วันเวลาปัจจุบัน 20 ก.ค. 2025, 02:21  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 132 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 มิ.ย. 2016, 19:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:

ปล. สังเกตุให้ดี ในข้อ๓ที่คุณวงกลมไว้....ถามหน่อยเถอะ คุณจะเอาตัวไปรยาลน้อย(ฯ) ไปไว้ไหน
ก็เห็นอยู่ทนโท่ว่า มันเป็นคำต่อท้ายจากเวทนาในข้อ๓ที่คุณวงกลมไว้
เล่นทิ้งเขาหน้าตาเฉย......ไม่เนียนเลยครับ

โฮฮับ ...
เครื่องหมาย "ฯ" ไม่ใช่เครื่องหมาย เปยยาลน้อยในภาษาไทย
แต่เรียก เครื่องหมาย "ฯ" นี้ว่า ขั้นเดี่ยว
เป็นเครื่องหมายใช้สำหรับ แบ่งประโยค ตามการจารึกพระธรรมในใบลาน ที่ตกทอดกันมา...
จำไว้ให้ดีนะโฮฮับ


ภาษาบาลีไม่มีตัวหนังสือ บาลีมีแต่ภาษาพูด ตัวหนังสือบาลีที่บัญญัติในบาลีสยามรัฐ
เป็นตัวหนังสือไทย

เหตุนี้ "ฯ" จึงไม่ใช่บาลี แต่มันเป็นสัญลักษณ์ในอักษรไทยที่เรียกว่าไปยาลน้อย
ที่ต้องเรียกไปยาลน้อยก็เพราะ ในอักษรไทยยังมีสัญลักษณ์ที่คล้ายกันนั้นก็คือ "ฯลฯ"
ซึ่งเรียกว่าไปยาลใหญ่ สรุปคือเพื่อไม่ให้เกิดความสับสน

แต่ในบาลีซึ่งไม่มีสัญลักษณ์"ฯ" ที่เห็นมีในบาลีนั้นก็เป็นเพราะบาลียืมอักษรไทยสะกด
เพื่อออกเสียง ในบาลีจะออกเสียงว่า.... "เปยฺยาล" (ไปยาล)
แต่ถ้าเราเห็นสัญลักษณ์"ฯ" ในบาลี จะบอกว่านั้นคือ "เปยฺยาล"หรือไปยาลไม่ได้
จะต้องบอกว่า....ไปยาลน้อย

ทั้งไทยและบาลี เมื่อเห็นสัญลักษณ์"ฯ"ในประโยคจะไม่มีการออกเสียง แต่เป็นที่เข้าใจกันว่า
มันคือสัญลักษณ์ ....ไปยาลน้อย

ซึ่งโดยหน้าที่ของ"ฯ"คือย่อข้อความหรือให้รู้ว่า ยังมีเนื้อหาในวรรคนั่นๆอีก
เพียงแต่ย่อลงฐานที่เข้าใจ


การที่คุณเช่นนั้นบอกว่า มันเป็นเครื่องหมายแบ่งประโยคหรือขั้นเดียว
เป็นการพูดแบบกำปั้นทุบดิน หาใช่คำอธิบายความไม่

แท้จริงแล้วมันไม่ใช่การขั้นหรือแบ่งประโยค แท้แล้วมันเป็นเครื่องหมาย
ย่อของประโยคนั้นๆ มันยังมีเนื้อหาที่ยังไม่ได้กล่าวอีก ด้วยเหตุนี้ประโยคดังกล่าวจึงจบไปโดยปริยาย

ชื่อ ของเครื่องหมาย "ฯ" นี้เมื่อใช้ในการแบ่งประโยค เรียกว่า "ขั้นเดี่ยว" พึงเข้าใจตามหลักภาษาศาสตร์
ของการจารึกพระธรรมในใบลาน
ส่วนการย่อความว่ายังมีเนื้อหา ในบันทึกใบลาน จะใช้ ฯเปฯ ไม่ได้ใช้ ฯลฯ โฮฮับรู้ผิดๆถูกๆ ก็เรียนรู้เสียใหม่
หากไม่รู้ก็ไปถามหาจากครูอาจารย์ด้านภาษาบาลี ก่อนที่จะมาเฉไฉถูไถครับ

หน้าแตกหน้าแหก เรื่องลอกผิดลอกถูก
อย่าให้ไม่รับเย็บขนาด ขนาดไม่รู้ภาษาอีกเลย โฮฮับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 มิ.ย. 2016, 20:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:

ปล. สังเกตุให้ดี ในข้อ๓ที่คุณวงกลมไว้....ถามหน่อยเถอะ คุณจะเอาตัวไปรยาลน้อย(ฯ) ไปไว้ไหน
ก็เห็นอยู่ทนโท่ว่า มันเป็นคำต่อท้ายจากเวทนาในข้อ๓ที่คุณวงกลมไว้
เล่นทิ้งเขาหน้าตาเฉย......ไม่เนียนเลยครับ

โฮฮับ ...
เครื่องหมาย "ฯ" ไม่ใช่เครื่องหมาย เปยยาลน้อยในภาษาไทย
แต่เรียก เครื่องหมาย "ฯ" นี้ว่า ขั้นเดี่ยว
เป็นเครื่องหมายใช้สำหรับ แบ่งประโยค ตามการจารึกพระธรรมในใบลาน ที่ตกทอดกันมา...
จำไว้ให้ดีนะโฮฮับ


ภาษาบาลีไม่มีตัวหนังสือ บาลีมีแต่ภาษาพูด ตัวหนังสือบาลีที่บัญญัติในบาลีสยามรัฐ
เป็นตัวหนังสือไทย

เหตุนี้ "ฯ" จึงไม่ใช่บาลี แต่มันเป็นสัญลักษณ์ในอักษรไทยที่เรียกว่าไปยาลน้อย
ที่ต้องเรียกไปยาลน้อยก็เพราะ ในอักษรไทยยังมีสัญลักษณ์ที่คล้ายกันนั้นก็คือ "ฯลฯ"
ซึ่งเรียกว่าไปยาลใหญ่ สรุปคือเพื่อไม่ให้เกิดความสับสน

แต่ในบาลีซึ่งไม่มีสัญลักษณ์"ฯ" ที่เห็นมีในบาลีนั้นก็เป็นเพราะบาลียืมอักษรไทยสะกด
เพื่อออกเสียง ในบาลีจะออกเสียงว่า.... "เปยฺยาล" (ไปยาล)
แต่ถ้าเราเห็นสัญลักษณ์"ฯ" ในบาลี จะบอกว่านั้นคือ "เปยฺยาล"หรือไปยาลไม่ได้
จะต้องบอกว่า....ไปยาลน้อย

ทั้งไทยและบาลี เมื่อเห็นสัญลักษณ์"ฯ"ในประโยคจะไม่มีการออกเสียง แต่เป็นที่เข้าใจกันว่า
มันคือสัญลักษณ์ ....ไปยาลน้อย

ซึ่งโดยหน้าที่ของ"ฯ"คือย่อข้อความหรือให้รู้ว่า ยังมีเนื้อหาในวรรคนั่นๆอีก
เพียงแต่ย่อลงฐานที่เข้าใจ


การที่คุณเช่นนั้นบอกว่า มันเป็นเครื่องหมายแบ่งประโยคหรือขั้นเดียว
เป็นการพูดแบบกำปั้นทุบดิน หาใช่คำอธิบายความไม่

แท้จริงแล้วมันไม่ใช่การขั้นหรือแบ่งประโยค แท้แล้วมันเป็นเครื่องหมาย
ย่อของประโยคนั้นๆ มันยังมีเนื้อหาที่ยังไม่ได้กล่าวอีก ด้วยเหตุนี้ประโยคดังกล่าวจึงจบไปโดยปริยาย

ชื่อ ของเครื่องหมาย "ฯ" นี้เมื่อใช้ในการแบ่งประโยค เรียกว่า "ขั้นเดี่ยว" พึงเข้าใจตามหลักภาษาศาสตร์
ของการจารึกพระธรรมในใบลาน
ส่วนการย่อความว่ายังมีเนื้อหา ในบันทึกใบลาน จะใช้ ฯเปฯ ไม่ได้ใช้ ฯลฯ โฮฮับรู้ผิดๆถูกๆ ก็เรียนรู้เสียใหม่
หากไม่รู้ก็ไปถามหาจากครูอาจารย์ด้านภาษาบาลี ก่อนที่จะมาเฉไฉถูไถครับ

หน้าแตกหน้าแหก เรื่องลอกผิดลอกถูก
อย่าให้ไม่รับเย็บขนาด ขนาดไม่รู้ภาษาอีกเลย โฮฮับ


จะบ้าตาย!!! บอกแล้วว่าบาลีไม่มีตัวอักษรหรือพยัญชนะใดทั้งสิ้น
บาลีมีแต่ภาษาพูด ถามจริงพวกมคธพูดกันที ตัวอักษรมันลอยออกมาจากปากหรือไง

อ้างอาจารย์ด้านบาลีหน้าตาเฉย ไปลอกเขามาแทนที่จะศึกษาให้ถ่องแท้เสียก่อน
ดันมาพูดเป็นนกแก้วนกขุนทอง ไปจำเขามาแล้วฟังเขาอธิบายหรือเปล่าว่า ทำไมถึงเรียกอย่างนั้น

ถามจริง"ฯ" ไอ้สัญลักษณ์แบบนี้ บาลีเขาอ่านว่าขั้นเดียวงั้นหรือ
ตลกจริงๆไอ้ที่พูดมานะ คนไทยเขาว่า"นี่มันภาษาของตู อย่ามามั่ว"

สัญลักษณ์"ฯ" นี่ในภาษาเขมรเขาไว้ใช้เป็นสัญลักษณ์บอกวันเดือนปี(ขึ้น แรม)
แต่ภาษาไทยมีความหมายว่า ยังมีเนื้อหามากกว่าที่เห็น
ทั้งสองชาติมีทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน(ตัวอักษร)เป็นของตน

บาลีมันไม่มีตัวอักษร แค่ยืมตัวอักษรชาวบ้านมาออกเสียง
ดันเอาอักษรชาวบ้านมาแปลซะเป็นตุเป็นตะ

แถมอ้างบัณฑิตเอย หลักภาษาศาสตร์เอย ไอ้พระธรรมใบลานเนี้ยนะใช้หลักภาษาศาสตร์
ขอร้องละครับจะอ้างอะไรเอาแค่พอประมาณ อย่าทำตัวเหมือนเด็กอ้างซะเกินเหตุ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 มิ.ย. 2016, 20:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
จะบ้าตาย!!! บอกแล้วว่าบาลีไม่มีตัวอักษรหรือพยัญชนะใดทั้งสิ้น
บาลีมีแต่ภาษาพูด ถามจริงพวกมคธพูดกันที ตัวอักษรมันลอยออกมาจากปากหรือไง

อ้างอาจารย์ด้านบาลีหน้าตาเฉย ไปลอกเขามาแทนที่จะศึกษาให้ถ่องแท้เสียก่อน
ดันมาพูดเป็นนกแก้วนกขุนทอง ไปจำเขามาแล้วฟังเขาอธิบายหรือเปล่าว่า ทำไมถึงเรียกอย่างนั้น

ถามจริง"ฯ" ไอ้สัญลักษณ์แบบนี้ บาลีเขาอ่านว่าขั้นเดียวงั้นหรือ
ตลกจริงๆไอ้ที่พูดมานะ คนไทยเขาว่า"นี่มันภาษาของตู อย่ามามั่ว"

สัญลักษณ์"ฯ" นี่ในภาษาเขมรเขาไว้ใช้เป็นสัญลักษณ์บอกวันเดือนปี(ขึ้น แรม)
แต่ภาษาไทยมีความหมายว่า ยังมีเนื้อหามากกว่าที่เห็น
ทั้งสองชาติมีทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน(ตัวอักษร)เป็นของตน

บาลีมันไม่มีตัวอักษร แค่ยืมตัวอักษรชาวบ้านมาออกเสียง
ดันเอาอักษรชาวบ้านมาแปลซะเป็นตุเป็นตะ

แถมอ้างบัณฑิตเอย หลักภาษาศาสตร์เอย ไอ้พระธรรมใบลานเนี้ยนะใช้หลักภาษาศาสตร์
ขอร้องละครับจะอ้างอะไรเอาแค่พอประมาณ อย่าทำตัวเหมือนเด็กอ้างซะเกินเหตุ

โฮฮับ...
ก่อนบ้าตายตอนนี้ ไปเสริชดู เครื่องหมายวรรคตอนโบราณนะครับ แล้วค่อยบ้าตาย
อังคั่น ...อังคั่นเดี่ยว หรือขั้นเดี่ยว ใช้เครื่องหมาย "ฯ" นี้นะครับ
พอเสริชเจอแล้วค่อยตายนะครับ โฮฮับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 มิ.ย. 2016, 20:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
ชื่อ ของเครื่องหมาย "ฯ" นี้เมื่อใช้ในการแบ่งประโยค เรียกว่า "ขั้นเดี่ยว" พึงเข้าใจตามหลักภาษาศาสตร์


ที่ว่าตามหลักภาษา ถามหน่อยหลักใครครับ ภาษาบาลี(พูด) มันไม่มีแต่อักษรไทยนะครับ
ผมถามหน่อยเถอะ บทสวดบาลีพม่า ลังกา เขมร ลาว....มันมีมั้ยไอ้ขั้นเดียวที่คุณว่า
อย่ามโนเอาเองซิครับ พูดเองว่ายึดหลักภาษาศาสตร์ แต่นี้เล่นโมเมเอาเองหาหลักสากลไม่ได้เลย
อ้างอะไรเรื่อยเปื่อย อ้างใบลานไปโน้น

ผมจะบอกให้ครับว่า จะอ้างหลักภาษาศาสตร์
ถ้าเป็นบาลี...สิ่งที่ต้องคำนึงถึงก็คือ การออกเสียงให้ถูกต้อง

ไอ้นี่อะไรกันครับ ดันเอาอักษรเขามาใช้แล้วก็แปลเองว่า"ขั้นเดียว"
"ขั้นเดียว"มันเป็นภาษาไทยแท้ๆ ทั้งตัวอักษรและความหมาย มันเป็นภาษาไทยแท้
ดันบอกมาได้เป็นบาลี
....ผมตลกกับคุณจริงๆครับ :b32:

เช่นนั้น เขียน:

ส่วนการย่อความว่ายังมีเนื้อหา ในบันทึกใบลาน จะใช้ ฯเปฯ ไม่ได้ใช้ ฯลฯ โฮฮับรู้ผิดๆถูกๆ ก็เรียนรู้เสียใหม่
หากไม่รู้ก็ไปถามหาจากครูอาจารย์ด้านภาษาบาลี ก่อนที่จะมาเฉไฉถูไถครับ


มันจะใช้อะไรก็เรื่องของมันครับ ประเด็นที่เรากำลังถกกันอยู่คือ.....บาลีสยามรัฐ
อย่าหลงประเด็นอ้างมั่ว อ้างดะเล่นถึงคาถาใบลานไปโน้น ถามจริงตัวอักษรในใบลานที่คุณอ้าง
มันเป็นตัวอักษรที่เขียนในบาลีสยามรัฐหรือเปล่าครับ หรือเป็นสมัยพระเจ้าเหา

แล้วสอนเท่าไรไม่รู้จักจำ บอกว่าให้มีสมาธิอ่านความเห็นของอีกฝ่ายให้ดีเสียก่อน
"ฯลฯ" สัญลักษณ์นี้ผมแสดงความเห็นแบบที่คุณอ้างพูดหรือครับ อย่ามั่วซิครับ

คุณเช่นนั้นหลงไปไกลแล้ว ผมว่าเดี๋ยวได้อ้างพระถังซำจังแหง่ๆ :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 มิ.ย. 2016, 20:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ...
ก่อนบ้าตายตอนนี้ ไปเสริชดู เครื่องหมายวรรคตอนโบราณนะครับ แล้วค่อยบ้าตาย
อังคั่น ...อังคั่นเดี่ยว หรือขั้นเดี่ยว ใช้เครื่องหมาย "ฯ" นี้นะครับ
พอเสริชเจอแล้วค่อยตายนะครับ โฮฮับ



อังคั่นเดี่ยว หรือ คั่นเดี่ยว หรือ ขั้นเดี่ยว (ฯ) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนที่นิยมใช้ในหนังสือไทยสมัยโบราณ
ใช้เมื่อจบบท ตอน หรือเรื่อง ทั้งคำประพันธ์ร้อยกรองและร้อยแก้ว
ใช้สัญลักษณ์เดียวกันกับไปยาลน้อย
ปัจจุบันมีอังคั่นเดี่ยวให้เห็นในหนังสือวรรณคดีและตำราเรียนภาษาไทยเท่านั้น

https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD ... 8%E0%B8%99


ไอ้อั่งคั่นเดียวหรือขั้นเดียวที่คุณมั่่ว......มันเกี่ยวกับบาลีพระไตรปิฎกตรงไหนครับ
ไอ้อั่งคั่นหรือขั้นเดียวที่คุณว่า ภาษาเขมรก็มี....แต่ประเด็นมันอยู่ที่บาลีพระไตรปิฎก

ถามอีกครั้งครับ บาลีมันมีอั้งคั่นหรือขั้นเดียวแบบที่คุณมั่วหรือครับ
:b32:

วิกิพีเดีย เขาบอกว่า....

ใช้ในหนังสือไทยสมัยโบราณ คำประพันธ์ร้อยกรองและร้อยแก้ว

ปัจจุบันมีอังคั่นเดี่ยวให้เห็นในหนังสือวรรณคดีและตำราเรียนภาษาไทยเท่านั้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มิ.ย. 2016, 00:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ...
ก่อนบ้าตายตอนนี้ ไปเสริชดู เครื่องหมายวรรคตอนโบราณนะครับ แล้วค่อยบ้าตาย
อังคั่น ...อังคั่นเดี่ยว หรือขั้นเดี่ยว ใช้เครื่องหมาย "ฯ" นี้นะครับ
พอเสริชเจอแล้วค่อยตายนะครับ โฮฮับ



อังคั่นเดี่ยว หรือ คั่นเดี่ยว หรือ ขั้นเดี่ยว (ฯ) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนที่นิยมใช้ในหนังสือไทยสมัยโบราณ
ใช้เมื่อจบบท ตอน หรือเรื่อง ทั้งคำประพันธ์ร้อยกรองและร้อยแก้ว
ใช้สัญลักษณ์เดียวกันกับไปยาลน้อย
ปัจจุบันมีอังคั่นเดี่ยวให้เห็นในหนังสือวรรณคดีและตำราเรียนภาษาไทยเท่านั้น

https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD ... 8%E0%B8%99


ไอ้อั่งคั่นเดียวหรือขั้นเดียวที่คุณมั่่ว......มันเกี่ยวกับบาลีพระไตรปิฎกตรงไหนครับ
ไอ้อั่งคั่นหรือขั้นเดียวที่คุณว่า ภาษาเขมรก็มี....แต่ประเด็นมันอยู่ที่บาลีพระไตรปิฎก

ถามอีกครั้งครับ บาลีมันมีอั้งคั่นหรือขั้นเดียวแบบที่คุณมั่วหรือครับ
:b32:

วิกิพีเดีย เขาบอกว่า....

ใช้ในหนังสือไทยสมัยโบราณ คำประพันธ์ร้อยกรองและร้อยแก้ว

ปัจจุบันมีอังคั่นเดี่ยวให้เห็นในหนังสือวรรณคดีและตำราเรียนภาษาไทยเท่านั้น

ดีมากโฮฮับ ที่มีความขวนขวายอยู่
หากมีความขวนขวายมากกว่านี้ ก็จะพบ
ความรู้นี้
อ้างคำพูด:
เครื่องหมายวรรคตอนโบราณ ในการเรียบเรียงภาษาเป็นลายลักษณ์อักษรนั้น จะต้องมีเครื่องหมายต่างๆ ประกอบด้วย เพื่อจะให้อ่านได้ถูกต้องตามต้องการ ดังนั้นเครื่องหมายวรรคตอนจึงนับว่าเป็นข้อสำคัญส่วนหนึ่งในการเรียงข้อความ ซึ่งผู้ศึกษาภาไทยควรรู้ ดังนั้นจึงนำเอาเครื่องหมายวรรคตอนโบราณมากล่าวก่อนดังนี้

หนังสือโบราณของไทยเรามี ๒ อย่าง คือ เป็นใบลานซึ่งจารึกพระธรรมหรือตำราบางอย่างที่นับถืออย่างหนึ่ง และเป็นสมุดไทยหรือกระดาษเพลา๑ ซึ่งใช้เขียนเรื่องราว เช่น กฎหมายตลอดไปจนเรื่องราวต่างๆ ของชาวเมืองอีกอย่างหนึ่ง จึงทำให้ใช้เครื่องหมายวรรคตอนแตกต่างกันไปบ้าง แล้วแต่สะดวกในการเขียน ดังนี้

ก. หนังสือใบลาน ใช้เครื่องหมายวรรคตอน ๓ อย่าง คือ (๑) เว้นวรรค คือ เมื่อหมดความตอนหนึ่งๆ แต่ยังไม่จบประโยค ก็ใช้เว้นวรรคเป็นระยะไป (๒) เมื่อหมดประโยคหนึ่งก็ใช้เครื่องหมาย ขั้นเดี่ยว ดังนี้ ฯ๒ เรื่อยไป (๓) เมื่อจบเรื่องความใหญ่ก็ใช้ขั้นคู่ ดังนี้ ๚ เป็นต้น

ข. หนังสือสมุดไทยหรือกระดาษเพลา นิยมใช้เครื่องหมาย ฟองมัน รูปดังนี้ ๏๓ ขึ้นต้นบทย่อย อย่างเดียวกับขั้นเดี่ยวในใบลานและใช้ ฟองมัน ฟันหนู ดังนี้ ๏” ขึ้นต้นข้อใหญ่ และเมื่อจบข้อใหญ่ ก็ใช้ขั้นคู่ ๚ แล้วขึ้น ๏” ต่อไปใหม่ และเมื่อจบตอนใหญ่กว่านั้นก็ใช้ดังนี้ ๚ และเมื่อจบเรื่องทีเดียวก็ใช้เครื่องหมายโคมูตร (เยี่ยวโค) เติมท้ายดังนี้ ๚ะ ๛ ส่วนการเว้นวรรคในระหว่างก็ใช้เช่นเดียวกัน ข้อสำคัญ คือ เว้นวรรคให้เหมาะกับการกลั้นหายใจของผู้อ่าน

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มิ.ย. 2016, 00:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ ความรู้อันนี้จำไว้
เพราะหากศึกษาในพระไตรปิฏก จะเห็นเครื่องเหมาย "ฯ" นี้ปรากฏมากมาย
จะได้อ่านหรือศึกษาได้ถูก ว่าจบประโยคใด ต่อด้วยประโยคใด
^ ^
เวลาลอก บาลีมาจะได้ลอกมาไม่ผิดพลาด นะโฮฮับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มิ.ย. 2016, 04:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ...
ก่อนบ้าตายตอนนี้ ไปเสริชดู เครื่องหมายวรรคตอนโบราณนะครับ แล้วค่อยบ้าตาย
อังคั่น ...อังคั่นเดี่ยว หรือขั้นเดี่ยว ใช้เครื่องหมาย "ฯ" นี้นะครับ
พอเสริชเจอแล้วค่อยตายนะครับ โฮฮับ



อังคั่นเดี่ยว หรือ คั่นเดี่ยว หรือ ขั้นเดี่ยว (ฯ) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนที่นิยมใช้ในหนังสือไทยสมัยโบราณ
ใช้เมื่อจบบท ตอน หรือเรื่อง ทั้งคำประพันธ์ร้อยกรองและร้อยแก้ว
ใช้สัญลักษณ์เดียวกันกับไปยาลน้อย
ปัจจุบันมีอังคั่นเดี่ยวให้เห็นในหนังสือวรรณคดีและตำราเรียนภาษาไทยเท่านั้น

https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD ... 8%E0%B8%99


ไอ้อั่งคั่นเดียวหรือขั้นเดียวที่คุณมั่่ว......มันเกี่ยวกับบาลีพระไตรปิฎกตรงไหนครับ
ไอ้อั่งคั่นหรือขั้นเดียวที่คุณว่า ภาษาเขมรก็มี....แต่ประเด็นมันอยู่ที่บาลีพระไตรปิฎก

ถามอีกครั้งครับ บาลีมันมีอั้งคั่นหรือขั้นเดียวแบบที่คุณมั่วหรือครับ
:b32:

วิกิพีเดีย เขาบอกว่า....

ใช้ในหนังสือไทยสมัยโบราณ คำประพันธ์ร้อยกรองและร้อยแก้ว

ปัจจุบันมีอังคั่นเดี่ยวให้เห็นในหนังสือวรรณคดีและตำราเรียนภาษาไทยเท่านั้น

ดีมากโฮฮับ ที่มีความขวนขวายอยู่
หากมีความขวนขวายมากกว่านี้ ก็จะพบ
ความรู้นี้
อ้างคำพูด:
เครื่องหมายวรรคตอนโบราณ ในการเรียบเรียงภาษาเป็นลายลักษณ์อักษรนั้น จะต้องมีเครื่องหมายต่างๆ ประกอบด้วย เพื่อจะให้อ่านได้ถูกต้องตามต้องการ ดังนั้นเครื่องหมายวรรคตอนจึงนับว่าเป็นข้อสำคัญส่วนหนึ่งในการเรียงข้อความ ซึ่งผู้ศึกษาภาไทยควรรู้ ดังนั้นจึงนำเอาเครื่องหมายวรรคตอนโบราณมากล่าวก่อนดังนี้

หนังสือโบราณของไทยเรามี ๒ อย่าง คือ เป็นใบลานซึ่งจารึกพระธรรมหรือตำราบางอย่างที่นับถืออย่างหนึ่ง และเป็นสมุดไทยหรือกระดาษเพลา๑ ซึ่งใช้เขียนเรื่องราว เช่น กฎหมายตลอดไปจนเรื่องราวต่างๆ ของชาวเมืองอีกอย่างหนึ่ง จึงทำให้ใช้เครื่องหมายวรรคตอนแตกต่างกันไปบ้าง แล้วแต่สะดวกในการเขียน ดังนี้

ก. หนังสือใบลาน ใช้เครื่องหมายวรรคตอน ๓ อย่าง คือ (๑) เว้นวรรค คือ เมื่อหมดความตอนหนึ่งๆ แต่ยังไม่จบประโยค ก็ใช้เว้นวรรคเป็นระยะไป (๒) เมื่อหมดประโยคหนึ่งก็ใช้เครื่องหมาย ขั้นเดี่ยว ดังนี้ ฯ๒ เรื่อยไป (๓) เมื่อจบเรื่องความใหญ่ก็ใช้ขั้นคู่ ดังนี้ ๚ เป็นต้น

ข. หนังสือสมุดไทยหรือกระดาษเพลา นิยมใช้เครื่องหมาย ฟองมัน รูปดังนี้ ๏๓ ขึ้นต้นบทย่อย อย่างเดียวกับขั้นเดี่ยวในใบลานและใช้ ฟองมัน ฟันหนู ดังนี้ ๏” ขึ้นต้นข้อใหญ่ และเมื่อจบข้อใหญ่ ก็ใช้ขั้นคู่ ๚ แล้วขึ้น ๏” ต่อไปใหม่ และเมื่อจบตอนใหญ่กว่านั้นก็ใช้ดังนี้ ๚ และเมื่อจบเรื่องทีเดียวก็ใช้เครื่องหมายโคมูตร (เยี่ยวโค) เติมท้ายดังนี้ ๚ะ ๛ ส่วนการเว้นวรรคในระหว่างก็ใช้เช่นเดียวกัน ข้อสำคัญ คือ เว้นวรรคให้เหมาะกับการกลั้นหายใจของผู้อ่าน


ไปไหนมาสามวาสองศอก!! ไอ้ที่คุณเพ้อเจ้อนะ ถามครับว่า มันเป็นบาลีในพระไตรปิฎกหรือเปล่าหรือเปล่า
กรุณาอย่าลากประเด็นที่เรากำลังโต้แย้งออกนอกทะเลครับ

ไอ้ตัวคั่นเดียวที่คุณอ้างมันก็ใช้หรือเรียกตามที่วิกิพีเดียบอกนั้นแหล่ะ
แต่ปัญหามันอยู่ที่.......บาลีพระไตรปิฎกมันออกเสียงและมีลักษณะแบบที่คุณว่าหรือเปล่า

อ่านบาลีพระไตรปิฎก มันต้องเข้าใจแบบบาลี ไม่ใช่ไปเข้าใจแบบที่คุณอ้าง มันคนละเรื่อง
ดันเอาหลักเกณท์ที่เขาใช้สิ่งหนึ่งมาอ้างกับสิ่งหนึ่ง

ที่สำคัญอ้างหลักภาษาศาสตร์ แต่ดันเอาเรื่องโบราณมาเป็นตัวอย่าง
ทั้งๆที่ตามหลักภาษาศาสตร์ไทย สัญลักษณ์"ฯ" อ่านว่าไปยาลน้อย

ซึ่งถ้าสัญลักษณ์"ฯ" มีอยู่ในบาลีพระไตรปิฏกเราจะไม่ออกเสียง
นั้นเป็นเพราะบาลีไม่มีคำหรือเสียงๆนี้ เพียงแต่ให้ผู้อ่านเข้าใจว่า ......
เนื้อหานั้นจบโดยย่อ
ตัวอย่างที่เป็นประเด็นเถียงกัน คือวรรคนี้

รูปภาพ

ไอ้เวทนาตัวแรกในกรอบคืออะไร และเวทนาตัวสุดท้ายในกรอบคืออะไร
ไอ้ที่คุณเช่นนั้นไปโยงมั่วตามใจตัวเพื่อเอาชนะนั้นแหล่ะ

คุเช่นนั้นตั้งสติให้ดี แล้วพายเรือกลับขึ้นฝั่ง แล้วผมจะบอกให้ว่า
"ฯ"มันจะเรียกอะไรไม่ใช่ประเด็น แต่ถ้าเป็นหลักภาษาศาสตร์ไทยท่านเรียกว่า...ไปยาลน้อย
หรือคุณจะเรียก "ขั่นเดียว"หรือ"คั่นเดียว"ก็ตามใจคุณ

ประเด็นมันอยู่ที่ ทำไมท่านจึงเขียนไว้ในบาลีพระไตรปิฎก
ท่านต้องการสื่ออะไร มันไม่ใช่เรื่องเรียกว่าอะไรที่คุณกำลังเพ้อเจ้อแก้เกี้ยว


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มิ.ย. 2016, 04:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ ความรู้อันนี้จำไว้
เพราะหากศึกษาในพระไตรปิฏก จะเห็นเครื่องเหมาย "ฯ" นี้ปรากฏมากมาย
จะได้อ่านหรือศึกษาได้ถูก ว่าจบประโยคใด ต่อด้วยประโยคใด
^ ^
เวลาลอก บาลีมาจะได้ลอกมาไม่ผิดพลาด นะโฮฮับ


อย่าไปไหนมาสามวาสองศอกครับ ความหมายของมันคือ โดยย่อ
และคำว่าโดยย่อ มันก็ต้องจบหรือละไว้ฐานที่เข้าใจนั้นเอง

ในบาลีไม่มีลักษณะเป็นประโยค นั้นเพราะประโยคมีใช้แต่ในหลักภาษาไทย
ลักษณะภาษาบาลีเป็น คำหรือพยางค์ เท่านั้น เพราะมันเป็นภาษาพูด


ฉะนั้นการที่คุณบอกว่า เป็นการจบประโยค เท่ากับเป็นการมั่วดน้ำเอาเองครับ
ดูก็รู้ว่าคุณเช่นนั้นแกไม่ได้รู้เรื่องหลักภาษาศาสตร์ ลักษณะประโยคเป็นเช่นไรยังไม่รู้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มิ.ย. 2016, 08:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เอามาเปรียบเทียบกัน นีคือความเห็นของคุณเช่นนั้น ตามรูป

รูปภาพ


และนี่คือความเห็นของผม(โฮฮับ) ตามรูป

รูปภาพ

คุณเช่นนั้นไม่เข้าใจเรื่องของสภาพธรรม แกเอาพระสูตรแปลไทยเป็นหลัก เอาบาลีเป็นลอง
ซึ่งมันผิดหลักการแปล แท้จริงต้องเอาบาลีเป็นหลักแล้วจึงค่อยแปลไปที่ละบัญญัติ

เช่นนั้นเอาพระสูตรแปลไทยเป็นหลัก เมื่อเอามาเทียบกับบาลี.....มันย่อมเข้ากันไม่ได้
เมื่อเป็นเช่นนี้ เพราะอยากเอาชนะคะคาน ก็เลยตีเนียนโยงคำบาลีข้ามห้วย ข้ามวรรคตอน
ตามที่เห็นในรูปของคุณเช่นนั้น......คุณเช่นนั้นแกอธิบายในประเด็นนี้ไม่ได้ แกก็เลยหน้าตาย
เปลี่ยนเรื่องไปเรื่องขั้นเดียว คำนี้ตอนแรกอ่านแล้วก็งง ที่จริงมันต้องคั่นเดียวถึงจะถูก

สุดท้ายแกแกล้งลืมประเด็นที่ถกกันอยู่ชนิดหน้าตาเฉย ไปชักแม่น้ำทั้ง คัมภีร์โบราณเอย
ภาษาศาสตร์เอย ถามหน่อยเถอะ คัมภีร์หรือพระธรรมใบลาน มันเข้ากันได้กับภาษาศาสตร์หรือ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มิ.ย. 2016, 09:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ตามที่บอกว่าต้องยึดบาลีเป็นหลัก แล้วจึงจะไปพิจารณาเทียบเคียงกับพระสูตรแปลไทย
ซึ่งในที่นี้ผู้แปลเข้าใจผิดในสภาพธรรม ก็เลยแปลความหมายพุทธพจน์ผิดลู่ผิดธรรมครับ
ดูภาพประกอบ.............

รูปภาพ

การแปลจะต้องแปลบัญญัติหรือตัวหนังสือในกรอบสีน้ำตาลก่อนครับ

ติสโส ก็คือ ทั้งสามนั้น

โข โดยความหมายก็คือ สภาพแห่งธรรมณ.ขณะนั้น

อิมา ก็คือ เหล่านี้หรือเหล่านั้น

อัคคิเวสสนะ เป็น ชื่อของพราหมณ์


ความหมายของพูดโดยรวมก็คือ......"อัคคิเวสสนะ สภาพธรรมทั้งสามประการ เหล่านี้นั้น"

แล้วจึงตามด้วย.....

"๑. เวทนา สุขา

๒.เวทนา ทุกขา

๓.เวทนา อทุกขมสุขา
"

ส่วนที่มีต่อท้ายว่า เวทนา ฯ ท่านละหรือย่อ โดยความหมายก็คือ...."ธรรมที่กล่าวมาทั้งสามประการ มีเหตุปัจจัยมาจากเวทนา"
ที่ท่านละหรือย่อไว้โดยไม่กล่าว ก็เพราะมันยังมีเรื่อง ที่ต้องขยายความ(ธรรม)อีกเพื่อความเข้าใจ
ก็คือในส่วนของพระสูตรที่เหลือนั้นเอง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มิ.ย. 2016, 13:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




เช่น.jpg
เช่น.jpg [ 65.18 KiB | เปิดดู 3231 ครั้ง ]
อยากให้พิจารณาพระสูตรแปลไทยกับพระสูตรต้นฉบับที่เป็นบาลี
ท่านบัญญัติไว้เป็นบัญญัติที่แตกต่างกัน เป็นเพราะอะไร ถ้าไม่ใช่เพราะมันไม่ใช่อย่างเดียวกัน

ในส่วนแรกท่านบัญญํติว่า เวทนา สุขา เวทนา ทุกขา เวทนา อทุกขมสุขา

ในส่วนขยายความหรือส่วนที่สอง ท่านบัญญัติว่า
สุข เวทนานํ
ทุกฺข เวทนอทุกฺขมสุข เวทน

พิจารณาดูให้ดี จะเห็นว่าบาลีบัญญํติในส่วนต้นและในส่วยขยาย....มันไม่เหมือนกัน
แต่ในพระสูตรแปลไทย ท่านบัญญัติไว้เหมือนกันเด่ะ.....นี้แสดงให้เห็นถึงความไม่เข้าใจ
ของผู้แปลบาลี รวมถึงนกแก้วนกขุนทองแบบคุณเช่นนั้นด้วยครับ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มิ.ย. 2016, 14:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




คำอธิบาย: เวเทติ กิริยา
ก.jpg
ก.jpg [ 70.93 KiB | เปิดดู 3197 ครั้ง ]
โฮฮับ เขียน:
ในบาลีไม่มีลักษณะเป็นประโยค นั้นเพราะประโยคมีใช้แต่ในหลักภาษาไทย
ลักษณะภาษาบาลีเป็น คำหรือพยางค์ เท่านั้น เพราะมันเป็นภาษาพูด

ตามสบาย นะโฮฮับ ....
โฮฮับสบายใจ ที่จะอ่านแบบโฮฮับ ก็อ่านไป

สำหรับท่านที่ติดตามอ่าน มีความรู้บาลี
คงจะทราบว่า
สุขํ เวทนํ เวเทติ
ทุกขํ เวทนํ เวเทติ
อทุกฺขมสุขํ เวทนํ เวเทติ
V
เวเทติ เป็นคำกิริยาที่เป็นปัจจุบันกาล เพราะถูกแจกด้วยวัตตมานาวิภัตติ

จึงเป็นการแสดงบอกความรู้สึกในปัจจุบันขณะนั้น...
ขณะใดรู้สึกอยู่ซึ่งสุขเวทนา เป็นต้น.....

Quote Tipitaka:
[๒๗๓] อัคคิเวสสนะ เวทนาสามอย่างนี้ คือ สุขเวทนา ๑ ทุกขเวทนา ๑ อทุกขม
สุขเวทนา ๑. อัคคิเวสสนะ สมัยใดได้เสวยสุขเวทนา ในสมัยนั้นไม่ได้เสวยทุกขเวทนา ไม่
ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา ได้เสวยแต่สุขเวทนาเท่านั้น.
ในสมัยใดได้เสวยทุกขเวทนา ใน
สมัยนั้นไม่ได้เสวยสุขเวทนา ไม่ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา ได้เสวยแต่ทุกขเวทนาเท่านั้น. ใน
สมัยใดได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา ในสมัยนั้นไม่ได้เสวยสุขเวทนา ไม่ได้เสวยทุกขเวทนา ได้
เสวยแต่อทุกขมสุขเวทนาเท่านั้น.

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มิ.ย. 2016, 19:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
ในบาลีไม่มีลักษณะเป็นประโยค นั้นเพราะประโยคมีใช้แต่ในหลักภาษาไทย
ลักษณะภาษาบาลีเป็น คำหรือพยางค์ เท่านั้น เพราะมันเป็นภาษาพูด

ตามสบาย นะโฮฮับ ....
โฮฮับสบายใจ ที่จะอ่านแบบโฮฮับ ก็อ่านไป

สำหรับท่านที่ติดตามอ่าน มีความรู้บาลี
คงจะทราบว่า
สุขํ เวทนํ เวเทติ
ทุกขํ เวทนํ เวเทติ
อทุกฺขมสุขํ เวทนํ เวเทติ
V
เวเทติ เป็นคำกิริยาที่เป็นปัจจุบันกาล เพราะถูกแจกด้วยวัตตมานาวิภัตติ

จึงเป็นการแสดงบอกความรู้สึกในปัจจุบันขณะนั้น...
ขณะใดรู้สึกอยู่ซึ่งสุขเวทนา เป็นต้น.....


ในบาลีท่านกล่าวถึงธรรมในลักษณะสองกาล ท่านไม่ได้เน้นว่าอะไรเป็นปัจจุบัน
คำว่า "เวเทติ" หมายถึง..."รู้หรือรู้สึก" แต่เวเทติเป็นเพียงโวหาร ด้วยเหตุนี้มันจึงไม่ได้หมายถึงปัจจุบัน
ถ้าจะกล่าวถึง"ปัจจุบัน" จะต้องใช้พุทธบัญญัติว่า...วิญญาน

คำว่า"วิญญาน"เป็นพุทธพจน์แท้ๆ ที่หมายความถึง ลักษณะการรู้โดยปรมัตถธรรม

คำว่า "เวเทติ" เป็นเพียงโวหาร ที่กล่าวถึง สมมติที่เกิดจากการปรุงแต่ง

สุขํ เวทนํ เวเทติ
ทุกขํ เวทนํ เวเทติ
อทุกฺขมสุขํ เวทนํ เวเทติ

ทั้งสามนี่มีความหมายว่า ...ความรู้สึก สุขหรือทุกข์หรือเฉยๆ เกิดจากการยึดมั่นในเวทนา
แล้วจึงปรุงแต่ง เป็นความรู้สึกนั้น....นี่เป็นผลจาที่กายใจไม่อยู่กับปัจจุบัน
กายใจเกิดอุปาทานหลงไปปรุงแต่ง

ฉะนั้น " เวเทติ" จึงไม่เกี่ยวข้องกับปัจจุบันตามที่ เช่นนั้น มั่วครับ


โดยเนื้อแท้ของเวทนาแล้ว มีอย่างอย่างเดียวไม่ได้มี๓อย่างตามที่พระสูตรแปลไทยท่านมั่ว
และธรรมที่เรียกว่าเวทนานั้น เป็นองค์ธรรมในปฏิจสมุปบาท


ในบาลีท่านกล่าวไว้ว่า......
ติสฺโส โข อิมา อคฺคิเวสฺสน เวทนา สุขา เวทนา
ทุกฺขา เวทนา อทุกฺขมสุขา
เวทนา ฯ


เวทนาเป็นเหตุแห่งการปรุงแต่งได้สามธรรม....มันไม่ได้หมายถึงเวทนามีสาม
มีเพียงหนึ่งแต่เป็นต้นเหตุแห่งธรรม๓ประการ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มิ.ย. 2016, 19:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
ในบาลีไม่มีลักษณะเป็นประโยค นั้นเพราะประโยคมีใช้แต่ในหลักภาษาไทย
ลักษณะภาษาบาลีเป็น คำหรือพยางค์ เท่านั้น เพราะมันเป็นภาษาพูด

ตามสบาย นะโฮฮับ ....
โฮฮับสบายใจ ที่จะอ่านแบบโฮฮับ ก็อ่านไป

สำหรับท่านที่ติดตามอ่าน มีความรู้บาลี
คงจะทราบว่า
สุขํ เวทนํ เวเทติ
ทุกขํ เวทนํ เวเทติ
อทุกฺขมสุขํ เวทนํ เวเทติ
V
เวเทติ เป็นคำกิริยาที่เป็นปัจจุบันกาล เพราะถูกแจกด้วยวัตตมานาวิภัตติ

จึงเป็นการแสดงบอกความรู้สึกในปัจจุบันขณะนั้น...
ขณะใดรู้สึกอยู่ซึ่งสุขเวทนา เป็นต้น.....


ในบาลีท่านกล่าวถึงธรรมในลักษณะสองกาล ท่านไม่ได้เน้นว่าอะไรเป็นปัจจุบัน
คำว่า "เวเทติ" หมายถึง..."รู้หรือรู้สึก" แต่เวเทติเป็นเพียงโวหาร ด้วยเหตุนี้มันจึงไม่ได้หมายถึงปัจจุบัน
ถ้าจะกล่าวถึง"ปัจจุบัน" จะต้องใช้พุทธบัญญัติว่า...วิญญาน

คำว่า"วิญญาน"เป็นพุทธพจน์แท้ๆ ที่หมายความถึง ลักษณะการรู้โดยปรมัตถธรรม

คำว่า "เวเทติ" เป็นเพียงโวหาร ที่กล่าวถึง สมมติที่เกิดจากการปรุงแต่ง

สุขํ เวทนํ เวเทติ
ทุกขํ เวทนํ เวเทติ
อทุกฺขมสุขํ เวทนํ เวเทติ

ทั้งสามนี่มีความหมายว่า ...ความรู้สึก สุขหรือทุกข์หรือเฉยๆ เกิดจากการยึดมั่นในเวทนา
แล้วจึงปรุงแต่ง เป็นความรู้สึกนั้น....นี่เป็นผลจาที่กายใจไม่อยู่กับปัจจุบัน
กายใจเกิดอุปาทานหลงไปปรุงแต่ง

ฉะนั้น " เวเทติ" จึงไม่เกี่ยวข้องกับปัจจุบันตามที่ เช่นนั้น มั่วครับ


โดยเนื้อแท้ของเวทนาแล้ว มีอย่างอย่างเดียวไม่ได้มี๓อย่างตามที่พระสูตรแปลไทยท่านมั่ว
และธรรมที่เรียกว่าเวทนานั้น เป็นองค์ธรรมในปฏิจสมุปบาท


ในบาลีท่านกล่าวไว้ว่า......
ติสฺโส โข อิมา อคฺคิเวสฺสน เวทนา สุขา เวทนา
ทุกฺขา เวทนา อทุกฺขมสุขา
เวทนา ฯ


เวทนาเป็นเหตุแห่งการปรุงแต่งได้สามธรรม....มันไม่ได้หมายถึงเวทนามีสาม
มีเพียงหนึ่งแต่เป็นต้นเหตุแห่งธรรม๓ประการ

สนทนากับคนไม่รู้ภาษา คงต้องยุติเพียงเท่านี้ล่ะครับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 132 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร