วันเวลาปัจจุบัน 19 ก.ค. 2025, 03:38  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 57 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสต์ เมื่อ: 28 มิ.ย. 2016, 02:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ .....
พระพุทธองค์ เป็นคนหรือเปล่า?
พระพุทธองค์ สื่อสารกับสาวก ด้วยภาษาอะไร?
พระพุทธองค์ เป็นผู้มีการศึกษาอ่านออกเขียนได้ หรือไม่?


ที่ถามมาทั้งสิ้น เกิดจาก...วิจิกิจฉา
ผู้รู้อธิบายความให้ฟัง เป็นเพราะไม่เข้าใจก็เลยถามในสิ่งที่ดูแล้วไร้เดียงสามาก
ที่ถามเนี่ย! อยากรู้ครับ อ่านคำอธิบายความของผมหรือยัง หรือเป็นเพราะอ่านไม่รู้เรื่อง :b6:

ว่าด้วยภาษาแล้ว มคธ(บาลี)เกิดก่อน พุทธพจน์เกิดที่หลัง
พุทธพจน์เป็นบัญญัติที่พระพุทธองค์ใช้ เรียกสิ่งที่พระพุทธองค์ตรัสรู้
ถ้าพุทธองค์เอาบัญญัติที่พระองค์ตั้งมาสื่อสารกับสาวกโดยตรง....สาวกก็จะไม่รู้เรื่อง
ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงต้องอาศัย บาลีหรือมคธมาอธิบายความในบัญญัติที่พระองค์ทรงตั้ง

คำบาลีที่พระพุทธองค์ใช้อธิบายพุทธพจน์ เรียกว่า....โวหาร
ส่วนบัญญัติที่พระพุทธองค์ทรงตั้งชื่อ เรียกว่า.....พุทธพจน์

พุทธพจน์กับบาลีเป็นคนละภาษากัน
บาลีเป็นภาษาของชาวมคธ
พุทธพจน์เป็นภาษาเฉพาะห้ามแปล ห้ามเปลี่ยนมิเช่นนั้นความหมายจะผิดเพี้ยน



๑. ปุถุชนมองพระพุทธเจ้าเป็นคน แต่อริยชนมองพระพุทธเจ้าเป็น บุคคล

๒.พระพุทธเจ้าสื่อสารกับสาวกด้วยบาลีผสมกับพุทธบัญญัติ

๓.พระพุทธเจ้าอ่านไม่ออก เขียนก็ไม่ได้ เพราะมันไม่อะไรให้อ่านหรือเขียน
ในสังคมที่พระพุทธเจ้าอยู่ไม่มีตัวอักษรหรือพยัญชนะ ..พระพุทธองค์เลยไม่รู้จะอ่านหรือเขียนอะไร


โฮฮับ :
1. ปุถุชน อริยชน บุคคล เป็นคนไหม?
2. พุทธพจน์ แปลว่าอะไร?
3.รู้ได้อย่างไรว่า พระพุทธองค์สื่อสารกับสาวกด้วยบาลี ไม่มีภาษาอื่นด้วย?
4.ถึงแม้ว่า ภาษาปรากฤต-มคธี จะไม่มีตัวอักขระ แต่ก็มีระบบอักษร สืบกันมาด้วยปากต่อปาก
แต่ก็ไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์แสดงว่าพระพุทธองค์อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ ด้วยอักขระอื่นนอกเหนือไปจาก ภาษาปรากฤต-มคธี
5.ทำไมต้อง ใช้ภาษาบาลี(ปรากฤต-มคธี)ในการยกพุทธพจน์ตอนสังคยนาครั้งแรก.

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสต์ เมื่อ: 28 มิ.ย. 2016, 08:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ .....
พระพุทธองค์ เป็นคนหรือเปล่า?
พระพุทธองค์ สื่อสารกับสาวก ด้วยภาษาอะไร?
พระพุทธองค์ เป็นผู้มีการศึกษาอ่านออกเขียนได้ หรือไม่?


ที่ถามมาทั้งสิ้น เกิดจาก...วิจิกิจฉา
ผู้รู้อธิบายความให้ฟัง เป็นเพราะไม่เข้าใจก็เลยถามในสิ่งที่ดูแล้วไร้เดียงสามาก
ที่ถามเนี่ย! อยากรู้ครับ อ่านคำอธิบายความของผมหรือยัง หรือเป็นเพราะอ่านไม่รู้เรื่อง :b6:

ว่าด้วยภาษาแล้ว มคธ(บาลี)เกิดก่อน พุทธพจน์เกิดที่หลัง
พุทธพจน์เป็นบัญญัติที่พระพุทธองค์ใช้ เรียกสิ่งที่พระพุทธองค์ตรัสรู้
ถ้าพุทธองค์เอาบัญญัติที่พระองค์ตั้งมาสื่อสารกับสาวกโดยตรง....สาวกก็จะไม่รู้เรื่อง
ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงต้องอาศัย บาลีหรือมคธมาอธิบายความในบัญญัติที่พระองค์ทรงตั้ง

คำบาลีที่พระพุทธองค์ใช้อธิบายพุทธพจน์ เรียกว่า....โวหาร
ส่วนบัญญัติที่พระพุทธองค์ทรงตั้งชื่อ เรียกว่า.....พุทธพจน์

พุทธพจน์กับบาลีเป็นคนละภาษากัน
บาลีเป็นภาษาของชาวมคธ
พุทธพจน์เป็นภาษาเฉพาะห้ามแปล ห้ามเปลี่ยนมิเช่นนั้นความหมายจะผิดเพี้ยน



๑. ปุถุชนมองพระพุทธเจ้าเป็นคน แต่อริยชนมองพระพุทธเจ้าเป็น บุคคล

๒.พระพุทธเจ้าสื่อสารกับสาวกด้วยบาลีผสมกับพุทธบัญญัติ

๓.พระพุทธเจ้าอ่านไม่ออก เขียนก็ไม่ได้ เพราะมันไม่อะไรให้อ่านหรือเขียน
ในสังคมที่พระพุทธเจ้าอยู่ไม่มีตัวอักษรหรือพยัญชนะ ..พระพุทธองค์เลยไม่รู้จะอ่านหรือเขียนอะไร


โฮฮับ :
1. ปุถุชน อริยชน บุคคล เป็นคนไหม?


คนเป็นโวหารที่เกิดจากการปรุงแต่ง
ปุถุชน อริยชน และบุคคลเป็นพุทธพจน์

ฉะนั้น ปุถุชน อริยชน และบุคคล.......จึงไม่ใช่คน

เช่นนั้น เขียน:
2. พุทธพจน์ แปลว่าอะไร?


หมายถึง"ชื่อ" ที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติในสิ่งที่พระพุทธองค์ทรงตรัสรู้

เช่นนั้น เขียน:
3.รู้ได้อย่างไรว่า พระพุทธองค์สื่อสารกับสาวกด้วยบาลี ไม่มีภาษาอื่นด้วย?

ถามไร้เดียงสาอีกแล้วไง! พูดอะไรมให้มันอยู่ใมนบริบทหน่อย ประเด็นมันอยู่ที่บาลีพระไตรปิฎก
ในบาลีพระไตรปิฎกมีภาษาอื่นมั้ยละ ชื่อมันก็บอกอยู่ทนโท่ว่า บาลีพระไตรปิฎก ถามไม่คิด!

สงสัยไม่ได้เรียนหนังสือหรือไม่ก็ต่อมหมวกไตพิการ
พอไปไม่ถูกก็ลากออกนอกประเด็น

ฟังให้ดีนะ"เช่นนั้น" อย่าทำตัวเกรียน มีกรัชกายคนเดียวก็ระอาเต็มทนแล้ว

เช่นนั้น เขียน:
4.ถึงแม้ว่า ภาษาปรากฤต-มคธี จะไม่มีตัวอักขระ แต่ก็มีระบบอักษร สืบกันมาด้วยปากต่อปาก
แต่ก็ไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์แสดงว่าพระพุทธองค์อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ ด้วยอักขระอื่นนอกเหนือไปจาก ภาษาปรากฤต-มคธี


ไอ้ที่ว่าสืบกันด้วยปาก ถามหน่อยคนชาติไหนครับที่บอกว่า เป็นระบบอักษร
เช่นนั้นผมจะสอนให้ว่า ในระบบของภาษา ภาษาพูดกับภาษาเขียนมันต่างกัน

ภาษาพูดไม่มีอักขระหรือตัวอักษร การจะมีตัวอักษรได้ต้องเป็นลักษณะของการเขียน
ไม่ใช่การพูด

แล้วก็อย่ามั่วอ้างคัมภีร์ใบลานหรือใบกระท่อมอีกล่ะ
จะบอกให้ว่า ต้นตอของอักขระในคัมภีร์โบราณ มันมาจากอักษรขอมหรือไม่ก็เป็นอักษรล้านนา
เป็นพุทธปะสาอะไรดันแยกไม่ออกว่า อะไรคือบาลีพระไตรปิฎก


เช่นนั้น เขียน:
5.ทำไมต้อง ใช้ภาษาบาลี(ปรากฤต-มคธี)ในการยกพุทธพจน์ตอนสังคยนาครั้งแรก.


อย่าเอาความเข้าใจผิดของตนมามั่วถามซิครับ ถามในสิ่งที่ตัวไม่รู้ก่อน
ไม่ใช่ไม่รู้แล้วก็มั่วถาม....

บอกแล้วว่า บาลีเป็นโวหารที่ใช้อธิบายพุทธพจน์และใช้เชื่อมคำ
สรุป....ในการทำสังคายนาครั้งแรก มีทั้งบาลี(โวหาร)และพุทธพจน์(พุทธบัญญัติ)

ปล. ถ้าไม่รู้อะไรก็ถามก่อน ไม่มีใครเขาว่าคุณเช่นนั้นโง่หรอกครับ
อย่าเอาความเข้าใจของตนมาถาม มันน่าอายกว่าที่คุณจะถามไถ่เสียอีก :b6:


โพสต์ เมื่อ: 28 มิ.ย. 2016, 16:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ .....
พระพุทธองค์ เป็นคนหรือเปล่า?
พระพุทธองค์ สื่อสารกับสาวก ด้วยภาษาอะไร?
พระพุทธองค์ เป็นผู้มีการศึกษาอ่านออกเขียนได้ หรือไม่?


ที่ถามมาทั้งสิ้น เกิดจาก...วิจิกิจฉา
ผู้รู้อธิบายความให้ฟัง เป็นเพราะไม่เข้าใจก็เลยถามในสิ่งที่ดูแล้วไร้เดียงสามาก
ที่ถามเนี่ย! อยากรู้ครับ อ่านคำอธิบายความของผมหรือยัง หรือเป็นเพราะอ่านไม่รู้เรื่อง :b6:

ว่าด้วยภาษาแล้ว มคธ(บาลี)เกิดก่อน พุทธพจน์เกิดที่หลัง
พุทธพจน์เป็นบัญญัติที่พระพุทธองค์ใช้ เรียกสิ่งที่พระพุทธองค์ตรัสรู้
ถ้าพุทธองค์เอาบัญญัติที่พระองค์ตั้งมาสื่อสารกับสาวกโดยตรง....สาวกก็จะไม่รู้เรื่อง
ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงต้องอาศัย บาลีหรือมคธมาอธิบายความในบัญญัติที่พระองค์ทรงตั้ง

คำบาลีที่พระพุทธองค์ใช้อธิบายพุทธพจน์ เรียกว่า....โวหาร
ส่วนบัญญัติที่พระพุทธองค์ทรงตั้งชื่อ เรียกว่า.....พุทธพจน์

พุทธพจน์กับบาลีเป็นคนละภาษากัน
บาลีเป็นภาษาของชาวมคธ
พุทธพจน์เป็นภาษาเฉพาะห้ามแปล ห้ามเปลี่ยนมิเช่นนั้นความหมายจะผิดเพี้ยน



๑. ปุถุชนมองพระพุทธเจ้าเป็นคน แต่อริยชนมองพระพุทธเจ้าเป็น บุคคล

๒.พระพุทธเจ้าสื่อสารกับสาวกด้วยบาลีผสมกับพุทธบัญญัติ

๓.พระพุทธเจ้าอ่านไม่ออก เขียนก็ไม่ได้ เพราะมันไม่อะไรให้อ่านหรือเขียน
ในสังคมที่พระพุทธเจ้าอยู่ไม่มีตัวอักษรหรือพยัญชนะ ..พระพุทธองค์เลยไม่รู้จะอ่านหรือเขียนอะไร


โฮฮับ :
1. ปุถุชน อริยชน บุคคล เป็นคนไหม?


คนเป็นโวหารที่เกิดจากการปรุงแต่ง
ปุถุชน อริยชน และบุคคลเป็นพุทธพจน์

ฉะนั้น ปุถุชน อริยชน และบุคคล.......จึงไม่ใช่คน

เช่นนั้น เขียน:
2. พุทธพจน์ แปลว่าอะไร?


หมายถึง"ชื่อ" ที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติในสิ่งที่พระพุทธองค์ทรงตรัสรู้

เช่นนั้น เขียน:
3.รู้ได้อย่างไรว่า พระพุทธองค์สื่อสารกับสาวกด้วยบาลี ไม่มีภาษาอื่นด้วย?

ถามไร้เดียงสาอีกแล้วไง! พูดอะไรมให้มันอยู่ใมนบริบทหน่อย ประเด็นมันอยู่ที่บาลีพระไตรปิฎก
ในบาลีพระไตรปิฎกมีภาษาอื่นมั้ยละ ชื่อมันก็บอกอยู่ทนโท่ว่า บาลีพระไตรปิฎก ถามไม่คิด!

สงสัยไม่ได้เรียนหนังสือหรือไม่ก็ต่อมหมวกไตพิการ
พอไปไม่ถูกก็ลากออกนอกประเด็น

ฟังให้ดีนะ"เช่นนั้น" อย่าทำตัวเกรียน มีกรัชกายคนเดียวก็ระอาเต็มทนแล้ว

เช่นนั้น เขียน:
4.ถึงแม้ว่า ภาษาปรากฤต-มคธี จะไม่มีตัวอักขระ แต่ก็มีระบบอักษร สืบกันมาด้วยปากต่อปาก
แต่ก็ไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์แสดงว่าพระพุทธองค์อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ ด้วยอักขระอื่นนอกเหนือไปจาก ภาษาปรากฤต-มคธี


ไอ้ที่ว่าสืบกันด้วยปาก ถามหน่อยคนชาติไหนครับที่บอกว่า เป็นระบบอักษร
เช่นนั้นผมจะสอนให้ว่า ในระบบของภาษา ภาษาพูดกับภาษาเขียนมันต่างกัน

ภาษาพูดไม่มีอักขระหรือตัวอักษร การจะมีตัวอักษรได้ต้องเป็นลักษณะของการเขียน
ไม่ใช่การพูด

แล้วก็อย่ามั่วอ้างคัมภีร์ใบลานหรือใบกระท่อมอีกล่ะ
จะบอกให้ว่า ต้นตอของอักขระในคัมภีร์โบราณ มันมาจากอักษรขอมหรือไม่ก็เป็นอักษรล้านนา
เป็นพุทธปะสาอะไรดันแยกไม่ออกว่า อะไรคือบาลีพระไตรปิฎก


เช่นนั้น เขียน:
5.ทำไมต้อง ใช้ภาษาบาลี(ปรากฤต-มคธี)ในการยกพุทธพจน์ตอนสังคยนาครั้งแรก.


อย่าเอาความเข้าใจผิดของตนมามั่วถามซิครับ ถามในสิ่งที่ตัวไม่รู้ก่อน
ไม่ใช่ไม่รู้แล้วก็มั่วถาม....

บอกแล้วว่า บาลีเป็นโวหารที่ใช้อธิบายพุทธพจน์และใช้เชื่อมคำ
สรุป....ในการทำสังคายนาครั้งแรก มีทั้งบาลี(โวหาร)และพุทธพจน์(พุทธบัญญัติ)

ปล. ถ้าไม่รู้อะไรก็ถามก่อน ไม่มีใครเขาว่าคุณเช่นนั้นโง่หรอกครับ
อย่าเอาความเข้าใจของตนมาถาม มันน่าอายกว่าที่คุณจะถามไถ่เสียอีก :b6:

:b32: :b32: :b32:

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสต์ เมื่อ: 28 มิ.ย. 2016, 18:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


1.โฮฮับ...ไม่ใช่ คน ถูกไหม?
2.ปุถุชน อริยชน บุคคล เป็นสิ่งที่พระพุทธองค์ตรัสรู้ถูกไหม?

3.
อ้างคำพูด:
เอวมฺเม สุตํ เอกํ สมยํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ
เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม ตตฺร โข ภควา ภิกฺขู
อามนฺเตสิ ภิกฺขโวติ ฯ ภทนฺเตติ เต ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุํ
ภควา เอตทโวจ สพฺพาสวสํวรปริยายํ โว ภิกฺขเว เทสิสฺสามิ
ตํ สุณาถ สาธุกํ มนสิกโรถ ภาสิสฺสามีติ เอวมฺภนฺเตติ โข เต
ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุํ ฯ ภควา เอตทโวจ ชานโต อหํ ภิกฺขเว ปสฺสโต
อาสวานํ ขยํ วทามิ โน อชานโต โน อปสฺสโต กิญฺจ ภิกฺขเว
ชานโต กึ ปสฺสโต อาสวานํ ขโย โหติ โยนิโส จ มนสิการํ
อโยนิโส จ มนสิการํ อโยนิโส ภิกฺขเว มนสิกโรโต อนุปฺปนฺนา
เจว อาสวา อุปฺปชฺชนฺติ อุปฺปนฺนา จ อาสวา ปวฑฺฒนฺติ โยนิโส
จ ภิกฺขเว มนสิกโรโต อนุปฺปนฺนา เจว อาสวา น อุปฺปชฺชนฺติ
อุปฺปนฺนา จ อาสวา ปหิยฺยนฺติ อตฺถิ ภิกฺขเว อาสวา ทสฺสนา
ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา สํวรา ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา
ปฏิเสวนา ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา อธิวาสนา ปหาตพฺพา อตฺถิ
อาสวา ปริวชฺชนา ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา วิโนทนา ปหาตพฺพา
อตฺถิ อาสวา ภาวนา ปหาตพฺพา

โฮฮับ....ข้อความในกรอบที่ยกมาข้างบน
ส่วนไหนไม่ใช่พุทธพจน์
และ "ฯ" ที่โฮฮับแปลว่า ย่อ ...ปรากฏอยู่ทั่วไปหมด ย่อมาจากอะไรบ้าง.
4.
เช่นนนั้น เขียน:
3.รู้ได้อย่างไรว่า พระพุทธองค์สื่อสารกับสาวกด้วยบาลี ไม่มีภาษาอื่นด้วย?
ทำไมไม่ตอบ
5.
เช่นนั้น เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
5.ทำไมต้อง ใช้ภาษาบาลี(ปรากฤต-มคธี)ในการยกพุทธพจน์ตอนสังคยนาครั้งแรก.


อย่าเอาความเข้าใจผิดของตนมามั่วถามซิครับ ถามในสิ่งที่ตัวไม่รู้ก่อน
ไม่ใช่ไม่รู้แล้วก็มั่วถาม....

บอกแล้วว่า บาลีเป็นโวหารที่ใช้อธิบายพุทธพจน์และใช้เชื่อมคำ
สรุป....ในการทำสังคายนาครั้งแรก มีทั้งบาลี(โวหาร)และพุทธพจน์(พุทธบัญญัติ)

คำถามคือ "ทำไม" ไม่ใช่ ตอบว่ามีอะไรหรือไม่มีอะไร

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสต์ เมื่อ: 28 มิ.ย. 2016, 19:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
1.โฮฮับ...ไม่ใช่ คน ถูกไหม?

ไม่ใช่คน ก็คงเป็นอริยะชนนะซิ สาธุ!

เช่นนั้น เขียน:
2.ปุถุชน อริยชน บุคคล เป็นสิ่งที่พระพุทธองค์ตรัสรู้ถูกไหม?

ไม่ถูก! แต่เป็นชื่อเรียกในสิ่งที่พระพุทธองค์ตรัสรู้

เช่นนั้น เขียน:

3.
อ้างคำพูด:
เอวมฺเม สุตํ เอกํ สมยํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ
เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม ตตฺร โข ภควา ภิกฺขู
อามนฺเตสิ ภิกฺขโวติ ฯ ภทนฺเตติ เต ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุํ
ภควา เอตทโวจ สพฺพาสวสํวรปริยายํ โว ภิกฺขเว เทสิสฺสามิ
ตํ สุณาถ สาธุกํ มนสิกโรถ ภาสิสฺสามีติ เอวมฺภนฺเตติ โข เต
ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุํ ฯ ภควา เอตทโวจ ชานโต อหํ ภิกฺขเว ปสฺสโต
อาสวานํ ขยํ วทามิ โน อชานโต โน อปสฺสโต กิญฺจ ภิกฺขเว
ชานโต กึ ปสฺสโต อาสวานํ ขโย โหติ โยนิโส จ มนสิการํ
อโยนิโส จ มนสิการํ อโยนิโส ภิกฺขเว มนสิกโรโต อนุปฺปนฺนา
เจว อาสวา อุปฺปชฺชนฺติ อุปฺปนฺนา จ อาสวา ปวฑฺฒนฺติ โยนิโส
จ ภิกฺขเว มนสิกโรโต อนุปฺปนฺนา เจว อาสวา น อุปฺปชฺชนฺติ
อุปฺปนฺนา จ อาสวา ปหิยฺยนฺติ อตฺถิ ภิกฺขเว อาสวา ทสฺสนา
ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา สํวรา ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา
ปฏิเสวนา ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา อธิวาสนา ปหาตพฺพา อตฺถิ
อาสวา ปริวชฺชนา ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา วิโนทนา ปหาตพฺพา
อตฺถิ อาสวา ภาวนา ปหาตพฺพา

โฮฮับ....ข้อความในกรอบที่ยกมาข้างบน
ส่วนไหนไม่ใช่พุทธพจน์
และ "ฯ" ที่โฮฮับแปลว่า ย่อ ...ปรากฏอยู่ทั่วไปหมด ย่อมาจากอะไรบ้าง.


อันนี้ยาวไปไม่มีเวลามากพอ พรุ่งนี้มาตอบให้

เช่นนั้น เขียน:
4.
เช่นนนั้น เขียน:
3.รู้ได้อย่างไรว่า พระพุทธองค์สื่อสารกับสาวกด้วยบาลี ไม่มีภาษาอื่นด้วย?
ทำไมไม่ตอบ


รู้ได้จากการทำความเข้าใจในบาลีพระไตรปิฎกนะซิ ถึงได้บอกไงว่า พูดกันเรื่องบาลีพระไตรปิฎก
ดันทลึ่งถ่อสังขารออกทะเล เดี๋ยวก็จมน้ำตายหรอก

จะมามั่วแต่งเรื่องถาม ถ้าเขาย้อนถามบ้างว่า รู้ได้ไงว่าพระพุทธองค์จะพูดภาษาอื่นด้วย
เอาความฝันมาถามชาวบ้านหรือเปล่า....ไปไม่ถูกก็เริ่มยียวนแล้วหรือไง ขันติเยอะๆ


เช่นนั้น เขียน:


เช่นนั้น เขียน:

5.
เช่นนั้น เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
5.ทำไมต้อง ใช้ภาษาบาลี(ปรากฤต-มคธี)ในการยกพุทธพจน์ตอนสังคยนาครั้งแรก.


อย่าเอาความเข้าใจผิดของตนมามั่วถามซิครับ ถามในสิ่งที่ตัวไม่รู้ก่อน
ไม่ใช่ไม่รู้แล้วก็มั่วถาม....

บอกแล้วว่า บาลีเป็นโวหารที่ใช้อธิบายพุทธพจน์และใช้เชื่อมคำ
สรุป....ในการทำสังคายนาครั้งแรก มีทั้งบาลี(โวหาร)และพุทธพจน์(พุทธบัญญัติ)

คำถามคือ "ทำไม" ไม่ใช่ ตอบว่ามีอะไรหรือไม่มีอะไร


คุณจะโกรธผมมั้ย ถ้าผมจะบอกว่า "ถามอะไรโง่ๆ" อย่าโกรธนะคุณก็เคยด่าผมคำนี้
ตอนแรกถามผมว่า "รู้ได้ไงว่าพระพุทธองค์" พุทธองค์สื่อสารกับสาวกด้วยบาลีไม่มีภาษาอื่น
มาตอนนี้ดันถามว่า ทำไมต้องใช้บาลียกพุทธพจน์ตอนทำสังคายนา

อยากได้คำตอบก็กลับไปดูคำถามที่ถามผมว่า "3.รู้ได้อย่างไรว่า พระพุทธองค์สื่อสารกับสาวกด้วยบาลี ไม่มีภาษาอื่นด้วย?"

ปัญญาอ่อนลืมแม้กระทั้งคำถามตัวเอง หรือถามดะไปงั้น
ตูไปไม่ถูกแล้ว ใช้ลูกพาลซะเลย :b32:


โพสต์ เมื่อ: 29 มิ.ย. 2016, 08:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:

3.
อ้างคำพูด:
เอวมฺเม สุตํ เอกํ สมยํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ
เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม ตตฺร โข ภควา ภิกฺขู
อามนฺเตสิ ภิกฺขโวติ ฯ ภทนฺเตติ เต ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุํ
ภควา เอตทโวจ สพฺพาสวสํวรปริยายํ โว ภิกฺขเว เทสิสฺสามิ
ตํ สุณาถ สาธุกํ มนสิกโรถ ภาสิสฺสามีติ เอวมฺภนฺเตติ โข เต
ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุํ ฯ ภควา เอตทโวจ ชานโต อหํ ภิกฺขเว ปสฺสโต
อาสวานํ ขยํ วทามิ โน อชานโต โน อปสฺสโต กิญฺจ ภิกฺขเว
ชานโต กึ ปสฺสโต อาสวานํ ขโย โหติ โยนิโส จ มนสิการํ
อโยนิโส จ มนสิการํ อโยนิโส ภิกฺขเว มนสิกโรโต อนุปฺปนฺนา
เจว อาสวา อุปฺปชฺชนฺติ อุปฺปนฺนา จ อาสวา ปวฑฺฒนฺติ โยนิโส
จ ภิกฺขเว มนสิกโรโต อนุปฺปนฺนา เจว อาสวา น อุปฺปชฺชนฺติ
อุปฺปนฺนา จ อาสวา ปหิยฺยนฺติ อตฺถิ ภิกฺขเว อาสวา ทสฺสนา
ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา สํวรา ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา
ปฏิเสวนา ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา อธิวาสนา ปหาตพฺพา อตฺถิ
อาสวา ปริวชฺชนา ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา วิโนทนา ปหาตพฺพา
อตฺถิ อาสวา ภาวนา ปหาตพฺพา

โฮฮับ....ข้อความในกรอบที่ยกมาข้างบน
ส่วนไหนไม่ใช่พุทธพจน์
และ "ฯ" ที่โฮฮับแปลว่า ย่อ ...ปรากฏอยู่ทั่วไปหมด ย่อมาจากอะไรบ้าง.


เอวมฺเม สุตํ เอกํ สมยํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ
เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม ฯ
ตตฺร โข ภควา ภิกฺขู
อามนฺเตสิ ภิกฺขโวติ ฯ ภทนฺเตติ เต ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุํ ฯ
ภควา เอตทโวจ สพฺพาสวสํวรปริยายํ โว ภิกฺขเว เทสิสฺสามิ
ตํ สุณาถ สาธุกํ มนสิกโรถ ภาสิสฺสามีติ ฯ เอวมฺภนฺเตติ โข เต
ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุํ ฯ

ภควา เอตทโวจ ชานโต อหํ ภิกฺขเว ปสฺสโต
อาสวานํ ขยํ วทามิ โน อชานโต โน อปสฺสโต ฯ กิญฺจ ภิกฺขเว
ชานโต กึ ปสฺสโต อาสวานํ ขโย โหติ ฯ โยนิโส จ มนสิการํ
อโยนิโส จ มนสิการํ ฯ อโยนิโส ภิกฺขเว มนสิกโรโต อนุปฺปนฺนา
เจว อาสวา อุปฺปชฺชนฺติ อุปฺปนฺนา จ อาสวา ปวฑฺฒนฺติ ฯ โยนิโส
จ ภิกฺขเว มนสิกโรโต อนุปฺปนฺนา เจว อาสวา น อุปฺปชฺชนฺติ
อุปฺปนฺนา จ อาสวา ปหิยฺยนฺติ ฯ อตฺถิ ภิกฺขเว อาสวา ทสฺสนา
ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา สํวรา ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา
ปฏิเสวนา ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา อธิวาสนา ปหาตพฺพา อตฺถิ
อาสวา ปริวชฺชนา ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา วิโนทนา ปหาตพฺพา
อตฺถิ อาสวา ภาวนา ปหาตพฺพา ฯ


บาลีที่เอามาถาม มีเพียงคำเดียวที่เป็นพุทธพจน์ คืออาสวาหรืออาสวะ
นอกนั้นเป็นโวหารทั้งสิ้น ส่วนหนึ่งเป็นโวหารของสาวกและอีกส่วนเป็นโวหารของพุทธองค์


โพสต์ เมื่อ: 29 มิ.ย. 2016, 09:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
3.
อ้างคำพูด:
เอวมฺเม สุตํ เอกํ สมยํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ
เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม ตตฺร โข ภควา ภิกฺขู
อามนฺเตสิ ภิกฺขโวติ ฯ ภทนฺเตติ เต ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุํ
ภควา เอตทโวจ สพฺพาสวสํวรปริยายํ โว ภิกฺขเว เทสิสฺสามิ
ตํ สุณาถ สาธุกํ มนสิกโรถ ภาสิสฺสามีติ เอวมฺภนฺเตติ โข เต
ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุํ ฯ ภควา เอตทโวจ ชานโต อหํ ภิกฺขเว ปสฺสโต
อาสวานํ ขยํ วทามิ โน อชานโต โน อปสฺสโต กิญฺจ ภิกฺขเว
ชานโต กึ ปสฺสโต อาสวานํ ขโย โหติ โยนิโส จ มนสิการํ
อโยนิโส จ มนสิการํ อโยนิโส ภิกฺขเว มนสิกโรโต อนุปฺปนฺนา
เจว อาสวา อุปฺปชฺชนฺติ อุปฺปนฺนา จ อาสวา ปวฑฺฒนฺติ โยนิโส
จ ภิกฺขเว มนสิกโรโต อนุปฺปนฺนา เจว อาสวา น อุปฺปชฺชนฺติ
อุปฺปนฺนา จ อาสวา ปหิยฺยนฺติ อตฺถิ ภิกฺขเว อาสวา ทสฺสนา
ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา สํวรา ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา
ปฏิเสวนา ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา อธิวาสนา ปหาตพฺพา อตฺถิ
อาสวา ปริวชฺชนา ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา วิโนทนา ปหาตพฺพา
อตฺถิ อาสวา ภาวนา ปหาตพฺพา

โฮฮับ....ข้อความในกรอบที่ยกมาข้างบน
ส่วนไหนไม่ใช่พุทธพจน์
และ "ฯ" ที่โฮฮับแปลว่า ย่อ ...ปรากฏอยู่ทั่วไปหมด ย่อมาจากอะไรบ้าง.


อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม

ย่อมาจาก เรื่องความเป็นมาของวัดเชตวัน

ปจฺจสฺโสสุํ

ย่อมาจาก เรื่องที่พระพุทธองค์ตรัสสอน ในที่นี้ก็คือ สังวรในอาสวะ

ภาสิสฺสามีติ

ย่อมาจาก คำที่กล่าวถึงองค์ธรรมของผู้ปกครอง มีอะไรบ้าง ท่านกล่าวโดยย่อว่า"ภาสิสฺสามีติ"

เท่านี้ก่อน เตือนว่า ต้องเอาบาลีเป็นหลัก
อย่าเอาไปเทียบเคียงกับพระสูตรแปลของพวกมหาเปรียญ ไม่งั้นเถียงกันไม่รู้จบ
ที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะ ความเห็นของผม คือ มหาเปรียญแปลมั่วนั้นเอง


โพสต์ เมื่อ: 29 มิ.ย. 2016, 12:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
3.
อ้างคำพูด:
เอวมฺเม สุตํ เอกํ สมยํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ
เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม ตตฺร โข ภควา ภิกฺขู
อามนฺเตสิ ภิกฺขโวติ ฯ ภทนฺเตติ เต ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุํ
ภควา เอตทโวจ สพฺพาสวสํวรปริยายํ โว ภิกฺขเว เทสิสฺสามิ
ตํ สุณาถ สาธุกํ มนสิกโรถ ภาสิสฺสามีติ เอวมฺภนฺเตติ โข เต
ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุํ ฯ ภควา เอตทโวจ ชานโต อหํ ภิกฺขเว ปสฺสโต
อาสวานํ ขยํ วทามิ โน อชานโต โน อปสฺสโต กิญฺจ ภิกฺขเว
ชานโต กึ ปสฺสโต อาสวานํ ขโย โหติ โยนิโส จ มนสิการํ
อโยนิโส จ มนสิการํ อโยนิโส ภิกฺขเว มนสิกโรโต อนุปฺปนฺนา
เจว อาสวา อุปฺปชฺชนฺติ อุปฺปนฺนา จ อาสวา ปวฑฺฒนฺติ โยนิโส
จ ภิกฺขเว มนสิกโรโต อนุปฺปนฺนา เจว อาสวา น อุปฺปชฺชนฺติ
อุปฺปนฺนา จ อาสวา ปหิยฺยนฺติ อตฺถิ ภิกฺขเว อาสวา ทสฺสนา
ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา สํวรา ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา
ปฏิเสวนา ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา อธิวาสนา ปหาตพฺพา อตฺถิ
อาสวา ปริวชฺชนา ปหาตพฺพา อตฺถิ อาสวา วิโนทนา ปหาตพฺพา
อตฺถิ อาสวา ภาวนา ปหาตพฺพา

โฮฮับ....ข้อความในกรอบที่ยกมาข้างบน
ส่วนไหนไม่ใช่พุทธพจน์
และ "ฯ" ที่โฮฮับแปลว่า ย่อ ...ปรากฏอยู่ทั่วไปหมด ย่อมาจากอะไรบ้าง.


เสียเวลา เอาเพียงสั้นๆว่า ถ้า"ฯ" คือย่อใจความ
ผู้ศึกษายังจะต้องศึกษาหาเพิ่มเติมจากวรรคหรือคำๆนั้น


โพสต์ เมื่อ: 29 มิ.ย. 2016, 17:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ ผู้ไม่รู้จักภาษา.... : )
1. พระพุทธเจ้า เป็นคน สาวกของพระพุทธองค์ ก็เป็นคน
2. พระพุทธเจ้า สื่อสารกับสาวกของพระพุทธองค์ ด้วยภาษาหลายภาษา เช่นภาษาของแคว้นสักกะ แคว้นโกศล แคว้นวัชชี แคว้นมคธ หรือแม้แต่ภาษาพระเวทสนทนากับพราหมณ์ด้วยเช่นกัน
3. ยุคสมัยของพระพุทธองค์ ไม่มีภาษาบาลี ภาษาบาลีมีรากฐานอย่างแน่นแฟ้นมาจากภาษามาคธี(ปรากฤต-มคธี) เพราะทำสังคยนาครั้งแรกที่แคว้นมคธ แต่มีความจำเพาะที่ถ้อยคำ ความหมายต่างๆ มีไว้เพื่อรักษาพุทธพจน์ซึ่งเป็นเจตจำนงหลักของพระอรหันตสาวกกำหนดขึ้นและสวดพร้อมๆกัน
4.พระพุทธองค์อ่านออกเขียนได้ด้วยอักขระอื่น มีตัวอักขระอื่นที่ไม่ใช่อักษรบาลีในสมัยพระพุทธองค์
เพราะในสมัยพระพุทธองค์ มีการออกหมายจับ มีการเขียนด้วยตัวหนังสือ
ดังปรากฏในพระวินัย
Quote Tipitaka:
พรรณนาด้วยหนังสือ
ที่ชื่อว่า พรรณนาด้วยหนังสือ ได้แก่ภิกษุเขียนหนังสือไว้ว่า ผู้ใดตายอย่างนี้ ผู้นั้นจะได้
ทรัพย์ ได้ยศ หรือไปสวรรค์ ดังนี้ ต้องอาบัติทุกกฏ ทุกๆ ตัวอักษร ผู้ใดผู้หนึ่งเห็นหนังสือแล้ว
คิดว่า เราจักตาย แล้วยังทุกขเวทนาให้เกิด ภิกษุผู้เขียน ต้องอาบัติถุลลัจจัย เขาตาย ภิกษุ-
*ผู้เขียน ต้องอาบัติปาราชิกฯ

Quote Tipitaka:
[๑๐๕] ก็โดยสมัยนั้นแล บุรุษคนหนึ่งทำโจรกรรม แล้วหนีไปบวชในสำนักภิกษุ
และบุรุษนั้นถูกเจ้าหน้าที่ออกหมายประกาศไว้ทั่วราชอาณาจักรว่า พบในที่ใด พึงฆ่าเสียในที่นั้น.
คนทั้งหลายเห็นแล้ว กล่าวอย่างนี้ว่า ภิกษุรูปนี้ คือโจรผู้ถูกออกหมายจับคนนั้น ถ้ากระไร
พวกเราจงฆ่ามันเสีย.
คนบางพวกพูดทัดทานอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลายอย่าได้พูดเช่นนี้ เพราะพระเจ้าพิมพิสาร
จอมเสนามาคธราชได้มีพระบรมราชานุญาตไว้ว่า กุลบุตรเหล่าใดบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสาย
พระศากยบุตร กุลบุตรเหล่านั้น ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้ เพราะธรรมอันพระผู้มีพระภาคตรัส
ไว้ดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด.
ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้
มิใช่ผู้หลบหลีกภัย ใครๆ จะทำอะไรไม่ได้ แต่ไฉนจึงให้โจรผู้ถูกออกหมายสั่งจับบวชเล่า. ภิกษุ
ทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย โจรผู้ถูกออกหมายสั่งจับ
ภิกษุไม่พึงให้บวช รูปใดให้บวช ต้องอาบัติทุกกฏ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสต์ เมื่อ: 29 มิ.ย. 2016, 18:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับผู้ไม่รู้จักภาษา ....
ภาษา คือกริยาอาการที่แสดงออกมาแล้วสามารถทำความเข้าใจกันได้ ไม่ว่าจะเป็นระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์กับสัตว์ หรือสัตว์กับสัตว์
ส่วนภาษาในความหมายอย่างแคบนั้น หมายถึง เสียงพูดที่มนุษย์ใช้สื่อสารกันเท่านั้นหรือสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นเครื่องมือที่สำคัญที่สุดในการสื่อความเข้าใจระหว่างกันของคนในสังคม ช่วยสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน ช่วยสร้างความสัมพันธ์ของคนในสังคม.

ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารมี 2 ประเภท คือ วัจนภาษาและอวัจนภาษา.
วัจนภาษา
วัจนภาษา หมายถึง ภาษาถ้อยคำ ได้แก่ คำพูดหรือตัวอักษรที่กำหนดใช้ร่วมกันในสังคม ซึ่งหมายรวมทั้งเสียง และลายลักษณ์อักษร ภาษาถ้อยคำเป็นภาษาที่มนุษย์สร้างขึ้นอย่างมีระบบ มีหลักเกณฑ์ทางภาษา หรือไวยากรณ์ซึ่งคนในสังคมต้องเรียนรู้และใช้ภาษาในการฟัง พูด อ่าน เขียนและคิด การใช้วัจนภาษาในการสื่อสารต้องคำนึงถึงความชัดเจนถูกต้องตามหลักภาษา และความเหมาะสมกับลักษณะ การสื่อสาร ลักษณะงาน เป้าหมาย สื่อและผู้รับสาร
วัจนภาษาแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ

1. ภาษาพูด ภาษาพูดเป็นภาษาที่มนุษย์เปล่งเสียงออกมาเป็นถ้อยคำเพื่อสื่อสารกับผู้อื่น นักภาษาศาสตร์ถือว่าภาษาพูดเป็นภาษาที่แท้จริงของมนุษย์ ส่วนภาษาเขียนเป็นเพียงวิวัฒนาการขั้นหนึ่งของภาษาเท่านั้น มนุษย์ได้ใช้ภาษาพูดติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นอยู่เสมอ ทั้งในเรื่องส่วนตัว สังคม และหน้าที่การงาน ภาษาพูดจึงสามารถสร้างความรัก ความเข้าใจ และช่วยแก้ไขปัญหา
ต่าง ๆ ในสังคมมนุษย์ได้มากมาย

2. ภาษาเขียน ภาษาเขียนเป็นภาษาที่มนุษย์ใช้อักษรเป็นเครื่องหมายแทนเสียงพูดในการสื่อ สาร ภาษาเขียนเป็นสัญลักษณ์ของการพูด ภาษาเขียนนั้นเป็นสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อใช้บันทึกภาษาพูด เป็นตัวแทนของภาษาพูดในโอกาสต่าง ๆ แม้นักภาษาศาสตร์จะถือว่าภาษาเขียนมิใช่ภาษาที่แท้จริงของมนุษย์ แต่ภาษาเขียนเป็นเครื่องมือสำคัญในการสื่อสารของมนุษย์ มาเป็นเวลาช้านาน มนุษย์ใช้ภาษาเขียนสื่อสารทั้งในส่วนตัว สังคม และหน้าที่การงาน ภาษาเขียนสร้างความรัก ความเข้าใจ และช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ในสังคมมนุษย์ได้มากมายหากมนุษย์รู้จักเลือกใช้ให้เหมาะสมกับบุคคล โอกาส และสถานการณ์

อวัจนภาษา

อวัจนภาษา หมายถึง เป็นการสื่อสารโดยไม่ใช้ถ้อยคำ ทั้งที่เป็นภาษาพูดและภาษาเขียน เป็นภาษาที่มนุษย์ใช้สื่อสารกัน โดยใช้อากัปกิริยา ท่าทาง น้ำเสียง สายตาหรือ ใช้วัตถุ การใช้สัญญาณ และ สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ หรือแสดงออกทางด้านอื่นที่สามารถรับรู้กันได้ สามารถแปลความหมายได้และทำความเข้าใจต่อกันได้.

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสต์ เมื่อ: 29 มิ.ย. 2016, 18:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับผู้ไม่รู้ภาษา.....
พระพุทธองค์เกิดในสกุลของศากยะ แคว้นสักกะ
แคว้นต่างๆ ที่รายล้อมแคว้นนี้มีแคว้นที่มีอำนาจการปกครองมากเช่น แคว้นโกศล แคว้นวัชชี แคว้นมคธ แคว้นอังคะ ...
ภาษาที่ใช้ในแคว้นต่างๆ เหล่านี้ได้รับอิทธิพลมาตั้งแต่การกำเนิดแห่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ อักขระที่ใช้ในสมัยนั้นต่างก็ได้รับอิทธิพลมากจาก Harappa ความแตกต่างทางภาษาเสียงสำเนียงก็มีแตกต่างกันไป

ในยุคอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนี้ เป็นยุคที่มีอารยธรรมเจริญมาก มีการวางผังเมือง มีระบบชลประทาน รู้จักเขียนตัวหนังสือ มีมาตราชั่ง-ตวง-วัด นับถือเทพเจ้า ซึ่งก่อนพุทธกาล หรือ พ.ศ. 900-600 ปี ชนเผ่าอารยันได้แผ่อิทธิพลไปตลอดลุ่มแม่น้ำคงคา และนำศาสนาพราหมณ์ ภาษาพระเวท และระบบวรรณะเข้ามา

พระพุทธองค์รอบรู้หลายภาษา
การพรรณาเกี่ยวกับการปกครองหมู่สงฆ์ในสมัยพุทธกาล และการดำเนินเผยแผ่ของพระพุทธองค์ไปยังแคว้นต่างๆ จึงเชื่อได้ว่า พระองค์ทรงรอบรู้หลายภาษารอบๆ แคว้นสักกะด้วย.
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เรื่องการอนุญาติให้ยกพุทธพจน์ด้วยภาษาเดิมของเหล่าสาวกซึ่งมาจากหลายชาติหลายสกุล โดยไม่ให้ยกพุทธพจน์ด้วยภาษาพระเวทเพียงภาษาเดียว
ดังปรากฏในพระวินัย
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๗ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๗
จุลวรรค ภาค ๒

Quote Tipitaka:
[๑๘๐] สมัยนั้น ภิกษุสองรูปเป็นพี่น้องกัน ชื่อเมฏฐะและโกกุฏฐะ
เป็นชาติพราหมณ์ พูดจาอ่อนหวาน เสียงไพเราะ เธอสองรูปนั้นเข้าไปเฝ้า
พระผู้มีพระภาค ถวายบังคม นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง แล้วกราบทูลว่า พระ-
*พุทธเจ้าข้า บัดนี้ ภิกษุทั้งหลายต่างชื่อ ต่างโคตร ต่างชาติ ต่างสกุลกันเข้ามา
บวช พวกเธอจะทำพระพุทธวจนะให้ผิดเพี้ยนจากภาษาเดิม ผิฉะนั้น ข้าพระ-
*พุทธเจ้าทั้งหลายจะขอยกพระพุทธวจนะขึ้นโดยภาษาสันสกฤต
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรโมฆะบุรุษทั้งหลาย ไฉน พวก
เธอจึงได้กล่าวอย่างนี้ว่า ผิฉะนั้น ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายจะขอยกพระพุทธวจนะ
ขึ้นโดยภาษาสันสกฤตดังนี้เล่า ดูกรโมฆะบุรุษทั้งหลาย การกระทำของพวกเธอนั่น
ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ... ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถา
รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงยกพุทธวจนะขึ้นโดยภาษา
สันสกฤต รูปใดยกขึ้น ต้องอาบัติทุกกฏ
เราอนุญาตให้เล่าเรียนพุทธวจนะตามภาษาเดิม ฯ

http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=7&A=1315&Z=1353&pagebreak=0

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสต์ เมื่อ: 29 มิ.ย. 2016, 18:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับผู้ไม่รู้ภาษา....
พุทธพจน์ คือถ้อยคำซึ่งพระองค์ตรัส.
พุทธบัญญัติ เป็นสิ่งที่พระพุทธองค์มีเจตนาแสดงจำเพาะโดยอาศัยถ้อยคำ เช่นบัญญัติพระวินัย บัญญัติอนัตตา จุลศีล มหาศีล บัญญัติเฉพาะลงไปในถ้อยคำต่างๆ เพื่อประสงค์ให้มีความรู้ไปในทิศทางเดียวกัน.
พุทธบัญญัติเป็นส่วนหนึ่งในพุทธพจน์.

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสต์ เมื่อ: 29 มิ.ย. 2016, 18:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับผู้ไม่รู้ภาษา...
ภาษาบาลี เกิดขึ้นหลังจากการปรินิพพานของพระพุทธองค์

ภาษาบาลี โดยคำว่า "บาลี" มาจากคำว่า "ปาลี" ซึ่งวิเคราะห์มาจาก ปาล ธาตุ ในความรักษา ลง ณี ปัจจัยๆ ที่เนื่องด้วย ณ ลบ ณ ทิ้งเสีย มีรูปวิเคราะห์ว่า พุทธวจนํ ปาเลตีติ ปาลี แปลโดยพยัญชนะว่า ภาษาใดย่อมรักษาไว้ซึ่งพระพุทธวจนะ เพราะเหตุนั้น ภาษานั้นชื่อว่า ปาลี แปลโดยอรรถว่า "ภาษาที่รักษาไว้ซึ่งพระพุทธวจนะ"

เป็นภาษาซึ่งอาศัยภาษาปรากฤต-มคธี เป็นภาษาหลักแต่มีความละเอียดรัดกุมขึ้นของไวยากรณ์
เป็นภาษาซึ่งพุทธสาวกฝ่ายเถรวาทใช้เป็นหลักในการศึกษาพุทธพจน์

ภาษาบาลีเป็นวจนภาษา เอาภาษาพูดเป็นหลัก ส่วนตัวอักขระยืมจากภาษาอื่นเฉพาะตัวอักขระ โดยเป็นเพียงเครื่องหมายที่มีเสียงกำกับอักขระจากภาษาอื่น

ตัวอักขระบาลีจึงแปรเปลี่ยนตามไปของเหล่าชนชาติ แต่การเปล่งเสียงซึ่งสืบทอดกันมาจะไม่เปลี่ยนแปลง
ตักอักขระบาลีที่มีการบันทึกจะเริ่มในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช โดยใช้อักขระพราหณมี และได้มีการพัฒนาเรื่อยมา เป็นอักขระเทวนาครี พม่า มอญ ไทยลานนา ลาว มลายู สิงหล ฯลฯ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสต์ เมื่อ: 29 มิ.ย. 2016, 18:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับผู้ไม่รู้ภาษา ....
การแปลภาษา ไม่ใช่อัตโมมติ หรือพูดเอาเอง
หลักการแปลภาษาบาลีเป็นไทย มีหลักมีเกณฑ์เข้มงวด

การแปลบาลี เป็นไทยให้เราๆ ท่านๆ ทำการศึกษาพุทธพจน์
มีการวางกฏเกณฑ์การแปลไม่ให้แปลตามอำเภอใจ
ต้องยึดหลักเกณฑ์ของไวยากรณ์บาลี
แปลโดยพยัญชนะ แปลโดยอรรถ ไม่อาจใส่ความคิดเห็นส่วนตนลงไปได้

ซึ่งต่างจากโฮฮับผู้ไม่รู้ภาษานั่งเทียน ความรู้ไวยากรณ์บาลีก็ไม่มีแม้เท่าหางอึ่ง
แสดงความเห็นเกรียนคีย์บอร์ด ไม่มีหลักไม่มีเกณฑ์แม้แต่ เครื่องหมาย "ฯ"
ซึ่งถูกประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อช่วยให้แบ่งประโยคทำความเข้าใจได้ง่ายขึ้น ในการศึกษาพระธรรมก็ไม่รู้จัก.


โฮฮับผู้ไม่รู้จักภาษา ...
ภาษาคนเป็นความรุ่งเรืองอย่างหนึ่งของอารยธรรมของมนุษย์

พระพุทธองค์อนุญาติให้ยกพุทธพจน์โดยภาษาท้องถิ่นตน

การแปลภาษาบาลี เป็นการแปลที่ต้องเป็นไปตามเนื้อความเดิม เพื่อให้คนชนชาตินั้นๆ รู้จักความหมายของพุทธพจน์...อย่างมีหลักเกณฑ์กำหนดตายตัว.

อย่าเอาอัตโนมัติตนแสดงแล้วอ้างว่าเป็นคำกล่าวของพระพุทธองค์

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสต์ เมื่อ: 30 มิ.ย. 2016, 07:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับผู้ไม่รู้ภาษา ....
การแปลภาษา ไม่ใช่อัตโมมติ หรือพูดเอาเอง
หลักการแปลภาษาบาลีเป็นไทย มีหลักมีเกณฑ์เข้มงวด


เช่นนั้นผู้หัวรั้นหัวแข็ง....

ไอ้ความเข้มงวดที่คุณกล่าวถึงนั้น............มันก็คือการบังคับให้คนต้องคิดตามฉัน
ธรรมมันเป็นเรื่องกายใจของตน...............ดันมาหลักเกณท์ของตนมายัดเยียดให้คนอื่น

สรุปเลยก็คือ ภาษาบาลีไม่ใช่ภาษาพ่อภาษาแม่ของเรา เราไม่มีสิทธิ์ไปตั้งกฎเกณท์
แล้วเที่ยวบังคับให้คนอื่นต้องเชื่อและทำตาม แบบนี้มันเป็นการดูแคลนบาลีพระไตรปิฎก
ดูถูกพระอรหันต์ผู้ทำมุขปาฐะในการทำสังคายนาครั้งแรก

พวกคนแก่หัวรั้น อธิบายที่มาที่ไปของภาษาให้ก็ไม่ฟัง ฟังหน่อยแล้วจะแย้งอย่างไรด้วยเหตุผล
ก็จะไม่ว่าสักนิด.....นี่มาพร่ามเรื่องกเกณท์บ้าๆบอๆที่พวกตนเมคตั้งเอาเอง

แค่เอาสติแยกแยะข้อมูลยังไม่มี เอาบาลีมาถาม แต่ดันทลึ่งพร่ามแต่"หลักการแปลบาลีๆๆๆ"
ตั้งสติแล้วพูดให้มีนเป็นเรื่องเป็นราว.....ทำได้มั้ย

เช่นนั้น เขียน:
การแปลบาลี เป็นไทยให้เราๆ ท่านๆ ทำการศึกษาพุทธพจน์
มีการวางกฏเกณฑ์การแปลไม่ให้แปลตามอำเภอใจ
ต้องยึดหลักเกณฑ์ของไวยากรณ์บาลี
แปลโดยพยัญชนะ แปลโดยอรรถ ไม่อาจใส่ความคิดเห็นส่วนตนลงไปได้


แล้วไอ้ที่ทำอยู่เนี่ยไม่ใช่การใส่ความคิดเห็นส่วนตนหรือ ตัวเองทำได้คนอื่นทำไม่ได้หรือไง่
ศาสนาพุทธเป็นของคนแปลบาลีหรือไง
อ้างเรื่อยเปื่อย ขนาดหลวงพ่อปยุตผู้มีส่วนร่วมในการแปล ท่านยังบอกว่า....พระไตรปิฎกแปลไทย
ยังต้องให้ผู้มีความรู้มาตกลงร่วมกัน เพื่อแก้ไขให้เป็นไปในทางเดียวกัน

ไปอ่านพระไตรปิฎกแปลไทยของท่านพุทธทาสซิ ถามหน่อยมันเหมือนกับที่คุณอ้างหรือไม่
พุทโธ่! อ้างดะไม่รู้เรื่องรู้ราว พระผู้ใหญ่ที่สามารถแปลบาลีได้....ยังมีความเห็นไม่ลงรอยกันเลย


ไอ้ไวยากรณ์บาลีที่คุณอ้างพูด ผมถามหน่อยไอ้หลักที่คุณยึดมั่นอยู่......มันใช่หลักไวยากรณ์บาลีหรือ
มันก็แค่พวกมหาเปรียญรวมหัวกันสร้างหลักเกณท์ขึ้นมา ด้วยการเอาหลักของภาษาไทยบ้าง
เขมรบ้าง ล้านนาบ้าง.......แล้วก็มามั่วบอกว่า เป็นหลักเกณท์บาลี

แค่ตัวสัญลักษณ์.. ยังมามั่วบอกว่าเป็นบาลี
แถมอ้างคัมภีร์โบราณเลอะเทอะ เราก็พูดเป็นร้อยครั้งว่า บาลีไม่มีตัวอักษร
ไม่มีภาษาเขียน มีแต่ภาษาพูด เมื่อไม่มีแล้วมันจะมี ได้อย่างไร

ถ้ามันมีปรากฎอยู่ในบาลีที่ใช้อักษรไทย ย่อมต้องเข้าใจว่ามันเป็นอักษรไทย
ความเข้าใจต่ออักษรหรือสัญลักษณ์นั้น.....ต้องยึดตามหลักการเขียนของไทย
ไม่ใช่ไปอ้างคัมภีร์โบราณ คัมภีร์โบราณมันไม่ใช่พระไตรปิฎก ส่วนใหญ่เป็นคัมภีร์เวทมนต์
ของพวกขอมหรือล้านนา

เช่นนั้น เขียน:
ซึ่งต่างจากโฮฮับผู้ไม่รู้ภาษานั่งเทียน ความรู้ไวยากรณ์บาลีก็ไม่มีแม้เท่าหางอึ่ง
แสดงความเห็นเกรียนคีย์บอร์ด ไม่มีหลักไม่มีเกณฑ์แม้แต่ เครื่องหมาย "ฯ"
ซึ่งถูกประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อช่วยให้แบ่งประโยคทำความเข้าใจได้ง่ายขึ้น ในการศึกษาพระธรรมก็ไม่รู้จัก.


"ฯ" ไม่ใช่บาลี บาลีไม่มีตัวอักษร มีแต่ภาษาพูด
เมื่อเราอ่านบาลีที่ใช้อักษรไทยในการเขียนเพื่อออกเสียงนั้น
ตัวอักษร"ฯ"ย่อมต้องเป็นตัวษรไทยไปโดยปริยาย เหตุนี้"ฯ"จึงต้องยึดหลักตัวอักษณไทย
ไม่ใช่เป็นตัวอักษรไทยแต่มั่วไปอ้างตัวอักษรขอมหรือล้านนา

โดยการอ่านบาลีที่เป็นตัวอักษรไทย เมื่อเห็น"ฯ"จะไม่มีการอ่านออกเสียง
เพียงแต่ให้รู้ไว้ว่า บัญญัติต่างๆก่อนหน้าตัวอักษร"ฯ" ยังมีเนื้อหามากกว่าที่เห็น


และที่สำคัญที่สุดในภาษา ไทยตัวสัญลักษณ์"ฯ" ท่านอ่านว่า...ไปยาลน้อย
ท่านไม่อ่านว่า คั่นเดี๋ยวหรืออั่งคั่น คำที่ว่านี่มันเป็นของพวกขอมหรือล้านนาโบราณ
พวกขอมหรือล้านนาท่านใช้เขียนประกอบคัมภีร์เวทมนต์....มันไม่เกี่ยวกับพระไตรปิฎกเลยสักนิด


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 57 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร