วันเวลาปัจจุบัน 27 ก.ค. 2025, 18:34  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 219 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ... 15  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.ย. 2016, 15:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
ตอบคำถามคุณกรัธกายทีเดียวกับตัวอย่างที่นำมาลง

ลัทธิอื่นก็มีนั่งสมาธิ เดินจงกรม

นั่งเก่ง เข้าญาณระดับลึกได้

แต่ทำไมไม่บรรลุธรรมครับ

เขาขาดตกบกพร่องตรงไหน?



ธรรมที่คุณว่าหมายถึงอะไรครับ เอาชัดๆ ธรรมที่ว่าอะไร

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.ย. 2016, 16:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7520

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
Rosarin เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ลึกลงไปอีกหน่อย

เวลาผมนั่งสมาธิ พอภาวนาไปซักพัก เริ่มตัดภาวนาไปแล้วทีนี้ก็จะเกิดอาการขนลุกเย็นทั้งตัว แล้วหลังจากนั้นก็จะมีภาพ คน สัตว์ แมลง ที่เราเคยทำร้ายเคยทำให้เค้าตาย หรือเจ็บลอยมาให้เห็น คือ แปลกใจว่า บางเรื่องเป็นเรื่องที่นานมาก บางเรื่องเป็นเรื่องสมัยเด็กๆอยู่ด้วยซ้ำ ซึ่งบางทีนึกถึงยังนึกไม่ออกเลย เพราะนานมาก แต่พอมานั่งสมาธิ ก็ลอยมาให้เห็นเฉยเลย


สัญญาไม่เที่ยงครับ

บางทีก็จำได้
บางทีก็จำไม่ได้

ผ่านมาหลาย10ปี พอจำได้ก็นึกแปลกใจในสัญญานั้น

Kiss
:b32:
ขำสติวเด้น แปลกใจอะไร ธรรมดาตามภพภูมิอยู่แล้วนี่ เรื่องจำได้ หรือ จำไม่ได้คือลืมนะ
ที่สำคัญคือจำถูกตามคำสอนแค่ไหน เพราะเป็นปัญญา เป็นจิต เจตสิก รูปจำ ไม่ใช่ตัวตน
:b41: :b41: :b41: :b41: :b41:


สัญญา เป็นเจตสิกอยู่แล้วครับ
ไม่ใช่รูป
เป็นนาม
เกิดตามเหตุปัจจัย
นั่งสมาธิ อาจเป็นเหตุปัจจัยให้สัญญาในอดีตปรากฎชัด

Kiss
อันนี้...ที่สติวเด้นเขียนว่า...ผ่านมาหลาย10ปี พอจำได้ก็นึกแปลกใจในสัญญานั้น
จำสภาพที่กำลังปรากฏทีละ1ขณะหรือจำเป็นเรื่องราวคนสัตว์สิ่งของต้องตรงน๊าว่า
สัญญาจำได้หมายรู้ที่ตนกำลังมีขณะไหนเป็นกุศลจิตและขณะไหนเป็นอกุศลจิตเออ
แม้เดี๋ยวนี้กำลังมีสติรู้ตรงสภาพธรรมตามเป็นจริงตามเหตุปัจจัยว่าไม่ใช่เราของเรารึยัง
:b16:
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.ย. 2016, 16:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7520

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
Rosarin เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อีกสัก ตย.

ขณะกำลังทำสมาธิอยู่ จู่ๆร่างของเราก็เหมือนถูกดึง เราก็ปล่อยตามสะบายแค่ตามดู คิดว่าเป็นนิมิตธรรมดา แต่ไม่ใช่ค่ะ เพราะนิมิตธรรมดา เรากำหนดรู้มักจะหายไปได้เอง แต่นี้ไม่ใช่ เขาวิ่งผ่านตัวเราไปค่ะ กระแสของเขาตอนที่ผ่านร่าง เหมือนจิตกับกายเราจะแยกออกจากกัน ความเจ็บปวดที่เราเคยปวด (เวทนา) ที่นั่งสมาธิตอนแรกไม่เจ็บเท่านี้ เหมือนร่างกายเราถูกฉีก เหมือนเส้นเลือดจะระเบิดประมาณนั้นจริง ๆ ค่ะ เราแผ่เมตตาให้เขา เขาก็ไม่ยอม แรงเหวี่ยงเยอะมาก ๆ ทั้งที่ห้องปิดหมดเปิดแอร์นะ แต่มีกระแสลมหมุนตลอดเวลา


เรากำลังสร้างความเชื่อให้กับตนเอง
เวลาปฎิบัติ ต้องทิ้งทุกอย่าง ทิ้งความเห็น ให้เหลือแต่สัมมาทิฎฐิเกี่ยวกับธรรมตรงหน้า

tongue
:b32:
ทิ้งความเห็นทำยังไง
ในเมื่อความเห็นผิด
ว่าเป็นเราทำมีตัวตน
แล้วจะทิ้งยังไงนะเออ
:b22: :b22: :b22:


เคยได้ยินพุทธคาถานี้ไหมครับ
"เราจะทำความเพียร แม้เทวดาก็ห้ามเราไม่ได้"
นั่นคือ เราไม่ต้องไปใส่ใจกับเรื่องต่างๆ ดำรงตนกับธรรมเฉพาะหน้า

Kiss
น่านะ
จะยังไงก็ทิ้งกิเลสคือความไม่รู้และความเห็นผิดไม่ได้เพราะดับและสะสมรอให้ผลแล้วค่ะ
มีแต่ต้องเป็นผู้ตรงต่อความจริงว่ายังเป็นเราที่มีอุปาทานขันธ์และไม่สามารถเพียรในกุศลได้
การทำความเห็นให้ถูกต้องต่อความจริงตามคำสอนเป็นหนทางเดียวที่จะเพิ่มความรู้เพื่อดับไม่รู้
กิเลสที่สะสมคือจิต+อกุศลเจตสิก+รูปเกิดได้ทุกเวลาที่มีความเห็นผิดว่าเป็นเราคิด พูด ทำ นะคะ
ปัญญาที่สะสมเพิ่มขึ้นทุกขณะที่เป็นจิต+โสภณเจตสิก+รูปใน1ขณะนั้นเองที่เริ่มเข้าใจถูกจึงละชั่วได้
:b13:
:b44: :b44:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.ย. 2016, 23:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
student เขียน:
Rosarin เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ลึกลงไปอีกหน่อย

เวลาผมนั่งสมาธิ พอภาวนาไปซักพัก เริ่มตัดภาวนาไปแล้วทีนี้ก็จะเกิดอาการขนลุกเย็นทั้งตัว แล้วหลังจากนั้นก็จะมีภาพ คน สัตว์ แมลง ที่เราเคยทำร้ายเคยทำให้เค้าตาย หรือเจ็บลอยมาให้เห็น คือ แปลกใจว่า บางเรื่องเป็นเรื่องที่นานมาก บางเรื่องเป็นเรื่องสมัยเด็กๆอยู่ด้วยซ้ำ ซึ่งบางทีนึกถึงยังนึกไม่ออกเลย เพราะนานมาก แต่พอมานั่งสมาธิ ก็ลอยมาให้เห็นเฉยเลย


สัญญาไม่เที่ยงครับ

บางทีก็จำได้
บางทีก็จำไม่ได้

ผ่านมาหลาย10ปี พอจำได้ก็นึกแปลกใจในสัญญานั้น

Kiss
:b32:
ขำสติวเด้น แปลกใจอะไร ธรรมดาตามภพภูมิอยู่แล้วนี่ เรื่องจำได้ หรือ จำไม่ได้คือลืมนะ
ที่สำคัญคือจำถูกตามคำสอนแค่ไหน เพราะเป็นปัญญา เป็นจิต เจตสิก รูปจำ ไม่ใช่ตัวตน
:b41: :b41: :b41: :b41: :b41:


สัญญา เป็นเจตสิกอยู่แล้วครับ
ไม่ใช่รูป
เป็นนาม
เกิดตามเหตุปัจจัย
นั่งสมาธิ อาจเป็นเหตุปัจจัยให้สัญญาในอดีตปรากฎชัด

Kiss
อันนี้...ที่สติวเด้นเขียนว่า...ผ่านมาหลาย10ปี พอจำได้ก็นึกแปลกใจในสัญญานั้น
จำสภาพที่กำลังปรากฏทีละ1ขณะหรือจำเป็นเรื่องราวคนสัตว์สิ่งของต้องตรงน๊าว่า
สัญญาจำได้หมายรู้ที่ตนกำลังมีขณะไหนเป็นกุศลจิตและขณะไหนเป็นอกุศลจิตเออ
แม้เดี๋ยวนี้กำลังมีสติรู้ตรงสภาพธรรมตามเป็นจริงตามเหตุปัจจัยว่าไม่ใช่เราของเรารึยัง
:b16:
:b4: :b4:


ความเป็นกุศลจิตหรือ อกุศลจิตไม่ใช่สัญญาครับ
ความเป็นกุศลจิต หรือ อกุศลจิต คือสังขาร
สัญญาคือเหตุปัจจัยที่ปรากฎขึ้นมาเพราะความเป็นขันธ์5

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.ย. 2016, 00:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
ตอบคำถามคุณกรัธกายทีเดียวกับตัวอย่างที่นำมาลง

ลัทธิอื่นก็มีนั่งสมาธิ เดินจงกรม

นั่งเก่ง เข้าญาณระดับลึกได้

แต่ทำไมไม่บรรลุธรรมครับ

เขาขาดตกบกพร่องตรงไหน?



ธรรมที่คุณว่าหมายถึงอะไรครับ เอาชัดๆ ธรรมที่ว่าอะไร


คุณกรัธกายอ่านไม่ตรงความหมายครับ
ผมเขียนนั่งสมาธิ เดินจงกรม
ไม่ได้บอกว่ามีธรรมอะไรเป็นเครื่อง

ก็เพราะขาด"โพธิปักขิยธรรม"เป็นเครื่อง จึงไม่อาจบรรลุธรรมได้เหมือนสาวกในพุทธศาสนา
เพราะสาวกในพุทธศาสนาพิจารณาว่า ธรรมที่เป็นกุศลควรเจริญ
ธรรมที่เป็นอกุศล เช่น โลภะ โทสะ โมหะ ควรละ
ก็ธรรมอะไรเป็นเครื่องละ โลภะ โทสะ โมหะนั้น
ก็มี โพธิปักขิยธรรม เช่น มรรค8เพื่อรู้แจ้งอริยสัจ4 และอื่นๆ(โพธิปักขิยธรรมมีหลายหมวด)
มาปฎิบัติจึงเกิดวิชชา ทำลายกิเลสเหล่านี้ลงได้

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


แก้ไขล่าสุดโดย student เมื่อ 23 ก.ย. 2016, 00:16, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.ย. 2016, 00:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
student เขียน:
Rosarin เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อีกสัก ตย.

ขณะกำลังทำสมาธิอยู่ จู่ๆร่างของเราก็เหมือนถูกดึง เราก็ปล่อยตามสะบายแค่ตามดู คิดว่าเป็นนิมิตธรรมดา แต่ไม่ใช่ค่ะ เพราะนิมิตธรรมดา เรากำหนดรู้มักจะหายไปได้เอง แต่นี้ไม่ใช่ เขาวิ่งผ่านตัวเราไปค่ะ กระแสของเขาตอนที่ผ่านร่าง เหมือนจิตกับกายเราจะแยกออกจากกัน ความเจ็บปวดที่เราเคยปวด (เวทนา) ที่นั่งสมาธิตอนแรกไม่เจ็บเท่านี้ เหมือนร่างกายเราถูกฉีก เหมือนเส้นเลือดจะระเบิดประมาณนั้นจริง ๆ ค่ะ เราแผ่เมตตาให้เขา เขาก็ไม่ยอม แรงเหวี่ยงเยอะมาก ๆ ทั้งที่ห้องปิดหมดเปิดแอร์นะ แต่มีกระแสลมหมุนตลอดเวลา


เรากำลังสร้างความเชื่อให้กับตนเอง
เวลาปฎิบัติ ต้องทิ้งทุกอย่าง ทิ้งความเห็น ให้เหลือแต่สัมมาทิฎฐิเกี่ยวกับธรรมตรงหน้า

tongue
:b32:
ทิ้งความเห็นทำยังไง
ในเมื่อความเห็นผิด
ว่าเป็นเราทำมีตัวตน
แล้วจะทิ้งยังไงนะเออ
:b22: :b22: :b22:


เคยได้ยินพุทธคาถานี้ไหมครับ
"เราจะทำความเพียร แม้เทวดาก็ห้ามเราไม่ได้"
นั่นคือ เราไม่ต้องไปใส่ใจกับเรื่องต่างๆ ดำรงตนกับธรรมเฉพาะหน้า

Kiss
น่านะ
จะยังไงก็ทิ้งกิเลสคือความไม่รู้และความเห็นผิดไม่ได้เพราะดับและสะสมรอให้ผลแล้วค่ะ
มีแต่ต้องเป็นผู้ตรงต่อความจริงว่ายังเป็นเราที่มีอุปาทานขันธ์และไม่สามารถเพียรในกุศลได้
การทำความเห็นให้ถูกต้องต่อความจริงตามคำสอนเป็นหนทางเดียวที่จะเพิ่มความรู้เพื่อดับไม่รู้
กิเลสที่สะสมคือจิต+อกุศลเจตสิก+รูปเกิดได้ทุกเวลาที่มีความเห็นผิดว่าเป็นเราคิด พูด ทำ นะคะ
ปัญญาที่สะสมเพิ่มขึ้นทุกขณะที่เป็นจิต+โสภณเจตสิก+รูปใน1ขณะนั้นเองที่เริ่มเข้าใจถูกจึงละชั่วได้
:b13:
:b44: :b44:


แนวทางผมคือความเพียรนำหน้ากรรมครับ
ผมไม่ได้เฝ้า คร่ำครวญ ถึงอดีตที่ผ่านมาแล้ว
บางลัทธิ รอผลคือกรรม เป็นเครื่องชี้ชะตาชีวิต
แม้ขนาดนั่งสมาธิ ยังพะวงกับการปรากฎขึ้นมาของเจ้ากรรมนายเวร ผมจึงยกพระคาถาของพระพุทธเจ้าให้พิจารณาเอาครับ

เราจะทำความเพียร แม้เทวดาก็ห้ามเราไม่ได้

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.ย. 2016, 00:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


โพธิปักขิยธรรม หรือ โพธิปักขิยธรรม 37 เป็นธรรมอันเป็นฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้ คือ เกื้อกูลแก่การตรัสรู้ เกื้อหนุนแก่อริยมรรค มี 37 ประการคือ

สติปัฏฐาน 4
สัมมัปปธาน 4
อิทธิบาท 4
อินทรีย์ 5
พละ 5
โพชฌงค์ 7
มรรคมีองค์ 8
โพธิปักขิยธรรม ในบางแห่งตรัสหมายถึงโพชฌงค์ 7[1] เช่น

"ภิกษุทั้งหลาย ก็โพธิปักขิยธรรมเป็นไฉน? คือ สัทธินทรีย์ เป็นโพธิปักขิยธรรมย่อมเป็นไปเพื่อความตรัสรู้ วิริยินทรีย์ ... สตินทรีย์ ... สมาธินทรีย์ ...ปัญญินทรีย์ เป็นโพธิปักขิยธรรม ย่อมเป็นไปเพื่อความตรัสรู้."

"ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสัตว์ดิรัจฉานทุกจำพวก สีหมฤคราช โลกกล่าวว่า เป็นยอดของสัตว์เหล่านั้น เพราะมีกำลัง มีฝีเท้า มีความกล้า ฉันใด บรรดาโพธิปักขิยธรรม ทุกอย่าง ปัญญินทรีย์ เรากล่าวว่า เป็นยอดแห่งโพธิปักขิยธรรมเหล่านั้น เพราะเป็นไปเพื่อความ ตรัสรู้ ฉันนั้นเหมือนกัน."

ส่วนที่ตรัสถึงโพธิปักขิยธรรม 37 ประการโดยตรง เช่น

"ภิกษุเป็นผู้มีธรรมงามอย่างไร ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ประกอบด้วย ความเพียรในการเจริญโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการเนืองๆ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเป็นผู้มีธรรมงามอย่างนี้แล ภิกษุเป็นผู้มีศีลงาม มีธรรมงาม ด้วยประการดังนี้[2] ฯ"

โพธิปักขิยธรรม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าสามัคคีธรรมมี ๓๗ ประการคือ

๑. สติปัฏฐาน ฐานเป็นที่กำหนดของสติ ๑.๑การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย (กายานุปัสสนา) ๑.๒การตั้งสติกำหนดพิจารณาเวทนา(เวทนานุปัสสนา) ๑.๓การตั้งสติกำหนดพิจารณาจิต (จิตตานุปัสสนา) ๑.๔การตั้งสติกำหนดพิจารณาธรรม (ธรรมานุปัสสนา)

๒.สัมมัปปธาน หลักในการรักษากุศลธรรมไม่ให้เสื่อม ๒.๑การเพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้นในตน (สังวรปธาน) ๒.๒การเพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว(ปหานปธาน) ๒.๓การเพียรสร้างกุศลให้เกิดขึ้นในตน(ภาวนาปธาน) ๒.๔การเพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้ว ไม้ให้เสื่อมไป(อนุรักขปธาน)

๓.อิทธิบาท เป้าหมายของความเจริญ ๓.๑ความชอบใจทำ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น(ฉันทะ) ๓.๒ความแข็งใจทำ เพียรหมั่นประกอบในสิ่งนั้น(วิริยะ) ๓.๓ความตั้งใจทำ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้น ไม่ทอดทิ้งธุระ(จิตตะ) ๓.๔ความเข้าใจทำ การใช้ปัญญาพิจารณาไตร่ตรองหาเหตุผลในสิ่งนั้น(วิมังสา)

๔.อินทรีย์ ๔.๑ให้เกิดความเชื่อ (ศรัทธา) ๔.๒ให้เกิดความเพียร (วิริยะ) ๔.๓ให้เกิดความระลึกได้ (สติ) ๔.๔ให้เกิดความตั้งมั่น (สมาธิ) ๔.๕ให้เกิดความรอบรู้ (ปัญญา)

๕.พละ กำลัง ๕.๑ความเชื่อ (ศรัทธา) ๕.๒ความเพียร (วิริยะ) ๕.๓ความระลึกได้ (สติ) ๕.๔ความตั้งมั่น (สมาธิ) ๕.๕ความรอบรู้ (ปัญญา)

๖.โพชฌงค์ องค์แห่งการตรัสรู้ ๖.๑มีความระลึกได้ (สติ) ๖.๒มีความพิจารณาในธรรม (ธัมมวิจยะ) ๖.๓มีความเพียร (วิริยะ) ๖.๔มีความอิ่มใจ (ปีติ) ๖.๕มีความสงบสบายใจ (ปัสสัทธิ) ๖.๖มีความตั้งมั่น (สมาธิ) ๖.๗มีความวางเฉย (อุเบกขา)

๗.มรรค หนทางดับทุกข์ ๗.๑ใช้เพื่อเห็นชอบ คือ เห็นอริยสัจ (สัมมาทิฏฐิ) ๗.๒ใช้เพื่อดำริชอบ คือ ดำริละเว้นในอกุศลวิตก (สัมมาสังกัปปะ) ๗.๓ใช้เพื่อเจรจาชอบ คือ เว้นจากวจีทุจริต(สัมมาวาจา) ๗.๔ใช้เพื่อทำการงานชอบ คือเว้นจากกายทุจริต (สัมมากัมมันตะ) ๗.๕ใช้เพื่อทำอาชีพชอบ คือ เว้นจาก การเลี้ยงชีพในทางที่ผิด(สัมมาอาชีวะ) ๗.๖ใช้เพื่อเพียรชอบ คือ สัมมัปปธาน (สัมมาวายามะ) ๗.๗ใช้เพื่อระลึกชอบ คือ ระลึกในสติปัฏฐาน ๔(สัมมาสติ) ๗.๘ใช้เพื่อตั้งใจมั่นชอบ คือ เจริญฌานทั้ง ๔ (สัมมาสมาธิ)

ที่มาWikipedia

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.ย. 2016, 05:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
ตอบคำถามคุณกรัธกายทีเดียวกับตัวอย่างที่นำมาลง

ลัทธิอื่นก็มีนั่งสมาธิ เดินจงกรม

นั่งเก่ง เข้าญาณระดับลึกได้

แต่ทำไมไม่บรรลุธรรมครับ

เขาขาดตกบกพร่องตรงไหน?



ธรรมที่คุณว่าหมายถึงอะไรครับ เอาชัดๆ ธรรมที่ว่าอะไร


คุณกรัธกายอ่านไม่ตรงความหมายครับ
ผมเขียนนั่งสมาธิ เดินจงกรม
ไม่ได้บอกว่ามีธรรมอะไรเป็นเครื่อง

ก็เพราะขาด"โพธิปักขิยธรรม"เป็นเครื่อง จึงไม่อาจบรรลุธรรมได้เหมือนสาวกในพุทธศาสนา
เพราะสาวกในพุทธศาสนาพิจารณาว่า ธรรมที่เป็นกุศลควรเจริญ
ธรรมที่เป็นอกุศล เช่น โลภะ โทสะ โมหะ ควรละ
ก็ธรรมอะไรเป็นเครื่องละ โลภะ โทสะ โมหะนั้น
ก็มี โพธิปักขิยธรรม เช่น มรรค8เพื่อรู้แจ้งอริยสัจ4 และอื่นๆ(โพธิปักขิยธรรมมีหลายหมวด)
มาปฎิบัติจึงเกิดวิชชา ทำลายกิเลสเหล่านี้ลงได้



ไม่ตรงยังไง ก็คุณพูดยังงี้น่า

อ้างคำพูด:
นั่งเก่ง เข้าญาณระดับลึกได้

แต่ทำไมไม่บรรลุธรรมครับ


กายก็ถามว่า ธรรมที่ว่าเนี่ย ธรรม อะไร จะให้บรรลุธรรมน่า ธรรมอะไร

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.ย. 2016, 05:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
โพธิปักขิยธรรม หรือ โพธิปักขิยธรรม 37 เป็นธรรมอันเป็นฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้ คือ เกื้อกูลแก่การตรัสรู้ เกื้อหนุนแก่อริยมรรค มี 37 ประการคือ

สติปัฏฐาน 4
สัมมัปปธาน 4
อิทธิบาท 4
อินทรีย์ 5
พละ 5
โพชฌงค์ 7
มรรคมีองค์ 8
โพธิปักขิยธรรม ในบางแห่งตรัสหมายถึงโพชฌงค์ 7[1] เช่น

"ภิกษุทั้งหลาย ก็โพธิปักขิยธรรมเป็นไฉน? คือ สัทธินทรีย์ เป็นโพธิปักขิยธรรมย่อมเป็นไปเพื่อความตรัสรู้ วิริยินทรีย์ ... สตินทรีย์ ... สมาธินทรีย์ ...ปัญญินทรีย์ เป็นโพธิปักขิยธรรม ย่อมเป็นไปเพื่อความตรัสรู้."

"ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสัตว์ดิรัจฉานทุกจำพวก สีหมฤคราช โลกกล่าวว่า เป็นยอดของสัตว์เหล่านั้น เพราะมีกำลัง มีฝีเท้า มีความกล้า ฉันใด บรรดาโพธิปักขิยธรรม ทุกอย่าง ปัญญินทรีย์ เรากล่าวว่า เป็นยอดแห่งโพธิปักขิยธรรมเหล่านั้น เพราะเป็นไปเพื่อความ ตรัสรู้ ฉันนั้นเหมือนกัน."

ส่วนที่ตรัสถึงโพธิปักขิยธรรม 37 ประการโดยตรง เช่น

"ภิกษุเป็นผู้มีธรรมงามอย่างไร ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ประกอบด้วย ความเพียรในการเจริญโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการเนืองๆ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเป็นผู้มีธรรมงามอย่างนี้แล ภิกษุเป็นผู้มีศีลงาม มีธรรมงาม ด้วยประการดังนี้[2] ฯ"

โพธิปักขิยธรรม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าสามัคคีธรรมมี ๓๗ ประการคือ

๑. สติปัฏฐาน ฐานเป็นที่กำหนดของสติ ๑.๑การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย (กายานุปัสสนา) ๑.๒การตั้งสติกำหนดพิจารณาเวทนา(เวทนานุปัสสนา) ๑.๓การตั้งสติกำหนดพิจารณาจิต (จิตตานุปัสสนา) ๑.๔การตั้งสติกำหนดพิจารณาธรรม (ธรรมานุปัสสนา)

๒.สัมมัปปธาน หลักในการรักษากุศลธรรมไม่ให้เสื่อม ๒.๑การเพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้นในตน (สังวรปธาน) ๒.๒การเพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว(ปหานปธาน) ๒.๓การเพียรสร้างกุศลให้เกิดขึ้นในตน(ภาวนาปธาน) ๒.๔การเพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้ว ไม้ให้เสื่อมไป(อนุรักขปธาน)

๓.อิทธิบาท เป้าหมายของความเจริญ ๓.๑ความชอบใจทำ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น(ฉันทะ) ๓.๒ความแข็งใจทำ เพียรหมั่นประกอบในสิ่งนั้น(วิริยะ) ๓.๓ความตั้งใจทำ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้น ไม่ทอดทิ้งธุระ(จิตตะ) ๓.๔ความเข้าใจทำ การใช้ปัญญาพิจารณาไตร่ตรองหาเหตุผลในสิ่งนั้น(วิมังสา)

๔.อินทรีย์ ๔.๑ให้เกิดความเชื่อ (ศรัทธา) ๔.๒ให้เกิดความเพียร (วิริยะ) ๔.๓ให้เกิดความระลึกได้ (สติ) ๔.๔ให้เกิดความตั้งมั่น (สมาธิ) ๔.๕ให้เกิดความรอบรู้ (ปัญญา)

๕.พละ กำลัง ๕.๑ความเชื่อ (ศรัทธา) ๕.๒ความเพียร (วิริยะ) ๕.๓ความระลึกได้ (สติ) ๕.๔ความตั้งมั่น (สมาธิ) ๕.๕ความรอบรู้ (ปัญญา)

๖.โพชฌงค์ องค์แห่งการตรัสรู้ ๖.๑มีความระลึกได้ (สติ) ๖.๒มีความพิจารณาในธรรม (ธัมมวิจยะ) ๖.๓มีความเพียร (วิริยะ) ๖.๔มีความอิ่มใจ (ปีติ) ๖.๕มีความสงบสบายใจ (ปัสสัทธิ) ๖.๖มีความตั้งมั่น (สมาธิ) ๖.๗มีความวางเฉย (อุเบกขา)

๗.มรรค หนทางดับทุกข์ ๗.๑ใช้เพื่อเห็นชอบ คือ เห็นอริยสัจ (สัมมาทิฏฐิ) ๗.๒ใช้เพื่อดำริชอบ คือ ดำริละเว้นในอกุศลวิตก (สัมมาสังกัปปะ) ๗.๓ใช้เพื่อเจรจาชอบ คือ เว้นจากวจีทุจริต(สัมมาวาจา) ๗.๔ใช้เพื่อทำการงานชอบ คือเว้นจากกายทุจริต (สัมมากัมมันตะ) ๗.๕ใช้เพื่อทำอาชีพชอบ คือ เว้นจาก การเลี้ยงชีพในทางที่ผิด(สัมมาอาชีวะ) ๗.๖ใช้เพื่อเพียรชอบ คือ สัมมัปปธาน (สัมมาวายามะ) ๗.๗ใช้เพื่อระลึกชอบ คือ ระลึกในสติปัฏฐาน ๔(สัมมาสติ) ๗.๘ใช้เพื่อตั้งใจมั่นชอบ คือ เจริญฌานทั้ง ๔ (สัมมาสมาธิ)

ที่มาWikipedia



ย้ำคำพูดที่เคยพูดกับท่านอโศกอีกที ที่ว่ามานั่นน่า กรัชกายอ่านจนหัวร้อน จนผมจะร่วงหมดหัวแล้ว :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.ย. 2016, 05:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
Rosarin เขียน:
student เขียน:
Rosarin เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อีกสัก ตย.

ขณะกำลังทำสมาธิอยู่ จู่ๆร่างของเราก็เหมือนถูกดึง เราก็ปล่อยตามสะบายแค่ตามดู คิดว่าเป็นนิมิตธรรมดา แต่ไม่ใช่ค่ะ เพราะนิมิตธรรมดา เรากำหนดรู้มักจะหายไปได้เอง แต่นี้ไม่ใช่ เขาวิ่งผ่านตัวเราไปค่ะ กระแสของเขาตอนที่ผ่านร่าง เหมือนจิตกับกายเราจะแยกออกจากกัน ความเจ็บปวดที่เราเคยปวด (เวทนา) ที่นั่งสมาธิตอนแรกไม่เจ็บเท่านี้ เหมือนร่างกายเราถูกฉีก เหมือนเส้นเลือดจะระเบิดประมาณนั้นจริง ๆ ค่ะ เราแผ่เมตตาให้เขา เขาก็ไม่ยอม แรงเหวี่ยงเยอะมาก ๆ ทั้งที่ห้องปิดหมดเปิดแอร์นะ แต่มีกระแสลมหมุนตลอดเวลา


เรากำลังสร้างความเชื่อให้กับตนเอง
เวลาปฎิบัติ ต้องทิ้งทุกอย่าง ทิ้งความเห็น ให้เหลือแต่สัมมาทิฎฐิเกี่ยวกับธรรมตรงหน้า

tongue
:b32:
ทิ้งความเห็นทำยังไง
ในเมื่อความเห็นผิด
ว่าเป็นเราทำมีตัวตน
แล้วจะทิ้งยังไงนะเออ
:b22: :b22: :b22:


เคยได้ยินพุทธคาถานี้ไหมครับ
"เราจะทำความเพียร แม้เทวดาก็ห้ามเราไม่ได้"
นั่นคือ เราไม่ต้องไปใส่ใจกับเรื่องต่างๆ ดำรงตนกับธรรมเฉพาะหน้า

Kiss
น่านะ
จะยังไงก็ทิ้งกิเลสคือความไม่รู้และความเห็นผิดไม่ได้เพราะดับและสะสมรอให้ผลแล้วค่ะ
มีแต่ต้องเป็นผู้ตรงต่อความจริงว่ายังเป็นเราที่มีอุปาทานขันธ์และไม่สามารถเพียรในกุศลได้
การทำความเห็นให้ถูกต้องต่อความจริงตามคำสอนเป็นหนทางเดียวที่จะเพิ่มความรู้เพื่อดับไม่รู้
กิเลสที่สะสมคือจิต+อกุศลเจตสิก+รูปเกิดได้ทุกเวลาที่มีความเห็นผิดว่าเป็นเราคิด พูด ทำ นะคะ
ปัญญาที่สะสมเพิ่มขึ้นทุกขณะที่เป็นจิต+โสภณเจตสิก+รูปใน1ขณะนั้นเองที่เริ่มเข้าใจถูกจึงละชั่วได้
:b13:
:b44: :b44:


แนวทางผมคือความเพียรนำหน้ากรรมครับ
ผมไม่ได้เฝ้า คร่ำครวญ ถึงอดีตที่ผ่านมาแล้ว
บางลัทธิ รอผลคือกรรม เป็นเครื่องชี้ชะตาชีวิต
แม้ขนาดนั่งสมาธิ ยังพะวงกับการปรากฎขึ้นมาของเจ้ากรรมนายเวร ผมจึงยกพระคาถาของพระพุทธเจ้าให้พิจารณาเอาครับ

เราจะทำความเพียร แม้เทวดาก็ห้ามเราไม่ได้



วิธีเพียรของคุณเพียรยังไง่อ่ะ บอกหน่อย :b14:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.ย. 2016, 05:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
ตอบคำถามคุณกรัธกายทีเดียวกับตัวอย่างที่นำมาลง

ลัทธิอื่นก็มีนั่งสมาธิ เดินจงกรม

นั่งเก่ง เข้าญาณระดับลึกได้

แต่ทำไมไม่บรรลุธรรมครับ

เขาขาดตกบกพร่องตรงไหน?



ธรรมที่คุณว่าหมายถึงอะไรครับ เอาชัดๆ ธรรมที่ว่าอะไร


คุณกรัธกายอ่านไม่ตรงความหมายครับ
ผมเขียนนั่งสมาธิ เดินจงกรม
ไม่ได้บอกว่ามีธรรมอะไรเป็นเครื่อง

ก็เพราะขาด"โพธิปักขิยธรรม"เป็นเครื่อง จึงไม่อาจบรรลุธรรมได้เหมือนสาวกในพุทธศาสนา
เพราะสาวกในพุทธศาสนาพิจารณาว่า ธรรมที่เป็นกุศลควรเจริญ
ธรรมที่เป็นอกุศล เช่น โลภะ โทสะ โมหะ ควรละ
ก็ธรรมอะไรเป็นเครื่องละ โลภะ โทสะ โมหะนั้น
ก็มี โพธิปักขิยธรรม เช่น มรรค8เพื่อรู้แจ้งอริยสัจ4 และอื่นๆ(โพธิปักขิยธรรมมีหลายหมวด)
มาปฎิบัติจึงเกิดวิชชา ทำลายกิเลสเหล่านี้ลงได้



ไม่ตรงยังไง ก็คุณพูดยังงี้น่า

อ้างคำพูด:
นั่งเก่ง เข้าญาณระดับลึกได้

แต่ทำไมไม่บรรลุธรรมครับ


กายก็ถามว่า ธรรมที่ว่าเนี่ย ธรรม อะไร จะให้บรรลุธรรมน่า ธรรมอะไร


อ๋อ
ดับกิเลส ดับภพ ดับชาติ ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.ย. 2016, 06:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
ตอบคำถามคุณกรัธกายทีเดียวกับตัวอย่างที่นำมาลง

ลัทธิอื่นก็มีนั่งสมาธิ เดินจงกรม

นั่งเก่ง เข้าญาณระดับลึกได้

แต่ทำไมไม่บรรลุธรรมครับ

เขาขาดตกบกพร่องตรงไหน?



ธรรมที่คุณว่าหมายถึงอะไรครับ เอาชัดๆ ธรรมที่ว่าอะไร


คุณกรัธกายอ่านไม่ตรงความหมายครับ
ผมเขียนนั่งสมาธิ เดินจงกรม
ไม่ได้บอกว่ามีธรรมอะไรเป็นเครื่อง

ก็เพราะขาด"โพธิปักขิยธรรม"เป็นเครื่อง จึงไม่อาจบรรลุธรรมได้เหมือนสาวกในพุทธศาสนา
เพราะสาวกในพุทธศาสนาพิจารณาว่า ธรรมที่เป็นกุศลควรเจริญ
ธรรมที่เป็นอกุศล เช่น โลภะ โทสะ โมหะ ควรละ
ก็ธรรมอะไรเป็นเครื่องละ โลภะ โทสะ โมหะนั้น
ก็มี โพธิปักขิยธรรม เช่น มรรค8เพื่อรู้แจ้งอริยสัจ4 และอื่นๆ(โพธิปักขิยธรรมมีหลายหมวด)
มาปฎิบัติจึงเกิดวิชชา ทำลายกิเลสเหล่านี้ลงได้



ไม่ตรงยังไง ก็คุณพูดยังงี้น่า

อ้างคำพูด:
นั่งเก่ง เข้าญาณระดับลึกได้

แต่ทำไมไม่บรรลุธรรมครับ


กายก็ถามว่า ธรรมที่ว่าเนี่ย ธรรม อะไร จะให้บรรลุธรรมน่า ธรรมอะไร


อ๋อ
ดับกิเลส ดับภพ ดับชาติ ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป



ดับยังไงอ่ะ :b10: หมายถึงวิธีดับ คุณดับยังไง

นี่คือปัญหา

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.ย. 2016, 07:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
ตอบคำถามคุณกรัธกายทีเดียวกับตัวอย่างที่นำมาลง

ลัทธิอื่นก็มีนั่งสมาธิ เดินจงกรม

นั่งเก่ง เข้าญาณระดับลึกได้

แต่ทำไมไม่บรรลุธรรมครับ

เขาขาดตกบกพร่องตรงไหน?



ธรรมที่คุณว่าหมายถึงอะไรครับ เอาชัดๆ ธรรมที่ว่าอะไร


คุณกรัธกายอ่านไม่ตรงความหมายครับ
ผมเขียนนั่งสมาธิ เดินจงกรม
ไม่ได้บอกว่ามีธรรมอะไรเป็นเครื่อง

ก็เพราะขาด"โพธิปักขิยธรรม"เป็นเครื่อง จึงไม่อาจบรรลุธรรมได้เหมือนสาวกในพุทธศาสนา
เพราะสาวกในพุทธศาสนาพิจารณาว่า ธรรมที่เป็นกุศลควรเจริญ
ธรรมที่เป็นอกุศล เช่น โลภะ โทสะ โมหะ ควรละ
ก็ธรรมอะไรเป็นเครื่องละ โลภะ โทสะ โมหะนั้น
ก็มี โพธิปักขิยธรรม เช่น มรรค8เพื่อรู้แจ้งอริยสัจ4 และอื่นๆ(โพธิปักขิยธรรมมีหลายหมวด)
มาปฎิบัติจึงเกิดวิชชา ทำลายกิเลสเหล่านี้ลงได้



ไม่ตรงยังไง ก็คุณพูดยังงี้น่า

อ้างคำพูด:
นั่งเก่ง เข้าญาณระดับลึกได้

แต่ทำไมไม่บรรลุธรรมครับ


กายก็ถามว่า ธรรมที่ว่าเนี่ย ธรรม อะไร จะให้บรรลุธรรมน่า ธรรมอะไร


อ๋อ
ดับกิเลส ดับภพ ดับชาติ ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป



ดับยังไงอ่ะ :b10: หมายถึงวิธีดับ คุณดับยังไง

นี่คือปัญหา


โพธิปักขิยธรรมเป็นเครื่องปฎิบัติ ดับกิเลสแห่งทางพุทธศาสนาครับ

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.ย. 2016, 07:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


คำถามคุณกรัธกายที่ว่า
ดับอย่างไร อะไรดับ
ไม่ใช่คำถามที่พึ่งเกิดขึ้น
แต่เป็นคำถามที่เกิดขึ้นมาทุกยุคทุกสมัย
ผมมีความศัทธาในพุทธ ผมก็ต้องบอกว่า "โพธิปักขิยธรรม"
เป็นธรรมที่ดับกิเลสตัญหาทั้งหลาย

แต่ยังมีผู้สงสัยอีกเป็นจำนวนมาก เพราะความลังเลสงสัยเพราะทิฎฐิมานะก็ตามแต่
แต่ชาวพุทธที่ปฎิบัติ ต้องมีหลักธรรมที่พระพุทธเจ้าวางไว้แล้ว

ความลังเลสงสัยเป็นเรื่องปกติ แต่ก็ควรจะสิ้นสุดลงได้เมื่อเรามีความศรัทธาที่แน่วแน่

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.ย. 2016, 07:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
โพธิปักขิยธรรม หรือ โพธิปักขิยธรรม 37 เป็นธรรมอันเป็นฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้ คือ เกื้อกูลแก่การตรัสรู้ เกื้อหนุนแก่อริยมรรค มี 37 ประการคือ

สติปัฏฐาน 4
สัมมัปปธาน 4
อิทธิบาท 4
อินทรีย์ 5
พละ 5
โพชฌงค์ 7
มรรคมีองค์ 8
โพธิปักขิยธรรม ในบางแห่งตรัสหมายถึงโพชฌงค์ 7[1] เช่น

"ภิกษุทั้งหลาย ก็โพธิปักขิยธรรมเป็นไฉน? คือ สัทธินทรีย์ เป็นโพธิปักขิยธรรมย่อมเป็นไปเพื่อความตรัสรู้ วิริยินทรีย์ ... สตินทรีย์ ... สมาธินทรีย์ ...ปัญญินทรีย์ เป็นโพธิปักขิยธรรม ย่อมเป็นไปเพื่อความตรัสรู้."

"ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสัตว์ดิรัจฉานทุกจำพวก สีหมฤคราช โลกกล่าวว่า เป็นยอดของสัตว์เหล่านั้น เพราะมีกำลัง มีฝีเท้า มีความกล้า ฉันใด บรรดาโพธิปักขิยธรรม ทุกอย่าง ปัญญินทรีย์ เรากล่าวว่า เป็นยอดแห่งโพธิปักขิยธรรมเหล่านั้น เพราะเป็นไปเพื่อความ ตรัสรู้ ฉันนั้นเหมือนกัน."

ส่วนที่ตรัสถึงโพธิปักขิยธรรม 37 ประการโดยตรง เช่น

"ภิกษุเป็นผู้มีธรรมงามอย่างไร ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ประกอบด้วย ความเพียรในการเจริญโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการเนืองๆ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเป็นผู้มีธรรมงามอย่างนี้แล ภิกษุเป็นผู้มีศีลงาม มีธรรมงาม ด้วยประการดังนี้[2] ฯ"

โพธิปักขิยธรรม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าสามัคคีธรรมมี ๓๗ ประการคือ

๑. สติปัฏฐาน ฐานเป็นที่กำหนดของสติ ๑.๑การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย (กายานุปัสสนา) ๑.๒การตั้งสติกำหนดพิจารณาเวทนา(เวทนานุปัสสนา) ๑.๓การตั้งสติกำหนดพิจารณาจิต (จิตตานุปัสสนา) ๑.๔การตั้งสติกำหนดพิจารณาธรรม (ธรรมานุปัสสนา)

๒.สัมมัปปธาน หลักในการรักษากุศลธรรมไม่ให้เสื่อม ๒.๑การเพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้นในตน (สังวรปธาน) ๒.๒การเพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว(ปหานปธาน) ๒.๓การเพียรสร้างกุศลให้เกิดขึ้นในตน(ภาวนาปธาน) ๒.๔การเพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้ว ไม้ให้เสื่อมไป(อนุรักขปธาน)

๓.อิทธิบาท เป้าหมายของความเจริญ ๓.๑ความชอบใจทำ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น(ฉันทะ) ๓.๒ความแข็งใจทำ เพียรหมั่นประกอบในสิ่งนั้น(วิริยะ) ๓.๓ความตั้งใจทำ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้น ไม่ทอดทิ้งธุระ(จิตตะ) ๓.๔ความเข้าใจทำ การใช้ปัญญาพิจารณาไตร่ตรองหาเหตุผลในสิ่งนั้น(วิมังสา)

๔.อินทรีย์ ๔.๑ให้เกิดความเชื่อ (ศรัทธา) ๔.๒ให้เกิดความเพียร (วิริยะ) ๔.๓ให้เกิดความระลึกได้ (สติ) ๔.๔ให้เกิดความตั้งมั่น (สมาธิ) ๔.๕ให้เกิดความรอบรู้ (ปัญญา)

๕.พละ กำลัง ๕.๑ความเชื่อ (ศรัทธา) ๕.๒ความเพียร (วิริยะ) ๕.๓ความระลึกได้ (สติ) ๕.๔ความตั้งมั่น (สมาธิ) ๕.๕ความรอบรู้ (ปัญญา)

๖.โพชฌงค์ องค์แห่งการตรัสรู้ ๖.๑มีความระลึกได้ (สติ) ๖.๒มีความพิจารณาในธรรม (ธัมมวิจยะ) ๖.๓มีความเพียร (วิริยะ) ๖.๔มีความอิ่มใจ (ปีติ) ๖.๕มีความสงบสบายใจ (ปัสสัทธิ) ๖.๖มีความตั้งมั่น (สมาธิ) ๖.๗มีความวางเฉย (อุเบกขา)

๗.มรรค หนทางดับทุกข์ ๗.๑ใช้เพื่อเห็นชอบ คือ เห็นอริยสัจ (สัมมาทิฏฐิ) ๗.๒ใช้เพื่อดำริชอบ คือ ดำริละเว้นในอกุศลวิตก (สัมมาสังกัปปะ) ๗.๓ใช้เพื่อเจรจาชอบ คือ เว้นจากวจีทุจริต(สัมมาวาจา) ๗.๔ใช้เพื่อทำการงานชอบ คือเว้นจากกายทุจริต (สัมมากัมมันตะ) ๗.๕ใช้เพื่อทำอาชีพชอบ คือ เว้นจาก การเลี้ยงชีพในทางที่ผิด(สัมมาอาชีวะ) ๗.๖ใช้เพื่อเพียรชอบ คือ สัมมัปปธาน (สัมมาวายามะ) ๗.๗ใช้เพื่อระลึกชอบ คือ ระลึกในสติปัฏฐาน ๔(สัมมาสติ) ๗.๘ใช้เพื่อตั้งใจมั่นชอบ คือ เจริญฌานทั้ง ๔ (สัมมาสมาธิ)

ที่มาWikipedia



ย้ำคำพูดที่เคยพูดกับท่านอโศกอีกที ที่ว่ามานั่นน่า กรัชกายอ่านจนหัวร้อน จนผมจะร่วงหมดหัวแล้ว :b32:


อ่านจนผมร่วงก็ไม่ไปไหนหรอกครับหากยังสงสัยไม่มีที่สิ้นสุด

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 219 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ... 15  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร