วันเวลาปัจจุบัน 20 ก.ค. 2025, 13:06  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กระทู้นี้ถูกล็อก คุณไม่สามารถแก้ไขข้อความ หรือ ตอบกลับในกระทู้นี้  [ 449 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 14, 15, 16, 17, 18, 19, 20 ... 30  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสต์ เมื่อ: 09 พ.ย. 2017, 08:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


นคร มาฉิม ถามเกษตรกรชาวสวนยาง

https://pbs.twimg.com/media/DOGgbzPUMAAD2hq.jpg

https://www.komkhao.com/content/14255/% ... 1%E0%B8%81

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 09 พ.ย. 2017, 08:44 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
หาแนวทางไปเรื่อย....เดียวก็เจอสิ่งที่ใช่..เอง
http://www.komchadluek.net/news/knowledge/169199
อ้างคำพูด:

ชาวนารุ่นใหม่'ตั้งตัวได้ในสามปี : คอลัมน์คุยนอกกรอบ : โดย...สินีพร มฤคพิทักษ์

ตอนที่ได้ยิน "จุ๋ม" กฤษติญา ประภาตนันท์ บอกว่า "อยากทำนา" ทั้งที่เรียนจบปริญญาตรีด้านบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ ก็อึ้ง ไปรอบหนึ่งแล้ว

พอทราบว่า จากการทำนา และทำงานช่วงสามปีที่ผ่านมา ทำให้เธอสามารถปลูกบ้านราคา 2 แสนบาท, ซื้อรถตู้ด้วยเงินสด 4 แสนบาท แถมด้วยมอเตอร์ไซค์อีก 1 คัน ทำเอาอึ้งยิ่งกว่า

เพราะมนุษย์เงินเดือนอย่างเราๆ กว่าจะมีบ้านสักหลังอายุมักเลยเลขสี่ ทั้งยังต้องผ่อนแบงก์ไม่ต่ำกว่า 15 ปี

แต่เธอทำได้ ตั้งแต่อายุยังไม่ถึง 30 ปี !

ประการสำคัญคือ เก็บเงินได้เป็นกอบเป็นกำจากการทำนานี่แหละ

"คมชัดลึก" มีโอกาสพบกับ กฤษติญา ในโอกาสที่ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย นำสื่อมวลชนไปศึกษาดูงานภารกิจฝ่ายปกครอง มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ ที่บ้านดงพลวงเจริญผล ต.หนองพระ อ.วังทอง จ.พิษณุโลก ซึ่งเธอเป็นหนึ่งในอาสาสมัครปิดทองหลังพระ (อสพ.)

มูลนิธิยึดหลักพัฒนาตามแนวพระราชดำริ คือ เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา เป็นบันไดสามขั้นสู่ความสำเร็จ เริ่มต้นด้วยการสร้างความเข้าใจที่ตรงกันในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับนโยบาย หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาสังคม และภาคชุมชน และสร้างความพร้อมให้ชาวบ้านลุกขึ้นมาทำงานแก้ไขปัญหาและพัฒนาตนเอง

โดยพัฒนาศักยภาพทีมงาน และ อสพ.ในพื้นที่ อยู่กับชาวบ้าน 24 ชั่วโมง เพื่อเป็นแกนหลักขับเคลื่อนและถ่ายทอดองค์ความรู้ต่างๆ สู่ชาวบ้าน และสานต่อการพัฒนาเมื่อทีมพี่เลี้ยงถอนตัว

ในการแก้ปัญหาและพัฒนา ยึดหลักการองค์ความรู้ 6 มิติ คือ น้ำ-ป้องกันและแก้ไขปัญหาตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ ดิน-ปรับปรุงสภาพดิน เกษตร-การนำเกษตรทฤษฎีใหม่มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในแต่ละพื้นที่ พลังงานทดแทน ป่า และสิ่งแวดล้อม

เมื่อ ปรีชา เรืองจันทร์ ผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก ทราบจากผู้นำท้องถิ่นว่า ชาวบ้านยากจน ต้องการหลุดจากวงจรหนี้สิน จึงบอกว่าจะนำโครงการปิดทองหลังพระมาดำเนินการที่ ต.หนองพระ โดยให้ไปดูงาน จ.น่าน ในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 พอกลับมาก็เปิดโรงเรียนชาวนา และร่วมกับ อบต.ทำประชาคมสอบถามความต้องการของชาวบ้าน พบว่า บอกขาดแหล่งน้ำ จึงขุดลอกบึงสะเดาร้อยกว่าไร่ ผันน้ำจากเขื่อนแควน้อยบำรุงแดน ต.วังพิกุล อ.วังทอง มาเติมในฤดูแล้ง ทำเป็นแก้มลิงบึงสะเดา ให้ชาวบ้านทำนาปรัง

กฤษติญา เรียนจบปริญญาตรีด้านบริหารจัดการ จากมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต (อาร์แบค) หลังเรียนจบกลับมาอยู่บ้านเกิดในปี 2551 และทำงานบริษัทเอกชนที่ จ.พิษณุโลก ต่อมาสอบได้เป็นลูกจ้างปศุสัตว์ตำบล

เธอเปลี่ยนงานอีกครั้งเมื่อผู้ว่าฯ นำโครงการปิดทองหลังพระฯ มาลงที่หมู่บ้าน และทางมูลินิธิต้องการอาสาสมัครเพื่อไปฝึกงานที่ จ.น่าน เป็นเวลาหนึ่งเดือน ให้รู้ว่าต้องทำหน้าที่อะไรบ้าง เช่น ติดตามแผน สร้างความเข้าใจกับประชาชน มีส่วนร่วมกับกิจกรรมของชุมชน

จุ๋มบอกว่า "เราเป็น อสพ.และทำนาด้วย พ่อแม่ทำนา ช่วงที่กลับจากกรุงเทพฯ ทำงานบริษัทก็เริ่มทำนาด้วยโดยปลูกข้าวหอมมะลิ เพราะเห็นพ่อแม่ใช้สารเคมี อยากทำนา อยากรู้ว่าการไม่ใช้สารเคมีจะได้ข้าวไหม เริ่มทำน้ำหมักลดต้นทุน ตอนที่เริ่มทำนาปีแรกใช้ปุ๋ยเคมีมาก พอปีสองลดลงเหลือ 2 ลูก ปีที่สามไม่ใช้เลย ใช้ปุ๋ยอินทรีย์อย่างเดียว"

จากที่สังเกตพบว่า ไม่ว่าจะลดจำนวนปุ๋ยเคมีลงเท่าไรก็ได้ผลผลิตเท่าเดิมคือ 50 ถังต่อไร่ (ปลูกข้าวหอมมะลิ) หากเป็นข้าวพันธุ์ กข.ได้ 70 ถัง เนื่องจากดินที่นี่เป็นดินทราย และไม่มีน้ำ ต้องรอฝนอย่างเดียว จึงทำข้าวนาปี

ที่นา 20 ไร่ ปีแรกได้ข้าว 10 ตัน พอปีที่สองลดการใช้ปุ๋ยเคมีเหลือสองลูก ยังได้ข้าว 10 ตันเท่าเดิม

มาปีนี้เธอทำนาอินทรีย์ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ยังไม่ทราบผลผลิต เพราะต้องรอเกี่ยวเดือนพฤศจิกายน

อย่างไรก็ดี จากที่ลองทำเกษตรอินทรีย์บางส่วน เห็นความแตกต่างว่าข้าวมีความต้านทานโรคได้ดีกว่า ทำให้ระบบนิเวศในนาคืนกลับมา

"สองปีแรกเข้าโครงการจำนำข้าว แต่ปีนี้เข้าโครงการข้าวปลอดสารพิษ ซึ่งต้องตรวจทุกปี เพราะจะขอจีเอพี เป็นโครงการของหมู่บ้าน คือคนทำนาในหมู่บ้านแบ่งเป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรกทำหอมมะลิส่งสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. (สกต.) อีกกลุ่มทำส่งศูนย์เมล็ดพันธุ์จังหวัดพิษณุโลก

"รัฐบาลประกาศรับซื้อข้าวหอมมะลิ 15,000 บาทต่อตัน เราได้เพิ่มอีก 1,500 บาท เพราะเป็นข้าวปลอดสาร ขายให้ สกต. เขารับประกันการซื้อ มีอาจารย์จากราชภัฏที่สอนฟู้ดซายน์มาตรวจวัดสารเคมีรอบแปลงทุกเดือน ดูว่ามีแมลงตัวไหนบ้าง บอกว่าตัวไหนดี ไม่ดี ควรเก็บตัวไหนไว้"

เรื่องชวนอึ้งครั้งที่สามคือ เธอบอกว่า "เช่าที่ดินพ่อแม่ทำนา"

ทำไมต้องเช่า? จุ๋มอธิบายว่า

"คิดว่ากว่าที่พ่อแม่จะมีที่ดินได้ ต้องเก็บเงินซื้อที่ดิน ถ้าทำฟรีๆ ก็เอาเปรียบพ่อแม่ จึงเช่าไร่ละพันบาท เป็นอัตราเดียวกับชาวบ้านทั่วไป เช่า 20 ไร่ เป็นเงินปีละ 2 หมื่น เราต้องให้เขามีรายได้ด้วย พ่อมีนา 100 ไร่ และเช่าของญาติอีก 50 ไร่ คือญาติอยู่ จ.ตาก เขาไม่สะดวกมาทำ ก็เลยเช่าไร่ละพันบาท แต่พ่อทำที่นาที่เช่า ส่วนเราเช่าที่ดินของพ่อ เหมือนช่วยพ่อเอาเงินตรงนี้ไปจ่ายค่าเช่าอีกที เราทำในที่ดินของพ่อ ก็ดูแล บำรุงดินเป็นอย่างดี ถ้าทำแปลงคนอื่น ไม่รู้เขาจะมาเอาคืนเมื่อไร หากทำไว้ดีแล้วก็เสียดาย"

พ่อแม่ที่ทำนามักไม่อยากให้ลูกทำอาชีพนี้ เพราะเห็นว่างานหนัก จึงส่งเสียให้เรียนสูงๆ แต่นี่กลับมาอยู่บ้านต่างจังหวัด แล้วยังขอทำนาอีก ตอนแรกพ่อตอบว่าอย่างไร? จุ๋มตอบว่า ทีแรกพ่อพูดเหมือนกันว่าส่งไปเรียนอยากให้เป็นเจ้าคนนายคน ทำไมกลับมาทำนา เธอตอบพ่อว่า คนบอกว่าชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ เป็นคนสำคัญของประเทศ เราเป็นคนผลิตข้าวเลี้ยงคนอื่น คิดอย่างนี้เลยกลับมาทำนา

"พ่อแม่บอกจะทำนาทำไม ให้ไปหาสอบทำงานอื่น เราทำงานประจำในบริษัท ซึ่งหยุดวันเสาร์อาทิตย์ก็ทำนาได้ และว่าหนูอยากได้ของบ้าง อย่างเรามาทำนาก็มีเงินเก็บ ตอนนี้ปลูกบ้านได้แล้วหลังเล็กๆ ประมาณ 2 แสนบาท ซื้อรถตู้ด้วยเงินสดหนึ่งคันราคา 4 แสนบาท และมอเตอร์ไซค์อีกคันราคา 3.6 หมื่นบาท"

ทรัพย์สินทั้งหมดนี้ หลักๆ ก็ได้มาจากการทำนานี่แหละ เพราะหลังเรียนจบไม่มีหนี้สินอะไร

บ้านที่ปลูกใหม่มีค่าใช้จ่ายเฉพาะค่าแรง ส่วนไม้สร้างบ้านไม่ต้องห่วง เพราะแม่และพ่อคิดการณ์ไกล ปลูกทิ้งตามหัวไร่ปลายนาไว้ตั้งแต่เธอยังเป็นเด็ก มีทั้งไม้ประดู่ สะเดา

"ตอนเด็กๆ แม่พาไปนา และปลูกไม้ต่างๆ ไว้ ช่วยกันปลูก ปลูกเก็บไว้เยอะ แม่บอกว่าโตแล้วจะได้เอามาปลูกบ้าน..."

ทำนาสองปีทำให้มีเงินเก็บ?

"ทำนาได้เงินเก็บปีละแสนบาท และทำงานประจำด้วย ช่วงที่ว่างจากทำนาก็รับทำงานอื่น ด้วย เช่น อนามัยจ้างคีย์ข้อมูลชุดละ 3 บาท เราก็รับทำจากหลายอนามัย กะว่าอายุ 55 ปีจะเกษียณ จะเดินทางท่องเที่ยว...เห็นพ่ออายุ 60 ปียังทำนาอยู่ ไม่อยากเป็นอย่างนั้น คืออายุ 60 ปีอาจทำนาอยู่ แต่จะโทรสั่งเอา ให้พ่อแม่ดูแลหรือจ้างเขาทำ เหมือนกับช่วยคนที่ไม่มีรายได้ด้วย"

เกษตรกรรรุ่นใหม่รายนี้บอกว่า เงินที่ได้จากการขายข้าวเลี้ยงตัวได้แน่นอน ดังที่เธออธิบายว่า ปีหนึ่งทำนาครั้งเดียว ใช้เวลา 4-5 เดือน ได้ข้าว 10 ตัน ขายตันละ 15,000 บาท ก็ได้เงินรวม 150,000 บาท ขณะที่มีต้นทุนรวมเพียง 3-5 หมื่นบาท

เท่ากับว่าเหลือเงิน 1 แสนบาทต่อปี หรือต่อรอบการผลิต

หมายเหตุไว้นิดว่า รอบไหนที่ต้นทุนถึง 5 หมื่นบาท นั่นเพราะต้องเสียค่าน้ำมันสูบน้ำเข้านา

"เราจะเลือกหว่านช้าๆ หน่อย ถ้าหว่านเร็วเหมือนหว่านเงินทิ้งไปหนึ่งเดือน ข้าวหอมมะลิมันไวต่อแสง มีอายุ 120 วันในการออก เราต้องปลูกเดือนสิงหาคม เก็บเกี่ยวเดือนพฤศจิกายน หว่านช้าๆ ปลายๆ หน่อยให้เหลือแค่ 4 เดือนก็พอ แต่น้อยกว่านี้ไม่ได้ เพราะข้าวจะคุณภาพไม่ดี ข้าวจะผลิตความหอม และความเต่งไม่พอ"

อธิบายได้แจ่มแจ้งขนาดนี้ ใช่ว่าจะเป็นผู้เชี่ยวชาญมาจากไหน เธอเพิ่งลงมือทำนาเพียงสามครั้ง และหลายอย่างก็เรียนรู้จากคนอื่น

"เรียนดำนาจากพ่อ ดูวิธีการทำน้ำหมักจากหนังสือ และจากการที่ได้ทำงานในโครงการปิดทองหลังพระ ทำให้มีโอกาสได้ไปศึกษาจากมูลนิธิข้าวขวัญ เกี่ยวกับการทำนาลดต้นทุนที่สุพรรณบุรี รวมทั้งอีกหลายแห่ง

"ที่สุพรรณฯ ดินดี เป็นดินเหนียว และควบคุมน้ำได้ เพราะมีคลองส่งน้ำและไม่มีมีหญ้า พอหญ้าขึ้นก็เอาน้ำท่วมหญ้า ที่บ้านทำนาหว่าน เพราะไม่มีน้ำ ต้องรอน้ำฝนอย่างเดียว หญ้าขึ้นก็ถอนเอา นาของเราหญ้าเยอะ ทำให้ได้ข้าวน้อย"

ทำนาเป็นอาชีพหลัก หรือต้องมีอาชีพเสริม? กฤษติญาตอบว่า

อาชีพหลักคือทำเกษตร เพราะนอกจากปลูกข้าวแล้ว เธอยังเลี้ยงหมู เลี้ยงไก่ และไส้เดือนแอฟริกันเพื่อเอามาทำปุ๋ย รวมทั้งกำลังหัดประดิษฐ์กระเป๋าจากเศษวัสดุต่างๆ

มีคนรุ่นใหม่เรียนจบและกลับมาทำนาที่บ้านมากน้อยแค่ไหน?

"แถวนี้มีเยอะค่ะ ทั้งตำบลมีเยอะ อย่างคนที่ไปอบรมกับมูลนิธิข้าวขวัญ ส่วนมากจบปริญญาตรี เป็นดอกเตอร์ยังมีเลยนะ เดี๋ยวนี้คนนิยมซื้อที่ดินและปลูกข้าวกินเอง เขาดูแล้วว่าเกษตรกรเป็นคนหัวอ่อน หลงเชื่อพ่อค้าขายปุ๋ยขายยา คนที่เรียนสูงๆ เขาไม่อยากกินข้าวมีสารพิษ จึงมาทำเอง บางคนทำนา 2-5 ไร่"

"พ่อแม่ยังทำนาเคมีอยู่ ไม่เชื่อเราสนิทใจ เพราะยังไม่เห็นผลผลิตแน่นอน แต่ใช้น้ำหมักที่เราทำให้ ต้นทุนการทำนาของพ่อน่าจะอยู่ไร่ละ 3,000 บาท (ของเธอประมาณพันกว่าบาท รวมค่าไถ หว่าน ดำ)"

และอีกเหมือนกัน งานไหนที่ทำเองไม่ได้ หรือไม่มีเวลาทำ เธอก็จ้างแรงงานในครอบครัว เป็นพี่เขย ลูกพี่ลูกน้อง บางครั้งก็จ้างพ่อกับแม่ด้วย

"ที่บ้านมีรถไถ ตอนนี้จ้างพ่อไถ ให้ค่าจ้างไร่ละ 220 บาท เท่ากับคนอื่นจ้าง จุ๋มคิดตั้งแต่เริ่มไถทั้งหมด จ้างไถสามรอบ รอบแรกเกี่ยวข้าวแล้วไถหมักฟาง ตอนนั้นยังมีน้ำอยู่ พอเดือนหกจ้างไถเพื่อพลิกหน้าดิน พอใกล้ๆ หว่านข้าว ก็ไถหว่าน ตอนใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ก็จ้างพี่เขยให้ค่าแรงไร่ละ 60 บาท"

ทำไมไม่ทำเอง?

"เราทำงานมูลนิธิ ไม่ค่อยมีเวลา แล้วแต่หน้างานตอนนั้นว่าทำอะไรอยู่ ถ้าจ้างก็จ้างคนในครอบครัว อัตราเดียวกับที่คนอื่นจ้างตลาด ส่วนพ่อแม่ก็จ่ายค่าแรงให้ครึ่งหนึ่งช่วยครึ่งหนึ่ง"

จุ๋มบอกว่าปัจจุบันมีสมาชิกกลุ่มนาอินทรีย์ 24 ราย ทั้งหมู่บ้านรวม 377 ไร่

"พอมีโครงการเข้ามาทำให้มีโอกาส เราไม่ได้ไปคนเดียวแต่พาชาวบ้านไปด้วย ใครสนใจอาชีพเสริมก็พาไปดู หรือโรงเรียนชาวนาที่เปิดขึ้นมา ไม่ได้พูดถึงการทำนา แต่พูดถึงการลดต้นทุน การทำน้ำหมัก ทำปุ๋ยใส่ในนา เช่น ปุ๋ยมูลสัตว์ หรือทำอาชีพเสริม เช่น น้ำดื่มสมุนไพร สบู่ ยาสระผม เป็นการลดรายจ่าย และวางขายที่สี่แยกอินโดจีน บูธโอท็อป หรือขายให้หมู่บ้านข้างเคียง แต่แพ็กเกจยังค่อยไม่สวยนัก บางบ้านกวนน้ำยาล้างจาน ยาสระผมเอง ถ้าทำไม่ทันก็ขอซื้อบ้านอื่น"

ปัจจุบันกฤษติญาอายุ 27 ปี เธอตั้งใจว่าจะทำนาต่อไปเรื่อยๆ ยังไปสอบทำงานงานด้านอื่น แต่ใจชอบทางนี้มากกว่า เพราะได้อยู่กับธรรมชาติ

"คิดว่าการทำนาเป็นอาชีพที่ดีมาก แม้คนมองว่าไม่มีเกียรติ แต่เรามองลึกๆ ว่ามันดีไง เพราะทำให้คนมีชีวิตรอด"

ฟังแล้วปลื้มใจจริงๆ ค่ะ


.................................

('ชาวนารุ่นใหม่'ตั้งตัวได้ในสามปี : คอลัมน์คุยนอกกรอบ : โดย...สินีพร มฤคพิทักษ์)


รัฐบาลไหนซื้อ 15000


:b32: :b32: :b32:

นึกอยู่แล้วว่า..กักกายจะหยิบประเด็น...นี้..รัฐบาลไหนซื้อ 15,000 ?
:b32: :b32:


โพสต์ เมื่อ: 09 พ.ย. 2017, 09:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
หาแนวทางไปเรื่อย....เดียวก็เจอสิ่งที่ใช่..เอง
http://www.komchadluek.net/news/knowledge/169199
อ้างคำพูด:

ชาวนารุ่นใหม่'ตั้งตัวได้ในสามปี : คอลัมน์คุยนอกกรอบ : โดย...สินีพร มฤคพิทักษ์

ตอนที่ได้ยิน "จุ๋ม" กฤษติญา ประภาตนันท์ บอกว่า "อยากทำนา" ทั้งที่เรียนจบปริญญาตรีด้านบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ ก็อึ้ง ไปรอบหนึ่งแล้ว

พอทราบว่า จากการทำนา และทำงานช่วงสามปีที่ผ่านมา ทำให้เธอสามารถปลูกบ้านราคา 2 แสนบาท, ซื้อรถตู้ด้วยเงินสด 4 แสนบาท แถมด้วยมอเตอร์ไซค์อีก 1 คัน ทำเอาอึ้งยิ่งกว่า

เพราะมนุษย์เงินเดือนอย่างเราๆ กว่าจะมีบ้านสักหลังอายุมักเลยเลขสี่ ทั้งยังต้องผ่อนแบงก์ไม่ต่ำกว่า 15 ปี

แต่เธอทำได้ ตั้งแต่อายุยังไม่ถึง 30 ปี !

ประการสำคัญคือ เก็บเงินได้เป็นกอบเป็นกำจากการทำนานี่แหละ

"คมชัดลึก" มีโอกาสพบกับ กฤษติญา ในโอกาสที่ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย นำสื่อมวลชนไปศึกษาดูงานภารกิจฝ่ายปกครอง มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ ที่บ้านดงพลวงเจริญผล ต.หนองพระ อ.วังทอง จ.พิษณุโลก ซึ่งเธอเป็นหนึ่งในอาสาสมัครปิดทองหลังพระ (อสพ.)

มูลนิธิยึดหลักพัฒนาตามแนวพระราชดำริ คือ เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา เป็นบันไดสามขั้นสู่ความสำเร็จ เริ่มต้นด้วยการสร้างความเข้าใจที่ตรงกันในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับนโยบาย หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาสังคม และภาคชุมชน และสร้างความพร้อมให้ชาวบ้านลุกขึ้นมาทำงานแก้ไขปัญหาและพัฒนาตนเอง

โดยพัฒนาศักยภาพทีมงาน และ อสพ.ในพื้นที่ อยู่กับชาวบ้าน 24 ชั่วโมง เพื่อเป็นแกนหลักขับเคลื่อนและถ่ายทอดองค์ความรู้ต่างๆ สู่ชาวบ้าน และสานต่อการพัฒนาเมื่อทีมพี่เลี้ยงถอนตัว

ในการแก้ปัญหาและพัฒนา ยึดหลักการองค์ความรู้ 6 มิติ คือ น้ำ-ป้องกันและแก้ไขปัญหาตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ ดิน-ปรับปรุงสภาพดิน เกษตร-การนำเกษตรทฤษฎีใหม่มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในแต่ละพื้นที่ พลังงานทดแทน ป่า และสิ่งแวดล้อม

เมื่อ ปรีชา เรืองจันทร์ ผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก ทราบจากผู้นำท้องถิ่นว่า ชาวบ้านยากจน ต้องการหลุดจากวงจรหนี้สิน จึงบอกว่าจะนำโครงการปิดทองหลังพระมาดำเนินการที่ ต.หนองพระ โดยให้ไปดูงาน จ.น่าน ในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 พอกลับมาก็เปิดโรงเรียนชาวนา และร่วมกับ อบต.ทำประชาคมสอบถามความต้องการของชาวบ้าน พบว่า บอกขาดแหล่งน้ำ จึงขุดลอกบึงสะเดาร้อยกว่าไร่ ผันน้ำจากเขื่อนแควน้อยบำรุงแดน ต.วังพิกุล อ.วังทอง มาเติมในฤดูแล้ง ทำเป็นแก้มลิงบึงสะเดา ให้ชาวบ้านทำนาปรัง

กฤษติญา เรียนจบปริญญาตรีด้านบริหารจัดการ จากมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต (อาร์แบค) หลังเรียนจบกลับมาอยู่บ้านเกิดในปี 2551 และทำงานบริษัทเอกชนที่ จ.พิษณุโลก ต่อมาสอบได้เป็นลูกจ้างปศุสัตว์ตำบล

เธอเปลี่ยนงานอีกครั้งเมื่อผู้ว่าฯ นำโครงการปิดทองหลังพระฯ มาลงที่หมู่บ้าน และทางมูลินิธิต้องการอาสาสมัครเพื่อไปฝึกงานที่ จ.น่าน เป็นเวลาหนึ่งเดือน ให้รู้ว่าต้องทำหน้าที่อะไรบ้าง เช่น ติดตามแผน สร้างความเข้าใจกับประชาชน มีส่วนร่วมกับกิจกรรมของชุมชน

จุ๋มบอกว่า "เราเป็น อสพ.และทำนาด้วย พ่อแม่ทำนา ช่วงที่กลับจากกรุงเทพฯ ทำงานบริษัทก็เริ่มทำนาด้วยโดยปลูกข้าวหอมมะลิ เพราะเห็นพ่อแม่ใช้สารเคมี อยากทำนา อยากรู้ว่าการไม่ใช้สารเคมีจะได้ข้าวไหม เริ่มทำน้ำหมักลดต้นทุน ตอนที่เริ่มทำนาปีแรกใช้ปุ๋ยเคมีมาก พอปีสองลดลงเหลือ 2 ลูก ปีที่สามไม่ใช้เลย ใช้ปุ๋ยอินทรีย์อย่างเดียว"

จากที่สังเกตพบว่า ไม่ว่าจะลดจำนวนปุ๋ยเคมีลงเท่าไรก็ได้ผลผลิตเท่าเดิมคือ 50 ถังต่อไร่ (ปลูกข้าวหอมมะลิ) หากเป็นข้าวพันธุ์ กข.ได้ 70 ถัง เนื่องจากดินที่นี่เป็นดินทราย และไม่มีน้ำ ต้องรอฝนอย่างเดียว จึงทำข้าวนาปี

ที่นา 20 ไร่ ปีแรกได้ข้าว 10 ตัน พอปีที่สองลดการใช้ปุ๋ยเคมีเหลือสองลูก ยังได้ข้าว 10 ตันเท่าเดิม

มาปีนี้เธอทำนาอินทรีย์ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ยังไม่ทราบผลผลิต เพราะต้องรอเกี่ยวเดือนพฤศจิกายน

อย่างไรก็ดี จากที่ลองทำเกษตรอินทรีย์บางส่วน เห็นความแตกต่างว่าข้าวมีความต้านทานโรคได้ดีกว่า ทำให้ระบบนิเวศในนาคืนกลับมา

"สองปีแรกเข้าโครงการจำนำข้าว แต่ปีนี้เข้าโครงการข้าวปลอดสารพิษ ซึ่งต้องตรวจทุกปี เพราะจะขอจีเอพี เป็นโครงการของหมู่บ้าน คือคนทำนาในหมู่บ้านแบ่งเป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรกทำหอมมะลิส่งสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. (สกต.) อีกกลุ่มทำส่งศูนย์เมล็ดพันธุ์จังหวัดพิษณุโลก

"รัฐบาลประกาศรับซื้อข้าวหอมมะลิ 15,000 บาทต่อตัน เราได้เพิ่มอีก 1,500 บาท เพราะเป็นข้าวปลอดสาร ขายให้ สกต. เขารับประกันการซื้อ มีอาจารย์จากราชภัฏที่สอนฟู้ดซายน์มาตรวจวัดสารเคมีรอบแปลงทุกเดือน ดูว่ามีแมลงตัวไหนบ้าง บอกว่าตัวไหนดี ไม่ดี ควรเก็บตัวไหนไว้"

เรื่องชวนอึ้งครั้งที่สามคือ เธอบอกว่า "เช่าที่ดินพ่อแม่ทำนา"

ทำไมต้องเช่า? จุ๋มอธิบายว่า

"คิดว่ากว่าที่พ่อแม่จะมีที่ดินได้ ต้องเก็บเงินซื้อที่ดิน ถ้าทำฟรีๆ ก็เอาเปรียบพ่อแม่ จึงเช่าไร่ละพันบาท เป็นอัตราเดียวกับชาวบ้านทั่วไป เช่า 20 ไร่ เป็นเงินปีละ 2 หมื่น เราต้องให้เขามีรายได้ด้วย พ่อมีนา 100 ไร่ และเช่าของญาติอีก 50 ไร่ คือญาติอยู่ จ.ตาก เขาไม่สะดวกมาทำ ก็เลยเช่าไร่ละพันบาท แต่พ่อทำที่นาที่เช่า ส่วนเราเช่าที่ดินของพ่อ เหมือนช่วยพ่อเอาเงินตรงนี้ไปจ่ายค่าเช่าอีกที เราทำในที่ดินของพ่อ ก็ดูแล บำรุงดินเป็นอย่างดี ถ้าทำแปลงคนอื่น ไม่รู้เขาจะมาเอาคืนเมื่อไร หากทำไว้ดีแล้วก็เสียดาย"

พ่อแม่ที่ทำนามักไม่อยากให้ลูกทำอาชีพนี้ เพราะเห็นว่างานหนัก จึงส่งเสียให้เรียนสูงๆ แต่นี่กลับมาอยู่บ้านต่างจังหวัด แล้วยังขอทำนาอีก ตอนแรกพ่อตอบว่าอย่างไร? จุ๋มตอบว่า ทีแรกพ่อพูดเหมือนกันว่าส่งไปเรียนอยากให้เป็นเจ้าคนนายคน ทำไมกลับมาทำนา เธอตอบพ่อว่า คนบอกว่าชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ เป็นคนสำคัญของประเทศ เราเป็นคนผลิตข้าวเลี้ยงคนอื่น คิดอย่างนี้เลยกลับมาทำนา

"พ่อแม่บอกจะทำนาทำไม ให้ไปหาสอบทำงานอื่น เราทำงานประจำในบริษัท ซึ่งหยุดวันเสาร์อาทิตย์ก็ทำนาได้ และว่าหนูอยากได้ของบ้าง อย่างเรามาทำนาก็มีเงินเก็บ ตอนนี้ปลูกบ้านได้แล้วหลังเล็กๆ ประมาณ 2 แสนบาท ซื้อรถตู้ด้วยเงินสดหนึ่งคันราคา 4 แสนบาท และมอเตอร์ไซค์อีกคันราคา 3.6 หมื่นบาท"

ทรัพย์สินทั้งหมดนี้ หลักๆ ก็ได้มาจากการทำนานี่แหละ เพราะหลังเรียนจบไม่มีหนี้สินอะไร

บ้านที่ปลูกใหม่มีค่าใช้จ่ายเฉพาะค่าแรง ส่วนไม้สร้างบ้านไม่ต้องห่วง เพราะแม่และพ่อคิดการณ์ไกล ปลูกทิ้งตามหัวไร่ปลายนาไว้ตั้งแต่เธอยังเป็นเด็ก มีทั้งไม้ประดู่ สะเดา

"ตอนเด็กๆ แม่พาไปนา และปลูกไม้ต่างๆ ไว้ ช่วยกันปลูก ปลูกเก็บไว้เยอะ แม่บอกว่าโตแล้วจะได้เอามาปลูกบ้าน..."

ทำนาสองปีทำให้มีเงินเก็บ?

"ทำนาได้เงินเก็บปีละแสนบาท และทำงานประจำด้วย ช่วงที่ว่างจากทำนาก็รับทำงานอื่น ด้วย เช่น อนามัยจ้างคีย์ข้อมูลชุดละ 3 บาท เราก็รับทำจากหลายอนามัย กะว่าอายุ 55 ปีจะเกษียณ จะเดินทางท่องเที่ยว...เห็นพ่ออายุ 60 ปียังทำนาอยู่ ไม่อยากเป็นอย่างนั้น คืออายุ 60 ปีอาจทำนาอยู่ แต่จะโทรสั่งเอา ให้พ่อแม่ดูแลหรือจ้างเขาทำ เหมือนกับช่วยคนที่ไม่มีรายได้ด้วย"

เกษตรกรรรุ่นใหม่รายนี้บอกว่า เงินที่ได้จากการขายข้าวเลี้ยงตัวได้แน่นอน ดังที่เธออธิบายว่า ปีหนึ่งทำนาครั้งเดียว ใช้เวลา 4-5 เดือน ได้ข้าว 10 ตัน ขายตันละ 15,000 บาท ก็ได้เงินรวม 150,000 บาท ขณะที่มีต้นทุนรวมเพียง 3-5 หมื่นบาท

เท่ากับว่าเหลือเงิน 1 แสนบาทต่อปี หรือต่อรอบการผลิต

หมายเหตุไว้นิดว่า รอบไหนที่ต้นทุนถึง 5 หมื่นบาท นั่นเพราะต้องเสียค่าน้ำมันสูบน้ำเข้านา

"เราจะเลือกหว่านช้าๆ หน่อย ถ้าหว่านเร็วเหมือนหว่านเงินทิ้งไปหนึ่งเดือน ข้าวหอมมะลิมันไวต่อแสง มีอายุ 120 วันในการออก เราต้องปลูกเดือนสิงหาคม เก็บเกี่ยวเดือนพฤศจิกายน หว่านช้าๆ ปลายๆ หน่อยให้เหลือแค่ 4 เดือนก็พอ แต่น้อยกว่านี้ไม่ได้ เพราะข้าวจะคุณภาพไม่ดี ข้าวจะผลิตความหอม และความเต่งไม่พอ"

อธิบายได้แจ่มแจ้งขนาดนี้ ใช่ว่าจะเป็นผู้เชี่ยวชาญมาจากไหน เธอเพิ่งลงมือทำนาเพียงสามครั้ง และหลายอย่างก็เรียนรู้จากคนอื่น

"เรียนดำนาจากพ่อ ดูวิธีการทำน้ำหมักจากหนังสือ และจากการที่ได้ทำงานในโครงการปิดทองหลังพระ ทำให้มีโอกาสได้ไปศึกษาจากมูลนิธิข้าวขวัญ เกี่ยวกับการทำนาลดต้นทุนที่สุพรรณบุรี รวมทั้งอีกหลายแห่ง

"ที่สุพรรณฯ ดินดี เป็นดินเหนียว และควบคุมน้ำได้ เพราะมีคลองส่งน้ำและไม่มีมีหญ้า พอหญ้าขึ้นก็เอาน้ำท่วมหญ้า ที่บ้านทำนาหว่าน เพราะไม่มีน้ำ ต้องรอน้ำฝนอย่างเดียว หญ้าขึ้นก็ถอนเอา นาของเราหญ้าเยอะ ทำให้ได้ข้าวน้อย"

ทำนาเป็นอาชีพหลัก หรือต้องมีอาชีพเสริม? กฤษติญาตอบว่า

อาชีพหลักคือทำเกษตร เพราะนอกจากปลูกข้าวแล้ว เธอยังเลี้ยงหมู เลี้ยงไก่ และไส้เดือนแอฟริกันเพื่อเอามาทำปุ๋ย รวมทั้งกำลังหัดประดิษฐ์กระเป๋าจากเศษวัสดุต่างๆ

มีคนรุ่นใหม่เรียนจบและกลับมาทำนาที่บ้านมากน้อยแค่ไหน?

"แถวนี้มีเยอะค่ะ ทั้งตำบลมีเยอะ อย่างคนที่ไปอบรมกับมูลนิธิข้าวขวัญ ส่วนมากจบปริญญาตรี เป็นดอกเตอร์ยังมีเลยนะ เดี๋ยวนี้คนนิยมซื้อที่ดินและปลูกข้าวกินเอง เขาดูแล้วว่าเกษตรกรเป็นคนหัวอ่อน หลงเชื่อพ่อค้าขายปุ๋ยขายยา คนที่เรียนสูงๆ เขาไม่อยากกินข้าวมีสารพิษ จึงมาทำเอง บางคนทำนา 2-5 ไร่"

"พ่อแม่ยังทำนาเคมีอยู่ ไม่เชื่อเราสนิทใจ เพราะยังไม่เห็นผลผลิตแน่นอน แต่ใช้น้ำหมักที่เราทำให้ ต้นทุนการทำนาของพ่อน่าจะอยู่ไร่ละ 3,000 บาท (ของเธอประมาณพันกว่าบาท รวมค่าไถ หว่าน ดำ)"

และอีกเหมือนกัน งานไหนที่ทำเองไม่ได้ หรือไม่มีเวลาทำ เธอก็จ้างแรงงานในครอบครัว เป็นพี่เขย ลูกพี่ลูกน้อง บางครั้งก็จ้างพ่อกับแม่ด้วย

"ที่บ้านมีรถไถ ตอนนี้จ้างพ่อไถ ให้ค่าจ้างไร่ละ 220 บาท เท่ากับคนอื่นจ้าง จุ๋มคิดตั้งแต่เริ่มไถทั้งหมด จ้างไถสามรอบ รอบแรกเกี่ยวข้าวแล้วไถหมักฟาง ตอนนั้นยังมีน้ำอยู่ พอเดือนหกจ้างไถเพื่อพลิกหน้าดิน พอใกล้ๆ หว่านข้าว ก็ไถหว่าน ตอนใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ก็จ้างพี่เขยให้ค่าแรงไร่ละ 60 บาท"

ทำไมไม่ทำเอง?

"เราทำงานมูลนิธิ ไม่ค่อยมีเวลา แล้วแต่หน้างานตอนนั้นว่าทำอะไรอยู่ ถ้าจ้างก็จ้างคนในครอบครัว อัตราเดียวกับที่คนอื่นจ้างตลาด ส่วนพ่อแม่ก็จ่ายค่าแรงให้ครึ่งหนึ่งช่วยครึ่งหนึ่ง"

จุ๋มบอกว่าปัจจุบันมีสมาชิกกลุ่มนาอินทรีย์ 24 ราย ทั้งหมู่บ้านรวม 377 ไร่

"พอมีโครงการเข้ามาทำให้มีโอกาส เราไม่ได้ไปคนเดียวแต่พาชาวบ้านไปด้วย ใครสนใจอาชีพเสริมก็พาไปดู หรือโรงเรียนชาวนาที่เปิดขึ้นมา ไม่ได้พูดถึงการทำนา แต่พูดถึงการลดต้นทุน การทำน้ำหมัก ทำปุ๋ยใส่ในนา เช่น ปุ๋ยมูลสัตว์ หรือทำอาชีพเสริม เช่น น้ำดื่มสมุนไพร สบู่ ยาสระผม เป็นการลดรายจ่าย และวางขายที่สี่แยกอินโดจีน บูธโอท็อป หรือขายให้หมู่บ้านข้างเคียง แต่แพ็กเกจยังค่อยไม่สวยนัก บางบ้านกวนน้ำยาล้างจาน ยาสระผมเอง ถ้าทำไม่ทันก็ขอซื้อบ้านอื่น"

ปัจจุบันกฤษติญาอายุ 27 ปี เธอตั้งใจว่าจะทำนาต่อไปเรื่อยๆ ยังไปสอบทำงานงานด้านอื่น แต่ใจชอบทางนี้มากกว่า เพราะได้อยู่กับธรรมชาติ

"คิดว่าการทำนาเป็นอาชีพที่ดีมาก แม้คนมองว่าไม่มีเกียรติ แต่เรามองลึกๆ ว่ามันดีไง เพราะทำให้คนมีชีวิตรอด"

ฟังแล้วปลื้มใจจริงๆ ค่ะ


.................................

('ชาวนารุ่นใหม่'ตั้งตัวได้ในสามปี : คอลัมน์คุยนอกกรอบ : โดย...สินีพร มฤคพิทักษ์)


รัฐบาลไหนซื้อ 15000


:b32: :b32: :b32:

นึกอยู่แล้วว่า..กักกายจะหยิบประเด็น...นี้..รัฐบาลไหนซื้อ 15,000 ?
:b32: :b32:



แล้วไงต่อ อิอิ

ใครน้าพูดว่า หยุดสะกดจิตชาวนา อิอิ

กบนอกกะลา เขียน:
ถ้าอยากจะช่วยชาวนา...

อันแรกที่ต้องท่องใว้เลย..คือ..เลิกสะกดจิตชาวนาได้แล้ว.


วันนี้ สุพรรณน้ำท่วมนา กบ ไม่ได้ข่าวมั่งหรอ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 09 พ.ย. 2017, 09:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


สงวน’ ชี้ ช็อปช่วยชาติไม่สามารถกระตุ้นเศรษฐกิจได้ กลุ่มนายทุนใหญ่เป็นผู้ได้ประโยชน์

https://www.komkhao.com/content/14245/% ... 9%E0%B9%8C

ก่อนหน้าเคยมี รบ.ไหนน้า แจกเฮินคนมีเงินเดือนหมื่นขึ้นไป คนละ 2000 ไปซื้อสินค้าที่ห้างเท่านั้น นี่มาอีกแระตะเภาเดียวกันตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 09 พ.ย. 2017, 18:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เริ่มแล้ว! 'เทสโก้ โลตัส เอ็กซ์โป 60' คึกคักรับช้อปช่วยชาติ

เทสโก้ โลตัส ผนึกคู่ค้า ผู้ผลิตสินค้าชั้นนำ เกษตรกร ผู้ประกอบการรายย่อยและกลุ่มชุมชน เปิดงาน “เทสโก้ โลตัส เอ็กซ์โป ’60” มหกรรมแสดงและจำหน่ายสินค้าครั้งใหญ่ของปีโดยมี คาดประชาชนร่วมงานคึกคักรับนโยบายช้อปช่วยชาติ ปลุกกำลังซื้อก่อนเข้าช่วงเทศกาล

https://news.voicetv.co.th/business/538360.html

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 09 พ.ย. 2017, 19:27 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
หาแนวทางไปเรื่อย....เดียวก็เจอสิ่งที่ใช่..เอง
http://www.komchadluek.net/news/knowledge/169199
อ้างคำพูด:

ชาวนารุ่นใหม่'ตั้งตัวได้ในสามปี : คอลัมน์คุยนอกกรอบ : โดย...สินีพร มฤคพิทักษ์

ตอนที่ได้ยิน "จุ๋ม" กฤษติญา ประภาตนันท์ บอกว่า "อยากทำนา" ทั้งที่เรียนจบปริญญาตรีด้านบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ ก็อึ้ง ไปรอบหนึ่งแล้ว

พอทราบว่า จากการทำนา และทำงานช่วงสามปีที่ผ่านมา ทำให้เธอสามารถปลูกบ้านราคา 2 แสนบาท, ซื้อรถตู้ด้วยเงินสด 4 แสนบาท แถมด้วยมอเตอร์ไซค์อีก 1 คัน ทำเอาอึ้งยิ่งกว่า

เพราะมนุษย์เงินเดือนอย่างเราๆ กว่าจะมีบ้านสักหลังอายุมักเลยเลขสี่ ทั้งยังต้องผ่อนแบงก์ไม่ต่ำกว่า 15 ปี

แต่เธอทำได้ ตั้งแต่อายุยังไม่ถึง 30 ปี !

ประการสำคัญคือ เก็บเงินได้เป็นกอบเป็นกำจากการทำนานี่แหละ

"คมชัดลึก" มีโอกาสพบกับ กฤษติญา ในโอกาสที่ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย นำสื่อมวลชนไปศึกษาดูงานภารกิจฝ่ายปกครอง มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ ที่บ้านดงพลวงเจริญผล ต.หนองพระ อ.วังทอง จ.พิษณุโลก ซึ่งเธอเป็นหนึ่งในอาสาสมัครปิดทองหลังพระ (อสพ.)

มูลนิธิยึดหลักพัฒนาตามแนวพระราชดำริ คือ เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา เป็นบันไดสามขั้นสู่ความสำเร็จ เริ่มต้นด้วยการสร้างความเข้าใจที่ตรงกันในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับนโยบาย หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาสังคม และภาคชุมชน และสร้างความพร้อมให้ชาวบ้านลุกขึ้นมาทำงานแก้ไขปัญหาและพัฒนาตนเอง

โดยพัฒนาศักยภาพทีมงาน และ อสพ.ในพื้นที่ อยู่กับชาวบ้าน 24 ชั่วโมง เพื่อเป็นแกนหลักขับเคลื่อนและถ่ายทอดองค์ความรู้ต่างๆ สู่ชาวบ้าน และสานต่อการพัฒนาเมื่อทีมพี่เลี้ยงถอนตัว

ในการแก้ปัญหาและพัฒนา ยึดหลักการองค์ความรู้ 6 มิติ คือ น้ำ-ป้องกันและแก้ไขปัญหาตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ ดิน-ปรับปรุงสภาพดิน เกษตร-การนำเกษตรทฤษฎีใหม่มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในแต่ละพื้นที่ พลังงานทดแทน ป่า และสิ่งแวดล้อม

เมื่อ ปรีชา เรืองจันทร์ ผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก ทราบจากผู้นำท้องถิ่นว่า ชาวบ้านยากจน ต้องการหลุดจากวงจรหนี้สิน จึงบอกว่าจะนำโครงการปิดทองหลังพระมาดำเนินการที่ ต.หนองพระ โดยให้ไปดูงาน จ.น่าน ในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 พอกลับมาก็เปิดโรงเรียนชาวนา และร่วมกับ อบต.ทำประชาคมสอบถามความต้องการของชาวบ้าน พบว่า บอกขาดแหล่งน้ำ จึงขุดลอกบึงสะเดาร้อยกว่าไร่ ผันน้ำจากเขื่อนแควน้อยบำรุงแดน ต.วังพิกุล อ.วังทอง มาเติมในฤดูแล้ง ทำเป็นแก้มลิงบึงสะเดา ให้ชาวบ้านทำนาปรัง

กฤษติญา เรียนจบปริญญาตรีด้านบริหารจัดการ จากมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต (อาร์แบค) หลังเรียนจบกลับมาอยู่บ้านเกิดในปี 2551 และทำงานบริษัทเอกชนที่ จ.พิษณุโลก ต่อมาสอบได้เป็นลูกจ้างปศุสัตว์ตำบล

เธอเปลี่ยนงานอีกครั้งเมื่อผู้ว่าฯ นำโครงการปิดทองหลังพระฯ มาลงที่หมู่บ้าน และทางมูลินิธิต้องการอาสาสมัครเพื่อไปฝึกงานที่ จ.น่าน เป็นเวลาหนึ่งเดือน ให้รู้ว่าต้องทำหน้าที่อะไรบ้าง เช่น ติดตามแผน สร้างความเข้าใจกับประชาชน มีส่วนร่วมกับกิจกรรมของชุมชน

จุ๋มบอกว่า "เราเป็น อสพ.และทำนาด้วย พ่อแม่ทำนา ช่วงที่กลับจากกรุงเทพฯ ทำงานบริษัทก็เริ่มทำนาด้วยโดยปลูกข้าวหอมมะลิ เพราะเห็นพ่อแม่ใช้สารเคมี อยากทำนา อยากรู้ว่าการไม่ใช้สารเคมีจะได้ข้าวไหม เริ่มทำน้ำหมักลดต้นทุน ตอนที่เริ่มทำนาปีแรกใช้ปุ๋ยเคมีมาก พอปีสองลดลงเหลือ 2 ลูก ปีที่สามไม่ใช้เลย ใช้ปุ๋ยอินทรีย์อย่างเดียว"

จากที่สังเกตพบว่า ไม่ว่าจะลดจำนวนปุ๋ยเคมีลงเท่าไรก็ได้ผลผลิตเท่าเดิมคือ 50 ถังต่อไร่ (ปลูกข้าวหอมมะลิ) หากเป็นข้าวพันธุ์ กข.ได้ 70 ถัง เนื่องจากดินที่นี่เป็นดินทราย และไม่มีน้ำ ต้องรอฝนอย่างเดียว จึงทำข้าวนาปี

ที่นา 20 ไร่ ปีแรกได้ข้าว 10 ตัน พอปีที่สองลดการใช้ปุ๋ยเคมีเหลือสองลูก ยังได้ข้าว 10 ตันเท่าเดิม

มาปีนี้เธอทำนาอินทรีย์ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ยังไม่ทราบผลผลิต เพราะต้องรอเกี่ยวเดือนพฤศจิกายน

อย่างไรก็ดี จากที่ลองทำเกษตรอินทรีย์บางส่วน เห็นความแตกต่างว่าข้าวมีความต้านทานโรคได้ดีกว่า ทำให้ระบบนิเวศในนาคืนกลับมา

"สองปีแรกเข้าโครงการจำนำข้าว แต่ปีนี้เข้าโครงการข้าวปลอดสารพิษ ซึ่งต้องตรวจทุกปี เพราะจะขอจีเอพี เป็นโครงการของหมู่บ้าน คือคนทำนาในหมู่บ้านแบ่งเป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรกทำหอมมะลิส่งสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. (สกต.) อีกกลุ่มทำส่งศูนย์เมล็ดพันธุ์จังหวัดพิษณุโลก

"รัฐบาลประกาศรับซื้อข้าวหอมมะลิ 15,000 บาทต่อตัน เราได้เพิ่มอีก 1,500 บาท เพราะเป็นข้าวปลอดสาร ขายให้ สกต. เขารับประกันการซื้อ มีอาจารย์จากราชภัฏที่สอนฟู้ดซายน์มาตรวจวัดสารเคมีรอบแปลงทุกเดือน ดูว่ามีแมลงตัวไหนบ้าง บอกว่าตัวไหนดี ไม่ดี ควรเก็บตัวไหนไว้"

เรื่องชวนอึ้งครั้งที่สามคือ เธอบอกว่า "เช่าที่ดินพ่อแม่ทำนา"

ทำไมต้องเช่า? จุ๋มอธิบายว่า

"คิดว่ากว่าที่พ่อแม่จะมีที่ดินได้ ต้องเก็บเงินซื้อที่ดิน ถ้าทำฟรีๆ ก็เอาเปรียบพ่อแม่ จึงเช่าไร่ละพันบาท เป็นอัตราเดียวกับชาวบ้านทั่วไป เช่า 20 ไร่ เป็นเงินปีละ 2 หมื่น เราต้องให้เขามีรายได้ด้วย พ่อมีนา 100 ไร่ และเช่าของญาติอีก 50 ไร่ คือญาติอยู่ จ.ตาก เขาไม่สะดวกมาทำ ก็เลยเช่าไร่ละพันบาท แต่พ่อทำที่นาที่เช่า ส่วนเราเช่าที่ดินของพ่อ เหมือนช่วยพ่อเอาเงินตรงนี้ไปจ่ายค่าเช่าอีกที เราทำในที่ดินของพ่อ ก็ดูแล บำรุงดินเป็นอย่างดี ถ้าทำแปลงคนอื่น ไม่รู้เขาจะมาเอาคืนเมื่อไร หากทำไว้ดีแล้วก็เสียดาย"

พ่อแม่ที่ทำนามักไม่อยากให้ลูกทำอาชีพนี้ เพราะเห็นว่างานหนัก จึงส่งเสียให้เรียนสูงๆ แต่นี่กลับมาอยู่บ้านต่างจังหวัด แล้วยังขอทำนาอีก ตอนแรกพ่อตอบว่าอย่างไร? จุ๋มตอบว่า ทีแรกพ่อพูดเหมือนกันว่าส่งไปเรียนอยากให้เป็นเจ้าคนนายคน ทำไมกลับมาทำนา เธอตอบพ่อว่า คนบอกว่าชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ เป็นคนสำคัญของประเทศ เราเป็นคนผลิตข้าวเลี้ยงคนอื่น คิดอย่างนี้เลยกลับมาทำนา

"พ่อแม่บอกจะทำนาทำไม ให้ไปหาสอบทำงานอื่น เราทำงานประจำในบริษัท ซึ่งหยุดวันเสาร์อาทิตย์ก็ทำนาได้ และว่าหนูอยากได้ของบ้าง อย่างเรามาทำนาก็มีเงินเก็บ ตอนนี้ปลูกบ้านได้แล้วหลังเล็กๆ ประมาณ 2 แสนบาท ซื้อรถตู้ด้วยเงินสดหนึ่งคันราคา 4 แสนบาท และมอเตอร์ไซค์อีกคันราคา 3.6 หมื่นบาท"

ทรัพย์สินทั้งหมดนี้ หลักๆ ก็ได้มาจากการทำนานี่แหละ เพราะหลังเรียนจบไม่มีหนี้สินอะไร

บ้านที่ปลูกใหม่มีค่าใช้จ่ายเฉพาะค่าแรง ส่วนไม้สร้างบ้านไม่ต้องห่วง เพราะแม่และพ่อคิดการณ์ไกล ปลูกทิ้งตามหัวไร่ปลายนาไว้ตั้งแต่เธอยังเป็นเด็ก มีทั้งไม้ประดู่ สะเดา

"ตอนเด็กๆ แม่พาไปนา และปลูกไม้ต่างๆ ไว้ ช่วยกันปลูก ปลูกเก็บไว้เยอะ แม่บอกว่าโตแล้วจะได้เอามาปลูกบ้าน..."

ทำนาสองปีทำให้มีเงินเก็บ?

"ทำนาได้เงินเก็บปีละแสนบาท และทำงานประจำด้วย ช่วงที่ว่างจากทำนาก็รับทำงานอื่น ด้วย เช่น อนามัยจ้างคีย์ข้อมูลชุดละ 3 บาท เราก็รับทำจากหลายอนามัย กะว่าอายุ 55 ปีจะเกษียณ จะเดินทางท่องเที่ยว...เห็นพ่ออายุ 60 ปียังทำนาอยู่ ไม่อยากเป็นอย่างนั้น คืออายุ 60 ปีอาจทำนาอยู่ แต่จะโทรสั่งเอา ให้พ่อแม่ดูแลหรือจ้างเขาทำ เหมือนกับช่วยคนที่ไม่มีรายได้ด้วย"

เกษตรกรรรุ่นใหม่รายนี้บอกว่า เงินที่ได้จากการขายข้าวเลี้ยงตัวได้แน่นอน ดังที่เธออธิบายว่า ปีหนึ่งทำนาครั้งเดียว ใช้เวลา 4-5 เดือน ได้ข้าว 10 ตัน ขายตันละ 15,000 บาท ก็ได้เงินรวม 150,000 บาท ขณะที่มีต้นทุนรวมเพียง 3-5 หมื่นบาท

เท่ากับว่าเหลือเงิน 1 แสนบาทต่อปี หรือต่อรอบการผลิต

หมายเหตุไว้นิดว่า รอบไหนที่ต้นทุนถึง 5 หมื่นบาท นั่นเพราะต้องเสียค่าน้ำมันสูบน้ำเข้านา

"เราจะเลือกหว่านช้าๆ หน่อย ถ้าหว่านเร็วเหมือนหว่านเงินทิ้งไปหนึ่งเดือน ข้าวหอมมะลิมันไวต่อแสง มีอายุ 120 วันในการออก เราต้องปลูกเดือนสิงหาคม เก็บเกี่ยวเดือนพฤศจิกายน หว่านช้าๆ ปลายๆ หน่อยให้เหลือแค่ 4 เดือนก็พอ แต่น้อยกว่านี้ไม่ได้ เพราะข้าวจะคุณภาพไม่ดี ข้าวจะผลิตความหอม และความเต่งไม่พอ"

อธิบายได้แจ่มแจ้งขนาดนี้ ใช่ว่าจะเป็นผู้เชี่ยวชาญมาจากไหน เธอเพิ่งลงมือทำนาเพียงสามครั้ง และหลายอย่างก็เรียนรู้จากคนอื่น

"เรียนดำนาจากพ่อ ดูวิธีการทำน้ำหมักจากหนังสือ และจากการที่ได้ทำงานในโครงการปิดทองหลังพระ ทำให้มีโอกาสได้ไปศึกษาจากมูลนิธิข้าวขวัญ เกี่ยวกับการทำนาลดต้นทุนที่สุพรรณบุรี รวมทั้งอีกหลายแห่ง

"ที่สุพรรณฯ ดินดี เป็นดินเหนียว และควบคุมน้ำได้ เพราะมีคลองส่งน้ำและไม่มีมีหญ้า พอหญ้าขึ้นก็เอาน้ำท่วมหญ้า ที่บ้านทำนาหว่าน เพราะไม่มีน้ำ ต้องรอน้ำฝนอย่างเดียว หญ้าขึ้นก็ถอนเอา นาของเราหญ้าเยอะ ทำให้ได้ข้าวน้อย"

ทำนาเป็นอาชีพหลัก หรือต้องมีอาชีพเสริม? กฤษติญาตอบว่า

อาชีพหลักคือทำเกษตร เพราะนอกจากปลูกข้าวแล้ว เธอยังเลี้ยงหมู เลี้ยงไก่ และไส้เดือนแอฟริกันเพื่อเอามาทำปุ๋ย รวมทั้งกำลังหัดประดิษฐ์กระเป๋าจากเศษวัสดุต่างๆ

มีคนรุ่นใหม่เรียนจบและกลับมาทำนาที่บ้านมากน้อยแค่ไหน?

"แถวนี้มีเยอะค่ะ ทั้งตำบลมีเยอะ อย่างคนที่ไปอบรมกับมูลนิธิข้าวขวัญ ส่วนมากจบปริญญาตรี เป็นดอกเตอร์ยังมีเลยนะ เดี๋ยวนี้คนนิยมซื้อที่ดินและปลูกข้าวกินเอง เขาดูแล้วว่าเกษตรกรเป็นคนหัวอ่อน หลงเชื่อพ่อค้าขายปุ๋ยขายยา คนที่เรียนสูงๆ เขาไม่อยากกินข้าวมีสารพิษ จึงมาทำเอง บางคนทำนา 2-5 ไร่"

"พ่อแม่ยังทำนาเคมีอยู่ ไม่เชื่อเราสนิทใจ เพราะยังไม่เห็นผลผลิตแน่นอน แต่ใช้น้ำหมักที่เราทำให้ ต้นทุนการทำนาของพ่อน่าจะอยู่ไร่ละ 3,000 บาท (ของเธอประมาณพันกว่าบาท รวมค่าไถ หว่าน ดำ)"

และอีกเหมือนกัน งานไหนที่ทำเองไม่ได้ หรือไม่มีเวลาทำ เธอก็จ้างแรงงานในครอบครัว เป็นพี่เขย ลูกพี่ลูกน้อง บางครั้งก็จ้างพ่อกับแม่ด้วย

"ที่บ้านมีรถไถ ตอนนี้จ้างพ่อไถ ให้ค่าจ้างไร่ละ 220 บาท เท่ากับคนอื่นจ้าง จุ๋มคิดตั้งแต่เริ่มไถทั้งหมด จ้างไถสามรอบ รอบแรกเกี่ยวข้าวแล้วไถหมักฟาง ตอนนั้นยังมีน้ำอยู่ พอเดือนหกจ้างไถเพื่อพลิกหน้าดิน พอใกล้ๆ หว่านข้าว ก็ไถหว่าน ตอนใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ก็จ้างพี่เขยให้ค่าแรงไร่ละ 60 บาท"

ทำไมไม่ทำเอง?

"เราทำงานมูลนิธิ ไม่ค่อยมีเวลา แล้วแต่หน้างานตอนนั้นว่าทำอะไรอยู่ ถ้าจ้างก็จ้างคนในครอบครัว อัตราเดียวกับที่คนอื่นจ้างตลาด ส่วนพ่อแม่ก็จ่ายค่าแรงให้ครึ่งหนึ่งช่วยครึ่งหนึ่ง"

จุ๋มบอกว่าปัจจุบันมีสมาชิกกลุ่มนาอินทรีย์ 24 ราย ทั้งหมู่บ้านรวม 377 ไร่

"พอมีโครงการเข้ามาทำให้มีโอกาส เราไม่ได้ไปคนเดียวแต่พาชาวบ้านไปด้วย ใครสนใจอาชีพเสริมก็พาไปดู หรือโรงเรียนชาวนาที่เปิดขึ้นมา ไม่ได้พูดถึงการทำนา แต่พูดถึงการลดต้นทุน การทำน้ำหมัก ทำปุ๋ยใส่ในนา เช่น ปุ๋ยมูลสัตว์ หรือทำอาชีพเสริม เช่น น้ำดื่มสมุนไพร สบู่ ยาสระผม เป็นการลดรายจ่าย และวางขายที่สี่แยกอินโดจีน บูธโอท็อป หรือขายให้หมู่บ้านข้างเคียง แต่แพ็กเกจยังค่อยไม่สวยนัก บางบ้านกวนน้ำยาล้างจาน ยาสระผมเอง ถ้าทำไม่ทันก็ขอซื้อบ้านอื่น"

ปัจจุบันกฤษติญาอายุ 27 ปี เธอตั้งใจว่าจะทำนาต่อไปเรื่อยๆ ยังไปสอบทำงานงานด้านอื่น แต่ใจชอบทางนี้มากกว่า เพราะได้อยู่กับธรรมชาติ

"คิดว่าการทำนาเป็นอาชีพที่ดีมาก แม้คนมองว่าไม่มีเกียรติ แต่เรามองลึกๆ ว่ามันดีไง เพราะทำให้คนมีชีวิตรอด"

ฟังแล้วปลื้มใจจริงๆ ค่ะ


.................................

('ชาวนารุ่นใหม่'ตั้งตัวได้ในสามปี : คอลัมน์คุยนอกกรอบ : โดย...สินีพร มฤคพิทักษ์)


รัฐบาลไหนซื้อ 15000


:b32: :b32: :b32:

นึกอยู่แล้วว่า..กักกายจะหยิบประเด็น...นี้..รัฐบาลไหนซื้อ 15,000 ?
:b32: :b32:



แล้วไงต่อ อิอิ

ใครน้าพูดว่า หยุดสะกดจิตชาวนา อิอิ

กบนอกกะลา เขียน:
ถ้าอยากจะช่วยชาวนา...

อันแรกที่ต้องท่องใว้เลย..คือ..เลิกสะกดจิตชาวนาได้แล้ว.


วันนี้ สุพรรณน้ำท่วมนา กบ ไม่ได้ข่าวมั่งหรอ


วันนี้..ราคาข้าวเท่าไรแล้วละ?..แล้ว...ประชาชาวไทยเสียตังค์ให้นายทุนการเมืองคนไหนได้รวย..อะป้าว?

:b32: :b32: :b32:

วันนี้...ข้าวเปียก...9 บาทต่อกิโลกรัม...ชาวนายิ้มหน้าบานเชียวละ.. (พ่อค้าที่ท่าข้าวเขาคิดราคาข้าวเปียก ประมาณ 60 % ของข้าวแห้ง)

หากตีกลับไปเป็นข้าวแห้ง...9/0.60 = 15 บาท/กก.

เป็นตัน..ก็ได้..15,000 บาทแล้วละครับ..นี้เป็นไปตามกลไกตลาดปกติ...

เมื่อเป็นไปตามกลไกการค้าปกติ...ชาวนาเขาก็จะวางแผนได้ถูก..ว่าปีหน้าจะทำอย่างไร

ส่วนที่น้ำท่วมเสียหาย...รัฐต้องเข้าไปช่วย...เพราะหลายๆที่..ที่น้ำท่วม..เป็นเพราะความบกพร่องของรัฐ..เช่น..ผนังกั้นน้ำแตก...เขื่อนแตก...เป็นต้น


โพสต์ เมื่อ: 09 พ.ย. 2017, 19:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:


วันนี้..ราคาข้าวเท่าไรแล้วละ?..แล้ว...ประชาชาวไทยเสียตังค์ให้นายทุนการเมืองคนไหนได้รวย..อะป้าว?

:b32: :b32: :b32:

วันนี้...ข้าวเปียก...9 บาทต่อกิโลกรัม...ชาวนายิ้มหน้าบานเชียวละ.. (พ่อค้าที่ท่าข้าวเขาคิดราคาข้าวเปียก ประมาณ 60 % ของข้าวแห้ง)

หากตีกลับไปเป็นข้าวแห้ง...9/0.60 = 15 บาท/กก.

เป็นตัน..ก็ได้..15,000 บาทแล้วละครับ..นี้เป็นไปตามกลไกตลาดปกติ...

เมื่อเป็นไปตามกลไกการค้าปกติ...ชาวนาเขาก็จะวางแผนได้ถูก..ว่าปีหน้าจะทำอย่างไร

ส่วนที่น้ำท่วมเสียหาย...รัฐต้องเข้าไปช่วย...เพราะหลายๆที่..ที่น้ำท่วม..เป็นเพราะความบกพร่องของรัฐ..เช่น..ผนังกั้นน้ำแตก...เขื่อนแตก...เป็นต้น



กบ อย่าสะกดจิตชาวนา ไหนเอาข่าวมาดูหน่อยสิ :b1: :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 09 พ.ย. 2017, 19:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อภิสิทธิ์” อัด “บิ๊กตู่” ตั้งคำถาม 6 ข้อ เอาเวลาไปแก้ปัญหาปากท้อง ดีกว่า

https://kaohit.com/52501/%E0%B8%AD%E0%B ... %E0%B8%B1/

อ้าวอัดกันเองสะแระ :b32: เห็นคะแนนตกยันส่งเลย

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 09 พ.ย. 2017, 20:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
ถ้าอยากจะช่วยชาวนา...

อันแรกที่ต้องท่องใว้เลย..คือ..เลิกสะกดจิตชาวนาได้แล้ว.


“โหร คมช.” เผยเห็นภาพนิมิต ครม.ประยุทธ์ 5 รับประกันถูกใจประชาชนแน่นอน

https://kaohit.com/wp-content/uploads/2 ... 00.fw_.png

เอานิมิตสะกดจิตคนอีกแล้ว :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 09 พ.ย. 2017, 20:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


คอลัมน์ ชกไม่มีมุม : เริ่มรู้สึกกันแล้ว

“วงค์ ตาวัน”

ถึงเวลานี้ สถานการณ์น้ำท่วมในพื้นที่ภาคเหนือบางส่วน ภาคอีสานบางส่วน และหลายจังหวัดในภาคกลาง เริ่มลดระดับลงไป แต่ไม่ใช่ว่าแห้งสนิทแล้ว ยังคงมีน้ำจมอยู่ตามบ้านเรือน ตามทุ่งต่างๆ เป็นวงกว้าง คงต้องใช้เวลาอีกนับเดือนกว่าจะจบสิ้นกันจริงๆ

ยังดีที่เข้าสู่ฤดูหนาวแล้ว ไม่มีฝนมาเติมทางภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคกลาง

ที่ยังต้องไปลุ้นไประวังกันต่อไปคือภาคใต้ทั้ง 14 จังหวัด ซึ่งกำลังเผชิญฝนที่ยังคงหนักอยู่

หลายปีมานี้ เรามีน้ำท่วมทุกฤดูมรสุม คนในชนบทเลยอดไม่ได้ ต้องพากันนึกถึงรัฐบาลนักการเมือง ในเรื่องการบริหารจัดการและการดูแลทุกข์สุขชาวบ้าน

เพราะนักการเมือง มีหน้าที่หาคะแนนเสียง จากประชาชน ย่อมต้องร่วมทุกข์ร่วมสุขในทุกเหตุร้าย เป็นเรื่องปกติธรรมดา

ขณะที่รัฐบาลคนดี รัฐบาลที่มาจากอำนาจนอกระบบนั้น มักถือว่าตัวเองไม่ใช่นักการเมือง ไม่ต้อง หาคะแนนนิยมอะไร!?

อีกทั้งความถนัดของรัฐบาลที่เต็มไปด้วยคนในเครื่องแบบ ย่อมเป็นเรื่องความมั่นคง การควบคุมรักษาความสงบ

เน้นเสริมความพร้อมให้กองทัพ

ไม่ได้ถนัดรอบด้านเหมือนรัฐบาลปกติทั่วไป ไม่เคยเล่นบทรีบลุยน้ำไปเยี่ยมชาวบ้าน เพราะไม่ต้องคอยห่วงคะแนนเสียง

แต่ถามว่า เราเป็นชาวบ้าน เราต้องการรัฐบาลแบบไหน!?

รัฐบาลคนดีของชนชั้นสูงและชนชั้นกลางนั้น ไม่ต้องเข้าหาประชาชน เพราะเขารังเกียจกลวิธีการหาคะแนนเสียง

แต่รัฐบาลแบบไหนเล่า ที่สอดคล้องกับผลประโยชน์ของประชาชนวงกว้างมากกว่า!

นอกจากเรื่องน้ำท่วม ที่สะท้อนรูปธรรมของการบริหารงานและการดูแลประชาชนของรัฐบาลที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งได้ชัดเจนแล้ว

เรื่องเศรษฐกิจการค้า เป็นอีกปัญหาที่เห็นกันได้ พอไม่ได้มาจากการเลือกตั้งก็ต้องเจอการรังเกียจตั้งแง่ทางการค้าจากหลายๆ ชาติ

แถมการลงทุนขนาดใหญ่ในประเทศก็ไม่เกิด คราวนี้เงินทองก็เริ่มฝืดเคือง

จึงไม่น่าแปลกใจ เมื่อ 3 ปีของรัฐบาลคสช.ผ่านไป พอถึงจังหวะจะต้องปรับครม.

เลยเกิดเสียงเรียกร้องกระหึ่ม ให้ล้างไพ่รัฐมนตรี ทีมเศรษฐกิจ!!

เพราะสภาพปากท้องประชาชนมันวิกฤต

เรียกร้องอีกอย่างคือ ให้ลดสัดส่วนทหารในครม.ลงไป

แปลว่าภาพของรัฐบาลทหารในวันนี้เริ่มเป็นเช่นไร!?

ที่โหมกระแสเกลียดนักการเมืองชั่ว แล้วหลงทางไปกับข้อเรียกร้องให้เดินทางลัด คือ หยุดประชาธิปไตย ต้องปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง

ผ่านมา 3 ปี เริ่มรับรู้ผลแห่งการกระทำนั้นแล้ว ถ้วนหน้า!

https://www.khaosod.co.th/newspaper-col ... ews_624150

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 10 พ.ย. 2017, 08:29 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:


วันนี้..ราคาข้าวเท่าไรแล้วละ?..แล้ว...ประชาชาวไทยเสียตังค์ให้นายทุนการเมืองคนไหนได้รวย..อะป้าว?

:b32: :b32: :b32:

วันนี้...ข้าวเปียก...9 บาทต่อกิโลกรัม...ชาวนายิ้มหน้าบานเชียวละ.. (พ่อค้าที่ท่าข้าวเขาคิดราคาข้าวเปียก ประมาณ 60 % ของข้าวแห้ง)

หากตีกลับไปเป็นข้าวแห้ง...9/0.60 = 15 บาท/กก.

เป็นตัน..ก็ได้..15,000 บาทแล้วละครับ..นี้เป็นไปตามกลไกตลาดปกติ...

เมื่อเป็นไปตามกลไกการค้าปกติ...ชาวนาเขาก็จะวางแผนได้ถูก..ว่าปีหน้าจะทำอย่างไร

ส่วนที่น้ำท่วมเสียหาย...รัฐต้องเข้าไปช่วย...เพราะหลายๆที่..ที่น้ำท่วม..เป็นเพราะความบกพร่องของรัฐ..เช่น..ผนังกั้นน้ำแตก...เขื่อนแตก...เป็นต้น



กบ อย่าสะกดจิตชาวนา ไหนเอาข่าวมาดูหน่อยสิ :b1: :b1:


ต้องเรียกว่า..ถูกชาวนาสะกดจิต..ครับ.. :b32: :b32: :b32:

เพราะ..โทรคุยกันตรงๆ...เสียงชาวนาเจื้อยแจ้ว...ครื้นเครง..น่าอิจฉาเลยเชียวแหละคุณเอ๋ย..

555... :b9: :b9: :b9:


โพสต์ เมื่อ: 10 พ.ย. 2017, 08:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


บิ๊กตู่" แจงลดขนาด"เพื่อไทย"ไม่ได้อยู่ที่ปชช.เลือก วอน อย่าให้ 3 ปีที่ทำมา"ล้มเหลว"

http://www.nationtv.tv/main/content/378580497/

นั่นคือเหตุแห่งการเป่านกหวีดทำการปฏิวัติ และดูเหมือนปฏิวัติจะเสียของอีกครั้ง

และนี่คืออีกเหตุหนึ่งที่

รูปภาพ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 10 พ.ย. 2017, 08:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


และนี่คือภาพความแตกแยกในสังคมไทยเมื่อ 10 ล่วงแล้วมาจนถึงปัจจุบัน ที่ประชาชนถูกสะกดจิต อิอิ

รูปภาพ

http://www.komchadluek.net/news/scoop/3 ... fo.twitter

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 10 พ.ย. 2017, 09:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


มรดกยุคจอมพล!! ตั้งพรรคทหารสืบทอดอำนาจในเกมเลือกตั้ง

https://news.voicetv.co.th/thailand/538303.html

ซ่อนแอบแปลงรูป' .. วิถีการเมืองใต้อำนาจทหาร

• การเมืองพม่า อยู่ใต้อำนาจนายพลเน วิน 26 ปี, นายพลอาวุโส ตานฉ่วย 23 ปี หลังจากนั้นก็ 'ซ่อนแอบแปลงรูป' ถอดเครื่องแบบมาตั้งพรรคนายทหารเกษียณอายุ จัดเลือกตั้งและชนะเลือกตั้งจากอำนาจกองทัพสนับสนุน

• การเมืองไทย อยู่ใต้อำนาจจอมพล ป. 10 ปี, จอมพลสฤษดิ์ 5 ปี, จอมพลถนอม 11 ปี

สำหรับของไทย ผศ.ดร.ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ เล่าสรุปย่อวิธีการที่ทหารจะควบคุมอำนาจทางการเมืองเพื่อจะมีอำนาจนำในประเทศ จากวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก เรื่อง ‘บทบาททางการเมืองของจอมพลถนอม กิตติขจร พ.ศ. 2506-2516’

https://www.facebook.com/subhatra.bhumi ... nref=story

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 10 พ.ย. 2017, 13:43 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


มาอีกแระ....แฝงการเมือง...

มามา..มานี้...มาเอาใจช่วยชาวนาหน่อย....ข้าวเปียก ขึ้นมาที่ 10. บาท/กก. แล้ว..


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กระทู้นี้ถูกล็อก คุณไม่สามารถแก้ไขข้อความ หรือ ตอบกลับในกระทู้นี้  [ 449 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 14, 15, 16, 17, 18, 19, 20 ... 30  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร