาสิกขาได้ เพราะไม่ได้เรียนพระอภิธรรมค่ะ
หนูแนะนำใมห้ไปหัดเรียนปริยัติเบื้องต้นก่อนนะคะ จะได้มีพื้นฐานที่ดีค่ะ


มาอีกแระ จากพันทิพ :b28: เมโลกสวย ว่ามีผู้ปฏิบัติมั้ย หรือมีแต่จิต เจตสิก เอ้า นี่


อ้างคำพูด:
สวัสดีค่ะ
คือหนูสวดมนต์ บทต่างๆ หลายบท หลักๆก็พาหุง กับชินบัญชร และก็มีการนั่งสมาธิ และแผ่เมตตาหลังนั่งเสร็จทุกครั้งค่ะ
ประเด็นว่าหลังจากทำทุกอย่างเสร็จ จะเกิดอาการ เสียวๆ ร้อน วูบวาบตรงเเผ่นหลังค่ะ ไปทางเอวหน่อยๆ มันร้อนเเล้วก็เสียวๆวูบวาบค่ะ
เป็นมากค่ะ ไม่ใช่หนูคิดไปเอง แต่มันเป็นแบบนี้จริงๆ จะไม่หายจนกว่าจะนอนหลับไปค่ะ ตื่นมาก็หาย หนูอยากรู้ว่าเกิดจากอะไรคะ
มีใครเป็นแบบนี้บ้างคะ หรือเกิดจากการนั่งนานเกินไป

https://pantip.com/topic/37738708




อ้างคำพูด:
ปรมัตถ์มีแต่จิต 1 เจตสิก 52 และ สภาวะรูป 18
ไม่มีหรอก ปุถุชงปุถุชน
มีแต่มหาภูติ 4 อุทายรูป 24


อันที่จริงก็เห็นๆอยู่ว่าเมโลกสวย มั่วปนเปกันระหว่างสมมติ กับ ปรมัตถ์ คือแยกไม่ออก คิกๆๆ จขทก.ดูไว้น่ะ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 มิ.ย. 2018, 15:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
มหากุศลจิต ๘ เกิดได้ใน ๓๐ ภูมิ (เว้น อสัญญสัตตภภูมิ)
แต่มหากุศลจิต ๘ จะไม่เกิดกับบุคคล ๕ จำพวก
๑. โสดาปัตติมรรค
๒. สกทาคามิมรรค
๓. อนาคามิมรรค
๔. อรหันตมรรค
๕. อรหันตผล

ทั้งนี้เพราะมรรคทั้ง ๔ มีขณะจิตเดียวเกิดขึ้นเพื่อประหารกิเลส แล้วดับลง
และมรรคทั้ง ๔ เกิดขึ้นในโลกุตตรจิตมีนิพพานเป็นอารมณ์
ส่วนอรหันตผลนั้น ชวนจิต ก็เป็นมหากิริยาจิต มีนิพพานเป็นอารมณ์
จึงกล่าวว่าบุคคล ๕ จำำพวกนี้มหากุศลจิต ๘ จะไม่เกิดขึ้นเลย


มหากุศลจิตเรียกอีกชื่อนึงว่ากามาวจรกุศลจิต 8 ก็ได้ค่ะ



ตามที่เขาแบ่งให้เรียนกันนั่นน่า มันเป็นระดับจิตซึ่งได้พัฒนาขึ้นไปเป็นขั้นๆ เช่น ขั้นกามาวจรจิต, รูปาวจรจิต, อรูปาวจรจิต, โลกุตตรจิต, (แบ่งเป็นภูมิก็ได้)

ปุถุชนคนทั่วๆไปอย่างเราๆท่านๆก็ใช้จิตใช้ความรู้สึกนึกคิดนั่นๆนี่ๆอยู่เพียงแค่ขั้นกามาวจรจิต ที่ในแต่ละวันเวลานาทีวินาทีเซี้ยววินาทีก็มีทั้งกุศลจิตบ้าง อกุศลจิตบ้างเกิดๆดับๆอยู่ ไปไม่ถึง รูปาวจรจิต,อรูปาวจรจิต, โลกุตรจิตดอก เพราะอะไร เพราะยังไม่ได้เริ่มฝึกหัดพัฒนาจิตอะไรเลย


อย่างเมโลกสวยพูดนั่นน่าเขาเรียกพูดตามตำรา :b32: เอ้าเถียงซี่ เอ้า :b13:



ที่ว่านี่ชัดแล้วนะ เริ่มเรียนอภิธรรมชั้นจูฬ-ตรี ก็เริ่มท่องแล้ว จึงว่าว่าตามตำรา


เสริมเข้าภาคปฏิบัติ


กามาวจรจิต <= => รูปาวจรจิต => รูปาวจรจิต => โลกุตรจิต


ปุถุชนคนทั่วๆไป อย่างเราๆท่านๆ ใช้ชีวิตอยู่เพียงขั้นกามาวจร (กามาวจรจิต) ซึ่งบางขณะกุศลจิตเกิด เกิดไม่แรงพอก็อยู่ในใจ เกิดแรงก็ล่วงออกมาทางกาย ทางวาจา ก็พูดดี ทำดี บางขณะอกุศลจิตเกิด เกิดไม่แรงก็หมกอยู่ในใจ เกิดแรงก็ล่วงออกมาทางกาย ทางวาจา ก็ด่ากันบ้าง ประหัตประหารกันบ้าง ฯลฯ ว่ากันไป

อยู่มาวันหนึ่งผู้นั้นเกิดสำนึกที่เป็นกุศล เพราะเห็นโลกและชีวิตประกอบไปด้วยทุกข์นานา จึงใช้ชีวิตอย่างรู้ค่า จึงสมาทานศีล เป็นผู้มีศีล (กัลยาณปุถุชน) เขาไม่หยุดอยู่แค่นั้น เห็นว่าควรเจริญสมาธิด้วย => (รูปาวจรจิต – อรูปาวจรจิต) เห็นอีกว่าไม่ควรหยุดอยู่เพียงแค่นี้ ควรพัฒนาปัญญา คือเจริญปัญญาด้วย => โลกุตตรจิต ก็จึง ( = ศีล สมาธิ ปัญญา = ศีลก็เพื่อสมาธิ สมาธิก็เพื่อปัญญา ปัญญาก็เพื่อวิมุตติ หลุดพ้นจากความทุกข์ ตามแนวพุทธธรรมตามระดับชั้นน

สรุปก็คือ กามาวจรจิต รูปาวจรจิต อรูปาวจรจิต โลกุตตรจิต มันเป็นระดับจิตที่ผู้นั้นใดพัฒนาขึ้นไปๆ
ตามหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา

ถ้าไม่พัฒนาก็อยู่ขั้นกามาวจรจิตเหมือนคนทั่วๆไป



ชัดเรยค่ะ
ชัดมากๆ

นี่แหละค่ะ คุณกรัชกายแสดงการปฎิบัติ ที่ไม่สอดคล้องกับปริยัติพระอภิธรรม
เพราะไม่ได้เรียนปรมัตถ์มาเรย

เรยพูดจาผิดเพี้ยนไป กลายเป็นมีระดับแบบโน้นแบบนี้
มีปุถุชนมีผู้ปฎิบัติมีระดับจิตที่พัฒนาเป็นแบบโน้นแบบนี้
คุณกรัชกายก็เรย ยังมีความเห็นผิด อัตตานุทิฎฐิว่าเป็นตัวตนเป็นเราๆท่านๆ ปุถุชน
เพราะไม่ได้เรียนพระอภิธรรม

แต่ในปริยัติพระอภิธรรมนะคะ
ปรมัตถ์ธรรมเค้าสอนกันไม่ผิดหรอกค่ะ
การปฎิบัติน่ะมี แต่ไม่มีผุ้ปฎิบัติ
และระดับสภาวะเหล่านั้นในปรมัถต์ก็เพี้ยนแระหละค่ะ

ปรมัตถ์มีแต่จิต 1 เจตสิก 52 และ สภาวะรูป 18
ไม่มีหรอก ปุถุชงปุถุชน
มีแต่มหาภูติ4 อุทายรูป 24

เพราะคุณกรัชกายไม่ได้เรียนปริยัติพระอภิธรรมมาเรย
ก็เรยเมาหนัก ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด
ไม่สามารถเข้าถึงอธิปัญญาสิกขาได้ เพราะไม่ได้เรียนพระอภิธรรมค่ะ
หนูแนะนำใมห้ไปหัดเรียนปริยัติเบื้องต้นก่อนนะคะ จะได้มีพื้นฐานที่ดีค่ะ


มาอีกแระ จากพันทิพ :b28: เมโลกสวย ว่ามีผู้ปฏิบัติมั้ย หรือมีแต่จิต เจตสิก เอ้า นี่


อ้างคำพูด:
สวัสดีค่ะ
คือหนูสวดมนต์ บทต่างๆ หลายบท หลักๆก็พาหุง กับชินบัญชร และก็มีการนั่งสมาธิ และแผ่เมตตาหลังนั่งเสร็จทุกครั้งค่ะ
ประเด็นว่าหลังจากทำทุกอย่างเสร็จ จะเกิดอาการ เสียวๆ ร้อน วูบวาบตรงเเผ่นหลังค่ะ ไปทางเอวหน่อยๆ มันร้อนเเล้วก็เสียวๆวูบวาบค่ะ
เป็นมากค่ะ ไม่ใช่หนูคิดไปเอง แต่มันเป็นแบบนี้จริงๆ จะไม่หายจนกว่าจะนอนหลับไปค่ะ ตื่นมาก็หาย หนูอยากรู้ว่าเกิดจากอะไรคะ
มีใครเป็นแบบนี้บ้างคะ หรือเกิดจากการนั่งนานเกินไป

https://pantip.com/topic/37738708




อ้างคำพูด:
ปรมัตถ์มีแต่จิต 1 เจตสิก 52 และ สภาวะรูป 18
ไม่มีหรอก ปุถุชงปุถุชน
มีแต่มหาภูติ 4 อุทายรูป 24


อันที่จริงก็เห็นๆอยู่ว่าเมโลกสวย มั่วปนเปกันระหว่างสมมติ กับ ปรมัตถ์ คือแยกไม่ออก คิกๆๆ จขทก.ดูไว้น่ะ :b1:



ความจริงก็คือ

คุณกรัชกายแถเข้าป่าเข้าพงไปแล้ว
แถไปด้วยความไม่รู้เรื่องของตนเอง

เจ้าของกระทู้ลุงหมาน และผู้ที่เคยศึกษา และระหว่างศึกษา พระอภิธรรม ก็เข้าใจดีที่หนูพูดในปรมัตถ์ธรรมและค่ะ
และก็ดูออกหมดหละค่ะ

ว่า

เพราะความจริงก็คือ คุณกรัชกาย ไม่ได้เรียนพระอภิธรรมปิฎก 4200 เรย
เรยไม่มีอธิปัญญาสิกขา
เพราะความจริงก็คือ คุณกรัชกาย ไม่มีความรู้เรื่องปรมัตถ์ธรรมเรย
เรยไม่มีอธิปัญญาสิกขา
เพราะความจริงก็คือ คุณกรัชกาย ไม่มีความรู้เรื่องสมมุติและบัญญัติเรย
เรยไม่มีอธิปัญญาสิกขา
เพราะความจริงก็คือ คุณกรัชกาย ไม่มีการศึกษาพระอภิธรรมมัตสังคหะ 9 ปริเฉทมาเรย
เรยไม่มีอธิปัญญาสิกขา

ก็เรยแถแหลกเข้ารกเข้าพง

ปรมัตถ์ธรรมไม่มีหรอกค่ะ การปนเปมั่ว ระหว่างสมมุติกะปรมัตถ์

พระอภิธรรม มีแต่ ธรรมที่เป็นปัจจัย ธรรมที่สงเคาห์ ธรรมที่อุปปาระ
ไม่มีสอนเรืองปนมั่วหรอก ค่ะ
ไม่มีสอนเรื่องเงินทอนวัดหรอกค่ะ

เถียงสิคะ กรัชกายเด็กน้อยอวดฉลาด ที่ไม่มีอธิปัญญาสิกขา
เพราะไม่ได้เรียนพระอภิธรรม


จริงมั๊ยคะคุณลุงหมาน



โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 มิ.ย. 2018, 18:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:

ความจริงก็คือ

คุณกรัชกายแถเข้าป่าเข้าพงไปแล้ว
แถไปด้วยความไม่รู้เรื่องของตนเอง

เจ้าของกระทู้ลุงหมาน และผู้ที่เคยศึกษา และระหว่างศึกษา พระอภิธรรม ก็เข้าใจดีที่หนูพูดในปรมัตถ์ธรรมและค่ะ
และก็ดูออกหมดหละค่ะ

ว่า

เพราะความจริงก็คือ คุณกรัชกาย ไม่ได้เรียนพระอภิธรรมปิฎก 4200 เรย
เรยไม่มีอธิปัญญาสิกขา
เพราะความจริงก็คือ คุณกรัชกาย ไม่มีความรู้เรื่องปรมัตถ์ธรรมเรย
เรยไม่มีอธิปัญญาสิกขา
เพราะความจริงก็คือ คุณกรัชกาย ไม่มีความรู้เรื่องสมมุติและบัญญัติเรย
เรยไม่มีอธิปัญญาสิกขา
เพราะความจริงก็คือ คุณกรัชกาย ไม่มีการศึกษาพระอภิธรรมมัตสังคหะ 9 ปริเฉทมาเรย
เรยไม่มีอธิปัญญาสิกขา

ก็เรยแถแหลกเข้ารกเข้าพง

ปรมัตถ์ธรรมไม่มีหรอกค่ะ การปนเปมั่ว ระหว่างสมมุติกะปรมัตถ์

พระอภิธรรม มีแต่ ธรรมที่เป็นปัจจัย ธรรมที่สงเคาห์ ธรรมที่อุปปาระ
ไม่มีสอนเรืองปนมั่วหรอก ค่ะ
ไม่มีสอนเรื่องเงินทอนวัดหรอกค่ะ

เถียงสิคะ กรัชกายเด็กน้อยอวดฉลาด ที่ไม่มีอธิปัญญาสิกขา
เพราะไม่ได้เรียนพระอภิธรรม
จริงมั๊ยคะคุณลุงหมาน


ว่า "ไม่ได้เรียนอภิธรรมๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ" ที่ถามไม่ตอบ คิกๆๆ วนเป็นแผ่นเสียงตกหลุมตกร่องนิ :b32:

มาอีกแระ จากพันทิพ :b28: เมโลกสวย ว่ามีผู้ปฏิบัติมั้ย หรือมีแต่จิต เจตสิก เอ้า นี่

อ้างคำพูด:
สวัสดีค่ะ
คือหนูสวดมนต์ บทต่างๆ หลายบท หลักๆก็พาหุง กับชินบัญชร และก็มีการนั่งสมาธิ และแผ่เมตตาหลังนั่งเสร็จทุกครั้งค่ะ
ประเด็นว่าหลังจากทำทุกอย่างเสร็จ จะเกิดอาการ เสียวๆ ร้อน วูบวาบตรงเเผ่นหลังค่ะ ไปทางเอวหน่อยๆ มันร้อนเเล้วก็เสียวๆวูบวาบค่ะ
เป็นมากค่ะ ไม่ใช่หนูคิดไปเอง แต่มันเป็นแบบนี้จริงๆ จะไม่หายจนกว่าจะนอนหลับไปค่ะ ตื่นมาก็หาย หนูอยากรู้ว่าเกิดจากอะไรคะ
มีใครเป็นแบบนี้บ้างคะ หรือเกิดจากการนั่งนานเกินไป



หรือ คนน่ะมี แต่หามีคนไม่ คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 มิ.ย. 2018, 07:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


นู๋เมโลกสวยหาย หรือว่าจมหิมะตายไปแร้วววว คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 มิ.ย. 2018, 07:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ปรมัตถ์, ปรมัตถะ 1. ประโยชน์อย่างยิ่ง, จุดหมายสูงสุด คือ พระนิพพาน 2. ก) ความหมายสูงสุด, ความหมายที่แท้จริง เช่น ในคำว่า ปรมัตถสัจจะ ข.) สภาวะตามความหมายสูงสุด, สภาวะที่มีในความหมายที่แท้จริง, สภาวธรรม บางทีใช้ว่า ปรมัตถธรรม


ปรมัตถ์ ที่พบในพระไตรปิฎก ตามปกติ ในใช้ในความหมายนัยที่ 1. คือ จุดหมาย หรือประโยชน์สูงสุด เฉพาะอย่างยิ่ง ได้แก่ นิพพาน
แต่ในคัมภีร์สมัยต่อมา มีการใช้ในนัยที่ 2. บ่อยขึ้น คือในความหมายว่าเป็นจริงหรือไม่ แต่ไม่ว่า จะใช้ในแง่ความหมายอย่างไหน ก็บรรจบที่นิพพาน เพราะนิพพานนั้น ทั้งเป็นประโยชน์สูงสุด และเป็นสภาวะที่จริงแท้ (นิพพานเป็นปรมัตถ์ในทั้งสองนัย)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 มิ.ย. 2018, 07:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ปรมัตถธรรม ธรรมที่เป็นปรมัตถ์, ธรรมที่เป็นประโยชน์สูงสุด, สภาวะที่มีอยู่โดยปรมัตถ์, สิ่งที่เป็นจริงโดยความหมายสูงสุด, สภาวธรรม, นิยมพูดกันมาเป็นหลักทางพระอภิธรรมว่ามี ปรมัตถธรรม ๔ คือ จิต เจตสิก รูป นิพพาน


พึงสังเกตเค้าความที่เป็นมาว่า คำว่า "ปรมัตถธรรม" (บาลี ปรมตฺถธมฺม) นี้ ไม่พบที่ใช้ในพระไตรปิฎกมาแต่เดิม (ในพระไตรปิฎก ใช้เพียงว่า "ปรมตฺถ" หรือรวมกับคำอื่น มีคำว่าปรมัตถธรรม ซึ่งท่านผู้แปลใส่หรือเติมเข้ามาตามคำอธิบายของอรรถกถาบ้าง ตามที่เห็นเหมาะบ้าง)


ต่อมาในชั้นอรรถกา "ปรมัตถธรรม" จึงปรากฏบ้าง ๒-๓ แห่ง แต่หมายถึงเฉพาะนิพพาน หรือไม่ก็ใช้อย่างกว้างๆ ทำนองว่าเป็นธรรมอันให้ลุถึงนิพพาน ดังเช่น สติปัฏฐาน ก็เป็นตัวอย่างของปรมัตถธรรม ทั้งนี้ เห็นได้ว่าท่านมุ่งความหมายในแง่ว่าประโยชน์สูงสุด


ต่อมา ในคัมภีร์ชั้นฎีกาลงมา มีการใช้คำว่าปรมัตถธรรมบ่อยครั้งขึ้นบ้าง (ไม่บ่อยมาก) และใช้ในความหมายว่า เป็นธรรมตามความหมายอย่างสูงสุด คือ ในความหมายที่แท้จริง มีจริง เป็นจริง ซึ่งตรงกับคำว่าสภาวธรรม
ยิ่งเมื่อคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะเกิดขึ้นแล้ว และมีการศึกษาพระอภิธรรมตามแนวของอภิธัมมัตถสังคหะนั้น ก็มีการพูดกันทั่วไป ถึงหลักปรมัตถธรรม ๔ จนกล่าวได้ว่าอภิธัมมัตถสังคหะเป็นแหล่งเริ่มต้นหรือเป็นที่มาของเรื่อง ปรมัตถธรรม ๔


อย่างไรก็ดี ถ้าพูดอย่างเคร่งครัด ตามตัวอักษร ในคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะนั้นเอง ท่านไม่ใช้คำว่า "ปรมัตถธรรม" เลย แม้แต่ในคาถาสำคัญเริ่มปกรณ์หรือต้นคัมภีร์ ซึ่งเป็นบทตั้งหลักที่ถือว่าจัดประมวลปรมัตถธรรม ๔ ขึ้นมาให้ศึกษานั้น แท้จริงก็ไม่มีคำว่า "ปรมตฺถธรรม" แต่อย่างใด ดังคำของท่านเองว่า

ตตฺถ วุตฺตาภิธมฺมตฺถา จตุธา ปรมตฺถโต จิตฺตํ เจตสิกํ รูปํ นิพฺพานมีติ สพฺพุถา

แปล: "อรรถแห่งอภิธรรม ที่ตรัสไว้ในพระอภิธรรมนั้น ทั้งหมดทั้งสิ้น โดยปรมัตถ์ มี ๔ อย่าง คือ จิต ๑ เจตสิก ๑ รูป ๑ นิพพาน ๑"


(นี้เป็นการแปลกันตามคำอธิบายของอภิธัมมัตถวิภาวินี แต่มีอีกฎีกาหนึ่งในยุคหลัง ค้านว่าอภิธัมมัตถวิภาวินี บอกผิด ที่ถูก ต้องแปลว่า "อภิธัมมัตถะ ที่ข้าพเจ้าคือพระอนุรุทธาจารย์กล่าว ในคำว่าอภิธัมมัตถสังคหะนั้น....")

ท้ายปริเฉทที่ ๖ คือรูปสังคหวิภาค ซึ่งเป็นบทที่แสดงปรมัตถ์มาครบ ๔ ถึงนิพพาน ก็มีคาถาคล้ายกัน ดังนี้

อิติ จิตฺตํ เจตสิกํ รูปํ นิพฺพานมิจฺจปิ

ปรมตฺถํ ปกาเสนฺติ จตุธาว ตถาคตา

แปล: "พระตถาคตเจ้าทั้งหลาย ย่อมทรงประกาศปรมัตถ์ไว้เพียง ๔ อย่าง คือ จิต ๑ เจตสิก ๑ รูป ๑ นิพพาน ๑ ด้วยประการฉะนี้"


เมื่อพินิจดูก็จะเห็นได้ที่นี่ว่า คำว่า "ปรมัตถธรรม" เกิดขึ้นจาก ประการแรก ผู้จัดรูปคัมภีร์ (อย่างที่ปัจจุบันเรียกว่า บรรณกร) จับใจความตอนนั้นๆ ตั้งขึ้นเป็นหัวข้อ เหมือนอย่างในกรณีนี้
ในคัมภีร์บางฉบับ ตั้งเป็นหัวข้อขึ้นเหนือคาถานั้นว่า "จตุปรมตฺถธมฺโม" (มีในฉบับอักษรพม่า, ฉบับไทยไม่มี) และประการที่สอง ผู้แปลเติมหรือใส่เพิ่มเข้ามา เช่น คำบาลีว่า "ปรมตฺถ" ก็แปลเป็นไทยว่า ปรมัตถธรรม ซึ่งเป็นกรณีที่เป็นกันทั่วไป

ในคัมภีร์รุ่นต่อมาที่อธิบายอภิธัมมัตถสังคหะ เช่น อภิธัมมัตถวิภาวินี มีการใช้คำบาลีเป็น "ปรมตฺถธมฺม" บ้าง แม้จะไม่มาก แต่ก็ไม่มีที่ใดระบุจำนวนว่าปรมัตถธรรมสี่

จนกระทั่งในสมัยหลังมาก มีคัมภีร์บาลีแต่งในพม่าบอกจำนวน ก็บอกเพียงว่า "ปรมัตถ์ ๔" (จตฺตาโร ปรมตฺเถ, ปรมตฺถทีปนี สงฺคหมหาฎีกาปาฐ, 331) แล้ว

ก็มีอีกคัมภีร์หนึ่ง แต่งในพม่ายุคไม่นานนี้ ใช้คำว่าปรมัตถธรรมโดยระบุว่า สังขารและนิพพาน เป็นปรมัตถธรรม ( นมกฺการฎีกา 45) ยิ่งกว่านั้น ย้อนกลับไปยุคเก่า อาจจะก่อนพระอนุรุทธาจารย์ แต่งอภิธัมมัตถสังคหะเสียอีก

คัมภีร์ฎีกาแห่งอรรถกถาของสังยุตตนิกาย แห่งพระสุตตันตปิฎก ซึ่งถือว่ารจนาโดยพระธรรมปาละ ผู้เป็นอรรถกถาจารย์ในท่านหนึ่ง ใช้คำปรมัตถธรรม ในข้อความที่ระบุว่า "ปรมัตถธรรมอันแยกประเภทเป็น ขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะ อินทรีย์ และปฏิจจสมุปบาท" (สํ.ฎี.2/3303/651) นี่ก็คือบอกว่า ปรมัตถธรรม ได้แก่ ประดาธรรม ชุดที่เรียกกันว่า ปัญญาภูมิ หรือวิปัสสนาภูมิ นั่นเอง

ตามข้อสังเกตและความที่กล่าวมา พึงทราบว่า

๑. การแปลขยายศัพท์อย่างที่แปลปรมัตถะว่า ปรมัตถธรรมนี้ มิใช่เป็นความผิดพลาดเสียหาย แต่เป็นเรื่องทั่วไปที่ควรรู้เท่าทันไว้ อันจะเป็นประโยชน์ในบางแง่บางโอกาส

(เหมือนในการอ่านพระไตรปิฎกฉบับแปลภาษาไทย ผู้อ่านก็ควรทราบเป็นพื้่นไว้ว่า คำแปลอาจจะไม่ตรงตามพระบาลีเดิมก็ได้ เช่น ในพระไตรปิฎกบาลีเดิมว่า พระพุทธเจ้าเสด็จออกจากพระวิหาร (คือที่ประทับ) แต่ในฉบับแปล บางทีท่านแปลผ่านคำอธิบายของอรรถกถาว่า พระพุทธเจ้าเสด็จออกจากพระคันธกุฎี)

๒. การประมวลอรรถแห่งอภิธรรม (โดยทั่วไปก็ถือว่าเป็นการประมวลธรรมทั้งหมดทั้งปวงนั่นเอง) จัดเป็นปรมัตถ์ ๔ (ที่เรียกกันมาว่า ปรมัตถธรรม ๔) ตามนัยของอภิธัมมัตถสังคหะนี้ เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นระบบอันเยี่ยม ซึ่งเกื้อกูลต่อการศึกษาธรรมอย่างยิ่ง เรียกได้ว่าเป็นแนวอภิธรรม แต่ถ้าพบการจัดอย่างอื่น ดังที่ยกมาให้ดูเป็นตัวอย่าง (เป็นสังขาร และนิพพาน บ้าง เป็นอย่างที่เรียกว่า ปัญญาภูมิ บ้าง) ก็ไม่ควรแปลกใจ พึงทราบว่าต่างกันโดยวิธีจัดเท่านั้น
ส่วนสาระก็ลงเป็นอันเดียวกัน เหมือนจะว่า เบญขันธ์ หรือว่านามรูป กายมโน ก็อันเดียวกัน ก็ดูแต่ว่าวิธีจัดแบบไหนจะง่ายต่อการศึกษาหรือเอื้อประโยชน์ที่มุ่งหมายมากกว่ากัน

๓. ในคาถาเริ่มปกรณ์ (ในฉบับอักษรไทย ผู้ชำระ คือผู้จัดรูปคัมภีร์ ตั้งชื่อให้ว่า "ปกรณารมฺภคาถา" แต่ฉบับอักษรพม่าตั้งชื่อว่า "คนฺถารมฺภกถา" ) มีข้อความที่เป็นบทตั้ง ซึ่งบอกใจความทั้งหมดของคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะ คาถานี้จึงสำคัญมาก ควรตั้งอยู่ในความเข้าใจที่ชัดเจนประจำใจของผู้ศึกษาเลยทีเดียว

ในกรณีนี้ การแปลโดยรักษารูปศัพท์ อาจช่วยให้ชัดขึ้น เช่นอาจแปลว่า "อภิธัมมัตถะ ที่กล่าวในคำว่า "อภิธัมมัตถสังคหะ" นั้น ทั้งหมดทั้งสิ้นโดยปรมัตถ์ มี ๔ อย่าง คือ จิต เจตสิก รูป นิพพาน"

(พึงสังเกตว่า ถ้าถือเคร่งตามตัวอักษร ในคาถาเริ่มปกรณนี้ ท่านว่ามีอภิธัมมัตถะ ๔ ส่วนในคาถาท้ายปริจเฉทที่หก ท่านกล่าวถึงปรมัตถะ ๔ แต่โดยอรรถ ทั้งสองนั้น ก็อย่างเดียวกัน)

โดยเฉพาะคำว่า อภิธัมมัตถะ จะช่วยโยงพระอภิธรรมปิฎกทั้งหมดเข้ามาสู่เรื่องที่ศึกษา เพราะท่านมุ่งว่าสาระในอภิธรรมปิฎกทั้งหมดนั่นเอง ประมวลเข้ามาเป็น ๔ อย่างนี้ ดังจะเห็นชัดตั้งแต่พระอภิธรรมปิฎกคัมภีร์แรก คือธัมมสังคณีตลอดหมดทั้ง ๒๕๘ หน้า ที่แจงกุสลัตติกะ อันเป็นปฐมอภิธัมมมาติกา ก็ปรากฏออกมาชัดเจนว่าเป็นการแจงเรื่อง จิต เจตสิก รูป และนิพพาน นี่เอง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 24 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร