วันเวลาปัจจุบัน 20 ก.ค. 2025, 02:15  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 246 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 10, 11, 12, 13, 14, 15, 16, 17  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2016, 07:11 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


แห่ม...ขาดสะบั้น..เลย

:b9: :b9:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2016, 07:12 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
asoka เขียน:
s004
เรื่องของทางสายกลางนั้นกรัชกายคงจะติดอยู่แค่ทางสายกลางตามตำราอยู่นั่นแหละคือไปยกปริยัติเรื่องมรรคมีองค์ 8 มาท่องสู่กันฟัง

แต่ทางสายกลางที่แท้จริงในภาคปฏิบัตินั้นมันคือช่วงระหว่างกลางความยินดียินร้าย อันเป็นหัวใจสำคัญของสติปัฏฐาน 4 นั่นเองถ้าใครที่เจริญสติปัญญารักษาใจให้อยู่ระหว่างกลางความยินดียินร้ายได้อยู่เสมอ นั่นคือเขากำลังเดินบนทางสายกลาง เมื่อกลางได้ดีอยูตลอดเวลาเขาจะได้ถึงกลางโดยสมบูรณ์คือสิ้นสุดความปรุงแต่งอยู่เป็นปกติ เมื่อถึงความเป็นกลางโดยสมบูรณ์เช่นนั้นแล้ว การสลัดคืนหรือการกลับสู่ธรรมชาติเดิมแท้ก็จะบังเกิดขึ้นกับผู้นั้น ทำให้เขาหลุดพ้นจากปัจจัยการชั่วนิรันดร์
onion


คุณอโสกะ....ชอบเอาแต่ผล...แล้วตีความจนนำสู่การปฏิบัติผิด..

อยู่กลางยินดีกับยินร้าย....พวกมิจฉาทิฏฐิ..ก็ทำได้

ยิ่งมาเห็นข้อความอโสกะที่ว่า.."ได้ถึงกลางโดยสมบูรณ์คือสิ้นสุดความปรุงแต่งอยู่เป็นปกติ"

ยิ่งเห็นรางๆ....เส้นทางของมิจฉาสติ..มิจฉาสมาธิ

ไม่มีมรรค....ก็ไม่มีผล

:b34:
กบเอ้ยกบ.........
พวกมิจฉาทิฏฐิ เขาก็ไม่สนใจจะมาเดินทางสายกลางแต่แรกอยู่แล้ว

สำคัญอยู่ที่พวกที่สำคัญตนผิดว่าเป็นสัมมาทิฏฐิเดินทางทางสายกลางอยู่แล้วไม่รู้ว่าเขาเดินภาคปฏิบัติกันจริงๆอย่างไร คอยแต่อ้างตำราค้นตำรามาคัดง้างกดข่มผู้อื่นด้วยวาทะ โวหารอันผิดๆของตน ช่างน่าสงสารแท้พวกพูดเป็นทำไม่เป็นนี่

:b7:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2016, 07:15 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
ด้วยวาทะ โวหารอันผิดๆของตน ช่างน่าสงสารแท้พวกพูดเป็นทำไม่เป็นนี่
:b7:


ใครหน่า..ชอบใช้โวหารของตน.. :b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2016, 07:16 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
s004
เรื่องของทางสายกลางนั้นกรัชกายคงจะติดอยู่แค่ทางสายกลางตามตำราอยู่นั่นแหละคือไปยกปริยัติเรื่องมรรคมีองค์ 8 มาท่องสู่กันฟัง

แต่ทางสายกลางที่แท้จริงในภาคปฏิบัตินั้นมันคือช่วงระหว่างกลางความยินดียินร้าย อันเป็นหัวใจสำคัญของสติปัฏฐาน 4 นั่นเองถ้าใครที่เจริญสติปัญญารักษาใจให้อยู่ระหว่างกลางความยินดียินร้ายได้อยู่เสมอ นั่นคือเขากำลังเดินบนทางสายกลาง เมื่อกลางได้ดีอยูตลอดเวลาเขาจะได้ถึงกลางโดยสมบูรณ์คือสิ้นสุดความปรุงแต่งอยู่เป็นปกติ เมื่อถึงความเป็นกลางโดยสมบูรณ์เช่นนั้นแล้ว การสลัดคืนหรือการกลับสู่ธรรมชาติเดิมแท้ก็จะบังเกิดขึ้นกับผู้นั้น ทำให้เขาหลุดพ้นจากปัจจัยการชั่วนิรันดร์
onion


กบนอกกะลา เขียน:
คุณอโสกะ....ชอบเอาแต่ผล...แล้วตีความจนนำสู่การปฏิบัติผิด..

อยู่กลางยินดีกับยินร้าย....พวกมิจฉาทิฏฐิ..ก็ทำได้

ยิ่งมาเห็นข้อความอโสกะที่ว่า.."ได้ถึงกลางโดยสมบูรณ์คือสิ้นสุดความปรุงแต่งอยู่เป็นปกติ"

ยิ่งเห็นรางๆ....เส้นทางของมิจฉาสติ..มิจฉาสมาธิ

ไม่มีมรรค....ก็ไม่มีผล


อยู่ระหว่าง...ยินดี..กับ..ยินร้าย..ได้

พวกมิจฉาทิฏฐิ..ก็ทำได้..


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2016, 08:21 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
คุณเอก้อนรู้ไหมว่าพระอรหันต์ท่านหลุดพ้นจากปัจจัยการ
หรือหักวงปฏิจจสมุปบาทขาดสะบั้นแล้ว

onion

ยังไม่เคยเจอคำสอนของ
องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
ที่กล่าวไว้ในทำนองที่ท่านอโศกว่า....

:b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2016, 09:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:


เรื่องของทางสายกลางนั้นกรัชกายคงจะติดอยู่แค่ทางสายกลางตามตำราอยู่นั่นแหละคือไปยกปริยัติเรื่องมรรคมีองค์ 8 มาท่องสู่กันฟัง

แต่ทางสายกลางที่แท้จริงในภาคปฏิบัตินั้นมันคือช่วงระหว่างกลางความยินดียินร้าย อันเป็นหัวใจสำคัญของสติปัฏฐาน 4 นั่นเองถ้าใครที่เจริญสติปัญญารักษาใจให้อยู่ระหว่างกลางความยินดียินร้ายได้อยู่เสมอ นั่นคือเขากำลังเดินบนทางสายกลาง เมื่อกลางได้ดีอยูตลอดเวลาเขาจะได้ถึงกลางโดยสมบูรณ์คือสิ้นสุดความปรุงแต่งอยู่เป็นปกติ เมื่อถึงความเป็นกลางโดยสมบูรณ์เช่นนั้นแล้ว การสลัดคืนหรือการกลับสู่ธรรมชาติเดิมแท้ก็จะบังเกิดขึ้นกับผู้นั้น ทำให้เขาหลุดพ้นจากปัจจัยการชั่วนิรันดร์


แน่ะๆ หลบมาสติปัฏฐาน 4 อีกแระ

ตกลงจะเอาอะไรแน่นะ เดี๋ยวมีกลั้นหายใจ เดี๋ยวอริยสัจ 4 เดี๋ยวไปอานาปานสติ 16 ขั้น

อ้างสติปัฏฐานดีนัก ไหนบอกสิ ภาคปฏิบัติสติปัฏฐาน 4 ทำยังไง :b10:

:b12:
"วิเนยยะโลเก อภิชฌา โทมนัสสัง"เอาออกเสียให้ได้ซึ่งความยินดียินร้ายในโลก(โลกย์) โลกในที่นี่คือผัสสะทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ


ทั้ง 4 ฐานล้วนมารวมลงให้ทำงานอย่างเดียวกันตรงนี้ กรัชกาย กบ และท่านเช่นนั้นเข้าใจและเห็นประเด็นสำคัญของสติปัฏฐานตรงนี้หรือเปล่า
s006


อ้างคำพูด:
วิเนยยะโลเก อภิชฌา โทมนัสสัง


เอาออกยังไง ประเด็นอยู่ตรงนี้

ความยินดียินร้าย ที่ท่านอโศกอ้างอิง เป็นนามธรรม จับต้องไม่ได้ ต่างจากรูปธรรม เช่น ขวดเหล้าขวดเบียร์ คิกๆๆ เอ้าจริงๆ จะได้ยกไปตั้งตรงนั้นตรงนี้ได้ดังใจปรารถนา

ต่อให้เป็นรูปธรรม สัมผัสจับต้องได้ก็เถอะ บางทีถือเดินไปๆ สะดุดขาตัวเอง หกล้มขวดแตกนะท่านอโศก :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2016, 09:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:


เรื่องของทางสายกลางนั้นกรัชกายคงจะติดอยู่แค่ทางสายกลางตามตำราอยู่นั่นแหละคือไปยกปริยัติเรื่องมรรคมีองค์ 8 มาท่องสู่กันฟัง

แต่ทางสายกลางที่แท้จริงในภาคปฏิบัตินั้นมันคือช่วงระหว่างกลางความยินดียินร้าย อันเป็นหัวใจสำคัญของสติปัฏฐาน 4 นั่นเองถ้าใครที่เจริญสติปัญญารักษาใจให้อยู่ระหว่างกลางความยินดียินร้ายได้อยู่เสมอ นั่นคือเขากำลังเดินบนทางสายกลาง เมื่อกลางได้ดีอยูตลอดเวลาเขาจะได้ถึงกลางโดยสมบูรณ์คือสิ้นสุดความปรุงแต่งอยู่เป็นปกติ เมื่อถึงความเป็นกลางโดยสมบูรณ์เช่นนั้นแล้ว การสลัดคืนหรือการกลับสู่ธรรมชาติเดิมแท้ก็จะบังเกิดขึ้นกับผู้นั้น ทำให้เขาหลุดพ้นจากปัจจัยการชั่วนิรันดร์


แน่ะๆ หลบมาสติปัฏฐาน 4 อีกแระ

ตกลงจะเอาอะไรแน่นะ เดี๋ยวมีกลั้นหายใจ เดี๋ยวอริยสัจ 4 เดี๋ยวไปอานาปานสติ 16 ขั้น

อ้างสติปัฏฐานดีนัก ไหนบอกสิ ภาคปฏิบัติสติปัฏฐาน 4 ทำยังไง :b10:


"วิเนยยะโลเก อภิชฌา โทมนัสสัง"เอาออกเสียให้ได้ซึ่งความยินดียินร้ายในโลก(โลกย์) โลกในที่นี่คือผัสสะทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ


ทั้ง 4 ฐานล้วนมารวมลงให้ทำงานอย่างเดียวกันตรงนี้ กรัชกาย กบ และท่านเช่นนั้นเข้าใจและเห็นประเด็นสำคัญของสติปัฏฐานตรงนี้หรือเปล่า


ยังไม่เห็นท่านอโศกบอกวิธีทำเลย เพียงแต่ยกเอาศัพท์มาแล้วก็มโนอย่างที่เห็น

ถามนี่หน่อยอะไร

อ้างคำพูด:
โลกในที่นี่ คือ ผัสสะทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ



ผัสสะ ทางตา เป็นต้น ทำยังไง เอาชัดๆ

อย่าบอกนะ เอาไม้เสียบลูกชิ้นจิ้มตา :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2016, 11:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:


แต่ทางสายกลางที่แท้จริงในภาคปฏิบัตินั้นมันคือช่วงระหว่างกลางความยินดียินร้าย อันเป็นหัวใจสำคัญของสติปัฏฐาน 4 นั่นเองถ้าใครที่เจริญสติปัญญารักษาใจให้อยู่ระหว่างกลางความยินดียินร้ายได้อยู่เสมอ นั่นคือเขากำลังเดินบนทางสายกลาง เมื่อกลางได้ดีอยูตลอดเวลาเขาจะได้ถึงกลางโดยสมบูรณ์คือสิ้นสุดความปรุงแต่งอยู่เป็นปกติ เมื่อถึงความเป็นกลางโดยสมบูรณ์เช่นนั้นแล้ว การสลัดคืนหรือการกลับสู่ธรรมชาติเดิมแท้ก็จะบังเกิดขึ้นกับผู้นั้น ทำให้เขาหลุดพ้นจากปัจจัยการชั่วนิรันดร์


"วิเนยยะโลเก อภิชฌา โทมนัสสัง"เอาออกเสียให้ได้ซึ่งความยินดียินร้ายในโลก(โลกย์) โลกในที่นี่คือผัสสะทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ


ทั้ง 4 ฐานล้วนมารวมลงให้ทำงานอย่างเดียวกันตรงนี้ กรัชกาย กบ และท่านเช่นนั้นเข้าใจและเห็นประเด็นสำคัญของสติปัฏฐานตรงนี้หรือเปล่า

อภิชฌา โทมนัส ความยินดีความยินร้ายซึ่งเป็นอารมณ์ของกิเลส เป็นอกุศล
ช่วงระหว่างกลางอกุศล เป็นกุศลหรืออกุศล?
ไปจำจากไหนมาอีก อโศกะ
มรรคมีองค์ 8 เป็นกุศล เพื่อละอกุศลทั้งมวล ไม่ใช่ให้มาเดินตรงกลางของอกุศล

ลงท้ายก็จำมาจากไหน หลุดพ้นจากปัจจัยการชั่วนิรันดร์ : หมายความว่าพอสำเร็จวิชาตามที่อโสกะแสดงมาก็ตายและเข้าอนุปาทิเสสนิพพานธาตุทันที?

เช่นนั้น ไม่เข้าใจตามอโศกะด้วยหรอกนะ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2016, 15:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


พูดนะพูดได้ .... ฉันไม่ยินดี (ต่ออิฏฐารมณ์ - อารมณ์ที่น่าปรารถนา)

ฉันไม่ยินร้าย (ต่ออนิฏฐารมณ์ - อารมณ์ที่ไม่น่าปราถนา) แต่เวลาประสบกับอารมณ์ทางตา ทางหู ทางจมูกเป็นต้นเข้าจริงๆ ยังไม่ทันตั้งนะโมเลย :b32: ความยินดี ยินร้ายเอาไปกินสะแระ :b1:

เห็นรูปปุ๊บ ไปแระ รู้สึกยินดี ยินร้ายเอาไปกินสะแระ

ได้ยินเสียงปุ๊บ ไปแระ รู้สึกยินดี ยินร้ายไปแระ

ได้กลิ่นปุ๊บ รู้สึกชอบ ไม่ชอบไปแระ นี่เป็นวิสัยของปุถุชนซึ่งเป็นไปโดยไม่รู้ตัวเลย

ทั้งๆที่ตั้งท่ามาจากบ้านนะว่า เออๆ ฉันเห็นอะไร ได้ยินเสียงอะไร ได้กลิ่นอะไร จะไม่ยินดี ไม่ยินร้าย กับมัน จะให้จิตอยู่ตรงกลางระหว่างความยินดี กับ ยินร้าย

จะให้แน่ ผู้นั้นต้องผ่านประสบการณ์จริง แล้วจะรู้ ว่าพูด กับ ทำ ต่างกัน


ดูตัวอย่างยินดี กับ ยินร้าย


อ้างคำพูด:
การนั่งสมาธิครั้งนี้ ผมสามารถรับรู้ลมหายใจได้ตลอดสายเป็นเวลานาน

กำหนดแค่ครั้งเดียวเท่านั้น จากนั้นผมก็รู้สึกเหมือนกายผมขยายตามที่กำหนดแผ่เมตตาไปด้วย รู้สึกว่ากายขยายไปทุกทิศ

จนรู้สึกว่ากายหายไป เวลานี้ ความรู้สึกของเราเหมือนจุ่มอยู่ในปีติ มีแต่ความสุขไปหมด

จากนั้นผมก็คิดขึ้นมาว่า

"มีความสุขขนาดนี้ในโลกด้วยหรือ ความสุขนี้ดีกว่าความสุขในโลกที่เราเคยพบมาทั้งหมด โอ ... ความสุขนี้แค่นั่งก็ได้แล้ว คนทั้งโลก มัวแต่วุ่นวายทำอะไรกันอยู่ บางคนทำทุจริตต่างๆ เพื่อหาเงินมาสนองความสุขตน ทำไปทำไมนะ มันเทียบกับความสุขที่เกิดจากความสงบนี้ไม่ได้เลย ความสุขนี้ไม่ต้องไขว่คว้ามาก อยู่กับตัวเองแท้ๆ คนในโลกกลับไม่รู้"


จากนั้น ผมก็สังเกตลมหายใจ ก็รู้สึกว่าลมหายใจตอนนี้มันละเอียดมาก ถึงค่อยเข้าใจคำว่าลมหายใจหยาบ ลมหายใจละเอียดว่าเป็นยังไง ก่อนหน้านี้เข้าใจว่าคือลมหายใจแรงๆเบาๆซะอีก :)

ความรู้สึกจากการเกิดสมาธิครั้งแรกนี้มันเหมือนจุ่มค้างอยู่ปีติอยู่ แต่ไม่เห็นนิมิตอะไรทั้งสิ้นเลยนะครับ แต่รู้สึกจิตเวลานี้ไม่มีนิวรณ์เลย คือมีความรู้พร้อมอยู่

จากนั้น ผมก็รู้สึกยินดีกับสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วคิดไปเรื่อยว่า

"นี่คือปฐมฌานหรือเปล่านี่ ปฐมฌานเกิดกับเราหรือ"

จนจิตเริ่มไม่เป็นสมาธิ เริ่มปั่นป่วน หลังจากนั้นก็ได้ยินเสียงห้องข้างๆตะโกนเสียงดัง ผมก็เลยหลุดออกมาจากสภาวะนั้น




ตย. ยินร้าย


อ้างคำพูด:
ผมก็นั่งตามลมหายใจพุทโธไป

วันแรกๆก็ไม่เป็นอะไร พอวันที่สามนั่งไปซักพักประมาณสิบนาทีเริ่มมีอาการเหวี่ยงแบบเหวี่ยงหมุนจน เวียนหัวจึงนั่งต่อไม่ได้ลืมตาขึ้นมานั่งดูพระรูปอื่น

เป็นอย่างนี้อยู่เกือบตลอด กลับมาที่กุฏิก่อนจะจำวัดก็นั่งก็เป็นอีก
จนมาถามพระพี่เลี้ยงท่านบอกเหมือนจิตกำลังจะได้เข้าสู่ความสงบให้ผ่านจุดนี้ไปให้ได้ แต่มันก็ได้แบบแปปๆแล้วก็หมุนอีกหมุนอีก

จนลาสิกขามาก็เริ่มมาหาอ่านเองจนได้อ่านบันทึกกรรมฐานของเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช ให้พิจารณา กาย เวทนา จิต ธรรม

คราวนี้ก็ทำตามหนังสือ หายใจตอนแรกก็ยาว ก็ตามไปซักพัก เริ่มพิจารณาตามสติปัฏฐาน คราวนี้หมุนเร็วเลย หมุนแรงมาก จนรู้สึกจะอาเจียนเลย

ผมก็พิจารณาว่าเป็นทุกขเวทนา ก็ดีขึ้นแปปก็หมุนอีกเรื่อยๆ จนตอนนี้ยังแก้ไม่ได้เลยครับ ไม่รู้ว่าจะทำยังไง ล่าสุดเมื่อคืนหมุนจนจะอ้วก จนถอนสมาธิออกมา ยังมีอาการเวียนหัวจะอ้วกมาอีกซักสิบห้านาทีค่อยดีขึ้น

คำถามครับ

1. ผมควรแก้ปัญหานี้ยังไงดี ฝืนนั่งไปเรื่อยๆจนหายหรือต้องกำหนดอะไรยังไง

2. จุดมุ่งหมายจริงๆ คือวิปัสสนากรรมฐานคืออะไรครับ ไม่ได้โอ้อวดว่าตัวเองเก่งนะครับ พอดีผมเรียนแพทย์ เลยเข้าใจพวกสรีระร่างกายมนุษย์อยู่แล้ว เมื่อมาเรียนรู้ทางธรรมพิจารณาตามขันธ์ 5 ก็เข้าใจว่ามันไม่ได้มีตัวตนจริงๆของเรา เหมือนเท่าที่อ่านการฝึกวิปัสสนาทำให้เราเข้าใจว่าทุกอย่างมีเกิดดับของมัน เป็นธรรมดา ไม่ให้เรายึดติด แต่ถ้าผมอ่านแล้วเข้าใจแล้วจะทำไปเพื่ออะไร

หรือว่าให้จิตเราแข็งแกร่ง จะได้มีสติรู้เท่าทันทุกการกระทำ หลังสึกออกมาทุกวันนี้ เวลาจะโกรธใครก็เหมือนมีสติมาห้ามทัน แต่ก็ยังมีหลุดบ้าง ซึ่งก่อนหน้านี้จะตอบโต้แทบจะทันทีเพราะเป็นคนใจร้อน



เป็น นศ.แพทย์นะ :b1: เขาก็รู้ขันธ์ 5 เหมือนอย่าง สมช.ลานธรรมจักรรู้นี่ล่ะ เป็นไงเจอะของจริงแล้ว ถึงกับไปไม่เป็น

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 มิ.ย. 2016, 06:52 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
asoka เขียน:
คุณเอก้อนรู้ไหมว่าพระอรหันต์ท่านหลุดพ้นจากปัจจัยการ
หรือหักวงปฏิจจสมุปบาทขาดสะบั้นแล้ว

onion

ยังไม่เคยเจอคำสอนของ
องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
ที่กล่าวไว้ในทำนองที่ท่านอโศกว่า....

:b1:

:b12:
คุณเอก้อนมัวแต่ยึดตำราแต่ไม่ยึดธรรมจึงไม่เห็นคำสอนดังแสดงในตำรา

แต่มีธรรมที่เหมือนดั่งคำสอนในตำราอีกมากมายที่พระบรมศาสดามิได้ทรงตรัสไว้แต่มันมีอยู่จริงในธรรมชาติสิ่งนั้นคือ สัจจธรรม

อย่างเช่นโลกกลม น้ำย่อมไหลจากที่สูงไปสู่ที่ต่ำเป็นธรรมดา คนกินพริกย่อมรู้จักรสเผ็ดเอง

กรณีของปัจจัยการหรือปฏิจจสมุปบาท ตัณหาดับ ทุกสิ่งก็ดับตาม อวิชชาดับทุกสิ่งก็ดับตามเป็นโดมิโน่ ผมถึงบอกว่าวงเวียนแห่งปฏิจจสมุปบาทขาดสะบั้นเพราะมันไม่หมุนต่อไม่ต่อเชื่อมดังเดิมในใจของพระอรหันต์หรือพระอริยบุคคลทั้งหลาย

"ทุกสิ่งย่อมเป็นไปตามกฎของเหตุและผล"

คำนี้ไม่มีในบาลีดำรัส แต่มันตรงกับพุทธดำรัส ที่ว่าเยธัมมาเหตุปัพพวา........ดังนี้เป็นต้น

หลวงปู่ดุลย์พูดไว้ว่า "หยุดคิดถึงรู้ แต่จะรู้ก็ต้องคิด" นี่ก็เป็นโฉลกธรรมสอนวิธีเข้าถึงธรรม ไม่ใช่พุทธพจน์ในตำรา แต่ก็เป็นธรรมเพื่อให้ถึงธรรมที่พูดออกมาจากจิตที่ถึงธรรมแล้ว ดังนี้เป็นต้น

"ธรรมะที่หลั่งไหลออกมาจากจิตที่ถึงธรรมแล้วแม้ไม่เหมือนอย่างที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสดังมีในตำรา แต่ สัจจธรรมมันเป็นอันเดียวกัน"

:b12:
"โปรดอย่ายึดอ้างแต่สิ่งที่เหมือนในตำราว่าใช่แต่เพียงอย่างเดียว จงยึดอ้างจากธรรมที่มีอยู่ปรากฏอยู่แท้ๆซึ่งก็เป็นไปตามหลักธรรมในตำรา แต่บัญญัติ ภาษา สมมุติที่ใช้เรียกไม่ตรงกันเท่านั้นเอง"

"พึงเอาธรรมเป็นหลัก อย่าเอาบัญญัติภาษาเป็นหลัก"
:b38:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 มิ.ย. 2016, 07:12 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว




ทางออกสู่นิพพาน2_resize.jpg
ทางออกสู่นิพพาน2_resize.jpg [ 41.02 KiB | เปิดดู 1219 ครั้ง ]
เช่นนั้น เขียน:
asoka เขียน:


แต่ทางสายกลางที่แท้จริงในภาคปฏิบัตินั้นมันคือช่วงระหว่างกลางความยินดียินร้าย อันเป็นหัวใจสำคัญของสติปัฏฐาน 4 นั่นเองถ้าใครที่เจริญสติปัญญารักษาใจให้อยู่ระหว่างกลางความยินดียินร้ายได้อยู่เสมอ นั่นคือเขากำลังเดินบนทางสายกลาง เมื่อกลางได้ดีอยูตลอดเวลาเขาจะได้ถึงกลางโดยสมบูรณ์คือสิ้นสุดความปรุงแต่งอยู่เป็นปกติ เมื่อถึงความเป็นกลางโดยสมบูรณ์เช่นนั้นแล้ว การสลัดคืนหรือการกลับสู่ธรรมชาติเดิมแท้ก็จะบังเกิดขึ้นกับผู้นั้น ทำให้เขาหลุดพ้นจากปัจจัยการชั่วนิรันดร์


"วิเนยยะโลเก อภิชฌา โทมนัสสัง"เอาออกเสียให้ได้ซึ่งความยินดียินร้ายในโลก(โลกย์) โลกในที่นี่คือผัสสะทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ


ทั้ง 4 ฐานล้วนมารวมลงให้ทำงานอย่างเดียวกันตรงนี้ กรัชกาย กบ และท่านเช่นนั้นเข้าใจและเห็นประเด็นสำคัญของสติปัฏฐานตรงนี้หรือเปล่า

อภิชฌา โทมนัส ความยินดีความยินร้ายซึ่งเป็นอารมณ์ของกิเลส เป็นอกุศล
ช่วงระหว่างกลางอกุศล เป็นกุศลหรืออกุศล?
ไปจำจากไหนมาอีก อโศกะ
มรรคมีองค์ 8 เป็นกุศล เพื่อละอกุศลทั้งมวล ไม่ใช่ให้มาเดินตรงกลางของอกุศล

ลงท้ายก็จำมาจากไหน หลุดพ้นจากปัจจัยการชั่วนิรันดร์ : หมายความว่าพอสำเร็จวิชาตามที่อโสกะแสดงมาก็ตายและเข้าอนุปาทิเสสนิพพานธาตุทันที?

เช่นนั้น ไม่เข้าใจตามอโศกะด้วยหรอกนะ

:b12:
อนุโมทนากับความสงสัยของคุณเช่นนั้น

คุณเช่นนั้นลองคิดพิจารณาว่าทำไมพระพุทธเจ้าจึงทรงสอนไว้ในสติปัฏฐาน 4 ถึงแค่ "วิเนยยะ โลเก อภิชฌา โทมนัสสัง"
ไม่คิดวิเคราะห์ต่อไปอีกสักหน่อยหรือว่าที่เหลือต่อจากนั้นมันจะเป็นเรื่องของธรรมที่ต้องรู้ด้วยภาวนามยปัญญาซึ่งพระบรมศาสทรงทิ้งไว้ให้เราค้นคว้าและประสบการณ์เองด้วยการทำจริง

ลองคิดต่อตามหลักธรรมสิ ถ้า ยินดียินร้ายไม่มี อะไรจะเกิดขึ้นมาแทน

อุเบกขาเวทนาใช่ไหม เป็นกุศลหรืออกุศลธรรมล่ะ

เมื่อเกิดอุเบกขาเวทนาอยู่บ่อยๆกับผัสสะทั้งปวง อะไรจะเกิดขึ้น อกรรมิริยาใช่ไหม? คือไม่มีกรรมทั้งใจ วาจา กาย เกิดขึ้น
กายใจไม่มีกิจกรรมไม่มีงาน ปกติ (ศีล)ก็จะเกิดขึ้นมาแทนอุเบกขาใช่หรือไม่

ปกติของปุถุชนกับปกติของผู้ฝึกฝนเจริญสติปัฏฐาน 4 นั้นต่างกันลิบลับเพราะอันหนึ่งไม่เป็นเหตุนิพพาน แต่อีกอันหนึ่งเป็นเหตุนิพพานเป็นผลของการเจริญวิปัสสนาภาวนา

onion
ทิ้งไว้แค่นี้ให้คุณเช่นนั้นคิดพิจารณาต่อ ค้นหาให้เจอความลึกซึ้งวิจิตรพิสดารของสติปัฏฐาน 4 ในเชิงปฏิบัตินะครับคุณเช่นนั้นและทุกๆท่าน จะเป็นการช่วยให้ภพชาติของทุกคนลดลงอย่างรวดเร็วจนหมดสิ้น จนวงปฏิจจสมุปบาทขาดสะบั้นทันในปัจจุบันชาตินี้
:b8:
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 มิ.ย. 2016, 07:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


"ธรรมๆๆๆๆๆๆๆๆ" ใครๆก็ว่าก็อ้างธรรมๆๆ อะไรๆก็ธรรม ถ้าถามว่าอะไร "ธรรม" อึ ส่ายหน้าเป็นพัดลมเชีย

นี่สิธรรม (สภาวธรรม) แต่ตำราไม่ระบุไว้ตรงๆ


อ้างคำพูด:
ผมก็นั่งตามลมหายใจพุทโธไป

วันแรกๆก็ไม่เป็นอะไร พอวันที่สามนั่งไปซักพักประมาณสิบนาทีเริ่มมีอาการเหวี่ยงแบบเหวี่ยงหมุนจน เวียนหัวจึงนั่งต่อไม่ได้ลืมตาขึ้นมานั่งดูพระรูปอื่น

เป็นอย่างนี้อยู่เกือบตลอด กลับมาที่กุฏิก่อนจะจำวัดก็นั่งก็เป็นอีก
จนมาถามพระพี่เลี้ยงท่านบอกเหมือนจิตกำลังจะได้เข้าสู่ความสงบให้ผ่านจุดนี้ไปให้ได้ แต่มันก็ได้แบบแปปๆแล้วก็หมุนอีกหมุนอีก

จนลาสิกขามาก็เริ่มมาหาอ่านเองจนได้อ่านบันทึกกรรมฐานของเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช ให้พิจารณา กาย เวทนา จิต ธรรม

คราวนี้ก็ทำตามหนังสือ หายใจตอนแรกก็ยาว ก็ตามไปซักพัก เริ่มพิจารณาตามสติปัฏฐาน คราวนี้หมุนเร็วเลย หมุนแรงมาก จนรู้สึกจะอาเจียนเลย

ผมก็พิจารณาว่าเป็นทุกขเวทนา ก็ดีขึ้นแปปก็หมุนอีกเรื่อยๆ จนตอนนี้ยังแก้ไม่ได้เลยครับ ไม่รู้ว่าจะทำยังไง ล่าสุดเมื่อคืนหมุนจนจะอ้วก จนถอนสมาธิออกมา ยังมีอาการเวียนหัวจะอ้วกมาอีกซักสิบห้านาทีค่อยดีขึ้น

คำถามครับ

1. ผมควรแก้ปัญหานี้ยังไงดี ฝืนนั่งไปเรื่อยๆจนหายหรือต้องกำหนดอะไรยังไง

2. จุดมุ่งหมายจริงๆ คือวิปัสสนากรรมฐานคืออะไรครับ ไม่ได้โอ้อวดว่าตัวเองเก่งนะครับ พอดีผมเรียนแพทย์ เลยเข้าใจพวกสรีระร่างกายมนุษย์อยู่แล้ว เมื่อมาเรียนรู้ทางธรรมพิจารณาตามขันธ์ 5 ก็เข้าใจว่ามันไม่ได้มีตัวตนจริงๆของเรา เหมือนเท่าที่อ่านการฝึกวิปัสสนาทำให้เราเข้าใจว่าทุกอย่างมีเกิดดับของมัน เป็นธรรมดา ไม่ให้เรายึดติด แต่ถ้าผมอ่านแล้วเข้าใจแล้วจะทำไปเพื่ออะไร

หรือว่าให้จิตเราแข็งแกร่ง จะได้มีสติรู้เท่าทันทุกการกระทำ หลังสึกออกมาทุกวันนี้ เวลาจะโกรธใครก็เหมือนมีสติมาห้ามทัน แต่ก็ยังมีหลุดบ้าง ซึ่งก่อนหน้านี้จะตอบโต้แทบจะทันทีเพราะเป็นคนใจร้อน


แต่พอเทียบกันได้รูปนามเป็นไปตามเหตุปัจจัยของมัน โยคีพึงกำหนดรู้ตามที่มันเป็น

รู้สึกหมุน ก็ "หมุนหนอๆๆๆๆ"

รู้สึกจะอ้วก ก็ว่าในใจตามที่รู้สึก "จะอ้วกหนอๆๆๆ" เมื่อกำหนดตามจริงแล้ว มันจะอ้วกก็ให้มันอ้วก ออกมา อย่าฝืน แต่ให้รู้ตามที่มันเป็น

นี่สิท่านอโศกภาคปฏิบัติ ไม่ใช่พูดเอาดีเอาอร่อย คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 มิ.ย. 2016, 07:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
asoka เขียน:


แต่ทางสายกลางที่แท้จริงในภาคปฏิบัตินั้นมันคือช่วงระหว่างกลางความยินดียินร้าย อันเป็นหัวใจสำคัญของสติปัฏฐาน 4 นั่นเองถ้าใครที่เจริญสติปัญญารักษาใจให้อยู่ระหว่างกลางความยินดียินร้ายได้อยู่เสมอ นั่นคือเขากำลังเดินบนทางสายกลาง เมื่อกลางได้ดีอยูตลอดเวลาเขาจะได้ถึงกลางโดยสมบูรณ์คือสิ้นสุดความปรุงแต่งอยู่เป็นปกติ เมื่อถึงความเป็นกลางโดยสมบูรณ์เช่นนั้นแล้ว การสลัดคืนหรือการกลับสู่ธรรมชาติเดิมแท้ก็จะบังเกิดขึ้นกับผู้นั้น ทำให้เขาหลุดพ้นจากปัจจัยการชั่วนิรันดร์


"วิเนยยะโลเก อภิชฌา โทมนัสสัง"เอาออกเสียให้ได้ซึ่งความยินดียินร้ายในโลก(โลกย์) โลกในที่นี่คือผัสสะทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ


ทั้ง 4 ฐานล้วนมารวมลงให้ทำงานอย่างเดียวกันตรงนี้ กรัชกาย กบ และท่านเช่นนั้นเข้าใจและเห็นประเด็นสำคัญของสติปัฏฐานตรงนี้หรือเปล่า

อภิชฌา โทมนัส ความยินดีความยินร้ายซึ่งเป็นอารมณ์ของกิเลส เป็นอกุศล
ช่วงระหว่างกลางอกุศล เป็นกุศลหรืออกุศล?
ไปจำจากไหนมาอีก อโศกะ
มรรคมีองค์ 8 เป็นกุศล เพื่อละอกุศลทั้งมวล ไม่ใช่ให้มาเดินตรงกลางของอกุศล

ลงท้ายก็จำมาจากไหน หลุดพ้นจากปัจจัยการชั่วนิรันดร์ : หมายความว่าพอสำเร็จวิชาตามที่อโสกะแสดงมาก็ตายและเข้าอนุปาทิเสสนิพพานธาตุทันที?

เช่นนั้น ไม่เข้าใจตามอโศกะด้วยหรอกนะ

:b12:
อนุโมทนากับความสงสัยของคุณเช่นนั้น

คุณเช่นนั้นลองคิดพิจารณาว่าทำไมพระพุทธเจ้าจึงทรงสอนไว้ในสติปัฏฐาน 4 ถึงแค่ "วิเนยยะ โลเก อภิชฌา โทมนัสสัง"
ไม่คิดวิเคราะห์ต่อไปอีกสักหน่อยหรือว่าที่เหลือต่อจากนั้นมันจะเป็นเรื่องของธรรมที่ต้องรู้ด้วยภาวนามยปัญญาซึ่งพระบรมศาสทรงทิ้งไว้ให้เราค้นคว้าและประสบการณ์เองด้วยการทำจริง

ลองคิดต่อตามหลักธรรมสิ ถ้า ยินดียินร้ายไม่มี อะไรจะเกิดขึ้นมาแทน

อุเบกขาเวทนาใช่ไหม เป็นกุศลหรืออกุศลธรรมล่ะ

เมื่อเกิดอุเบกขาเวทนาอยู่บ่อยๆกับผัสสะทั้งปวง อะไรจะเกิดขึ้น อกรรมิริยาใช่ไหม? คือไม่มีกรรมทั้งใจ วาจา กาย เกิดขึ้น
กายใจไม่มีกิจกรรมไม่มีงาน ปกติ (ศีล)ก็จะเกิดขึ้นมาแทนอุเบกขาใช่หรือไม่

ปกติของปุถุชนกับปกติของผู้ฝึกฝน[color=#FF0000]เจริญสติปัฏฐาน 4
นั้นต่างกันลิบลับเพราะอันหนึ่งไม่เป็นเหตุนิพพาน แต่อีกอันหนึ่งเป็นเหตุนิพพานเป็นผลของการเจริญวิปัสสนาภาวนา
[/color]
onion
ทิ้งไว้แค่นี้ให้คุณเช่นนั้นคิดพิจารณาต่อ [color=#FF0000]ค้นหาให้เจอความลึกซึ้งวิจิตรพิสดารของสติปัฏฐาน 4 ในเชิงปฏิบัตินะครับคุณเช่นนั้นและทุกๆท่าน จะเป็นการช่วยให้ภพชาติของทุกคนลดลงอย่างรวดเร็วจนหมดสิ้น จนวงปฏิจจสมุปบาทขาดสะบั้นทันในปัจจุบันชาตินี้[/color]
:b8:



ท่านอโศก อ้างสติปัฏฐาน 4 อีก ทำอย่างกะลูกคนมีสี มีเส้น เอะอะก็อ้าง อ้างพ่อกูเป็นทหาร ตำรวจนะเฟ้ยเอ้ย เพื่อเอาตัวรอด

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 12 มิ.ย. 2016, 07:28, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 มิ.ย. 2016, 07:28 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว




คน 5 จำพวก_resize_resize.jpg
คน 5 จำพวก_resize_resize.jpg [ 41.23 KiB | เปิดดู 1217 ครั้ง ]
กรัชกาย เขียน:
พูดนะพูดได้ .... ฉันไม่ยินดี (ต่ออิฏฐารมณ์ - อารมณ์ที่น่าปรารถนา)

ฉันไม่ยินร้าย (ต่ออนิฏฐารมณ์ - อารมณ์ที่ไม่น่าปราถนา) แต่เวลาประสบกับอารมณ์ทางตา ทางหู ทางจมูกเป็นต้นเข้าจริงๆ ยังไม่ทันตั้งนะโมเลย :b32: ความยินดี ยินร้ายเอาไปกินสะแระ :b1:

เห็นรูปปุ๊บ ไปแระ รู้สึกยินดี ยินร้ายเอาไปกินสะแระ

ได้ยินเสียงปุ๊บ ไปแระ รู้สึกยินดี ยินร้ายไปแระ

ได้กลิ่นปุ๊บ รู้สึกชอบ ไม่ชอบไปแระ นี่เป็นวิสัยของปุถุชนซึ่งเป็นไปโดยไม่รู้ตัวเลย

ทั้งๆที่ตั้งท่ามาจากบ้านนะว่า เออๆ ฉันเห็นอะไร ได้ยินเสียงอะไร ได้กลิ่นอะไร จะไม่ยินดี ไม่ยินร้าย กับมัน จะให้จิตอยู่ตรงกลางระหว่างความยินดี กับ ยินร้าย

จะให้แน่ ผู้นั้นต้องผ่านประสบการณ์จริง แล้วจะรู้ ว่าพูด กับ ทำ ต่างกัน


ดูตัวอย่างยินดี กับ ยินร้าย


อ้างคำพูด:
การนั่งสมาธิครั้งนี้ ผมสามารถรับรู้ลมหายใจได้ตลอดสายเป็นเวลานาน

กำหนดแค่ครั้งเดียวเท่านั้น จากนั้นผมก็รู้สึกเหมือนกายผมขยายตามที่กำหนดแผ่เมตตาไปด้วย รู้สึกว่ากายขยายไปทุกทิศ

จนรู้สึกว่ากายหายไป เวลานี้ ความรู้สึกของเราเหมือนจุ่มอยู่ในปีติ มีแต่ความสุขไปหมด

จากนั้นผมก็คิดขึ้นมาว่า

"มีความสุขขนาดนี้ในโลกด้วยหรือ ความสุขนี้ดีกว่าความสุขในโลกที่เราเคยพบมาทั้งหมด โอ ... ความสุขนี้แค่นั่งก็ได้แล้ว คนทั้งโลก มัวแต่วุ่นวายทำอะไรกันอยู่ บางคนทำทุจริตต่างๆ เพื่อหาเงินมาสนองความสุขตน ทำไปทำไมนะ มันเทียบกับความสุขที่เกิดจากความสงบนี้ไม่ได้เลย ความสุขนี้ไม่ต้องไขว่คว้ามาก อยู่กับตัวเองแท้ๆ คนในโลกกลับไม่รู้"


จากนั้น ผมก็สังเกตลมหายใจ ก็รู้สึกว่าลมหายใจตอนนี้มันละเอียดมาก ถึงค่อยเข้าใจคำว่าลมหายใจหยาบ ลมหายใจละเอียดว่าเป็นยังไง ก่อนหน้านี้เข้าใจว่าคือลมหายใจแรงๆเบาๆซะอีก :)

ความรู้สึกจากการเกิดสมาธิครั้งแรกนี้มันเหมือนจุ่มค้างอยู่ปีติอยู่ แต่ไม่เห็นนิมิตอะไรทั้งสิ้นเลยนะครับ แต่รู้สึกจิตเวลานี้ไม่มีนิวรณ์เลย คือมีความรู้พร้อมอยู่

จากนั้น ผมก็รู้สึกยินดีกับสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วคิดไปเรื่อยว่า

"นี่คือปฐมฌานหรือเปล่านี่ ปฐมฌานเกิดกับเราหรือ"

จนจิตเริ่มไม่เป็นสมาธิ เริ่มปั่นป่วน หลังจากนั้นก็ได้ยินเสียงห้องข้างๆตะโกนเสียงดัง ผมก็เลยหลุดออกมาจากสภาวะนั้น




ตย. ยินร้าย


อ้างคำพูด:
ผมก็นั่งตามลมหายใจพุทโธไป

วันแรกๆก็ไม่เป็นอะไร พอวันที่สามนั่งไปซักพักประมาณสิบนาทีเริ่มมีอาการเหวี่ยงแบบเหวี่ยงหมุนจน เวียนหัวจึงนั่งต่อไม่ได้ลืมตาขึ้นมานั่งดูพระรูปอื่น

เป็นอย่างนี้อยู่เกือบตลอด กลับมาที่กุฏิก่อนจะจำวัดก็นั่งก็เป็นอีก
จนมาถามพระพี่เลี้ยงท่านบอกเหมือนจิตกำลังจะได้เข้าสู่ความสงบให้ผ่านจุดนี้ไปให้ได้ แต่มันก็ได้แบบแปปๆแล้วก็หมุนอีกหมุนอีก

จนลาสิกขามาก็เริ่มมาหาอ่านเองจนได้อ่านบันทึกกรรมฐานของเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช ให้พิจารณา กาย เวทนา จิต ธรรม

คราวนี้ก็ทำตามหนังสือ หายใจตอนแรกก็ยาว ก็ตามไปซักพัก เริ่มพิจารณาตามสติปัฏฐาน คราวนี้หมุนเร็วเลย หมุนแรงมาก จนรู้สึกจะอาเจียนเลย

ผมก็พิจารณาว่าเป็นทุกขเวทนา ก็ดีขึ้นแปปก็หมุนอีกเรื่อยๆ จนตอนนี้ยังแก้ไม่ได้เลยครับ ไม่รู้ว่าจะทำยังไง ล่าสุดเมื่อคืนหมุนจนจะอ้วก จนถอนสมาธิออกมา ยังมีอาการเวียนหัวจะอ้วกมาอีกซักสิบห้านาทีค่อยดีขึ้น

คำถามครับ

1. ผมควรแก้ปัญหานี้ยังไงดี ฝืนนั่งไปเรื่อยๆจนหายหรือต้องกำหนดอะไรยังไง

2. จุดมุ่งหมายจริงๆ คือวิปัสสนากรรมฐานคืออะไรครับ ไม่ได้โอ้อวดว่าตัวเองเก่งนะครับ พอดีผมเรียนแพทย์ เลยเข้าใจพวกสรีระร่างกายมนุษย์อยู่แล้ว เมื่อมาเรียนรู้ทางธรรมพิจารณาตามขันธ์ 5 ก็เข้าใจว่ามันไม่ได้มีตัวตนจริงๆของเรา เหมือนเท่าที่อ่านการฝึกวิปัสสนาทำให้เราเข้าใจว่าทุกอย่างมีเกิดดับของมัน เป็นธรรมดา ไม่ให้เรายึดติด แต่ถ้าผมอ่านแล้วเข้าใจแล้วจะทำไปเพื่ออะไร

หรือว่าให้จิตเราแข็งแกร่ง จะได้มีสติรู้เท่าทันทุกการกระทำ หลังสึกออกมาทุกวันนี้ เวลาจะโกรธใครก็เหมือนมีสติมาห้ามทัน แต่ก็ยังมีหลุดบ้าง ซึ่งก่อนหน้านี้จะตอบโต้แทบจะทันทีเพราะเป็นคนใจร้อน



เป็น นศ.แพทย์นะ :b1: เขาก็รู้ขันธ์ 5 เหมือนอย่าง สมช.ลานธรรมจักรรู้นี่ล่ะ เป็นไงเจอะของจริงแล้ว ถึงกับไปไม่เป็น

:b17:
อีกแหละกรัชกายนี่ ช่างไม่มีจิตที่เป็นกุศลแยกบุคคลออกจากกันให้ดีๆ

กรัชกายยังคิดและเห็น ว่าผู้คนที่เข้ามาศึกษาในลานธรรมจัรแห่งนี้มีแต่ปุถุชนผู้หนาด้วยกิเลสเหมือนอย่างกรัชกายทั้งสิ้น
ทำไมไม่ฉุกใจคิดพิจารณาให้ดีบ้างว่า ในลานธรรมแห่งนี้มีทั้ง
ปุถุชน
กัลยาณชน
เตรียมชาวพุทธ
ชาวพุทธและ
อริยชน
คละเคล้าปนเปกันอยู่ในนี้

ผู้ที่กำลังเจริญการเอาความยินดียินร้ายออกจากผัสสะทั้งปวงนี่ท่านเรียกว่าชาวพุทธ เขาไม่ได้มีแต่คิดเอาให้อยู่ตรงกลางระหว่างความยินดียินร้าย

แต่เขากำลังปฏิบัติจริงด้วยความมุ่งมั่นเอาจริงที่จะได้พบวิธีเอาความยินดียินร้ายออก เมื่อพบแล้ว จะได้อยู่ด้วยอุเบกขา
สมาธิ เข้าสู่ ปกติและบรรลุธรรมตามคำรับรองของพระบรมศาสดา ดังมีมาในสติปัฏฐานสูตร

กรัชกายเอ้ยกรัชกาย พึงฝึกมองโลกในแง่ดี แง่บวกให้มากยิ่งกว่านี้นะ จิตใจจะได้อยู่ในกุศลและเป็นสุข

onion
แล้วไอ้ที่จะโยงไปหาปัญหาของผู้ปฏิบัติภายใต้คำชี้แนะของกรัชกายที่กรัชกายแก้ปัญหาให้เขาไม่ได้จะมาอาศัยถามผู้รู้จริงในลานธรรมนี้เพื่อนำไปแก้ปัญหาของตนเองนั้นนะ เลิกทำเสียเถอะ รับผิดชอบงานของตัวเองให้ดี อย่าเอาปัญหายาวๆทั้งหลายมาทำลายความน่าอ่านน่าศึกษาของกระทู้ต่างๆไป
:b34:
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 มิ.ย. 2016, 07:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
พูดนะพูดได้ .... ฉันไม่ยินดี (ต่ออิฏฐารมณ์ - อารมณ์ที่น่าปรารถนา)

ฉันไม่ยินร้าย (ต่ออนิฏฐารมณ์ - อารมณ์ที่ไม่น่าปราถนา) แต่เวลาประสบกับอารมณ์ทางตา ทางหู ทางจมูกเป็นต้นเข้าจริงๆ ยังไม่ทันตั้งนะโมเลย :b32: ความยินดี ยินร้ายเอาไปกินสะแระ :b1:

เห็นรูปปุ๊บ ไปแระ รู้สึกยินดี ยินร้ายเอาไปกินสะแระ

ได้ยินเสียงปุ๊บ ไปแระ รู้สึกยินดี ยินร้ายไปแระ

ได้กลิ่นปุ๊บ รู้สึกชอบ ไม่ชอบไปแระ นี่เป็นวิสัยของปุถุชนซึ่งเป็นไปโดยไม่รู้ตัวเลย

ทั้งๆที่ตั้งท่ามาจากบ้านนะว่า เออๆ ฉันเห็นอะไร ได้ยินเสียงอะไร ได้กลิ่นอะไร จะไม่ยินดี ไม่ยินร้าย กับมัน จะให้จิตอยู่ตรงกลางระหว่างความยินดี กับ ยินร้าย

จะให้แน่ ผู้นั้นต้องผ่านประสบการณ์จริง แล้วจะรู้ ว่าพูด กับ ทำ ต่างกัน


ดูตัวอย่างยินดี กับ ยินร้าย


อ้างคำพูด:
การนั่งสมาธิครั้งนี้ ผมสามารถรับรู้ลมหายใจได้ตลอดสายเป็นเวลานาน

กำหนดแค่ครั้งเดียวเท่านั้น จากนั้นผมก็รู้สึกเหมือนกายผมขยายตามที่กำหนดแผ่เมตตาไปด้วย รู้สึกว่ากายขยายไปทุกทิศ

จนรู้สึกว่ากายหายไป เวลานี้ ความรู้สึกของเราเหมือนจุ่มอยู่ในปีติ มีแต่ความสุขไปหมด

จากนั้นผมก็คิดขึ้นมาว่า

"มีความสุขขนาดนี้ในโลกด้วยหรือ ความสุขนี้ดีกว่าความสุขในโลกที่เราเคยพบมาทั้งหมด โอ ... ความสุขนี้แค่นั่งก็ได้แล้ว คนทั้งโลก มัวแต่วุ่นวายทำอะไรกันอยู่ บางคนทำทุจริตต่างๆ เพื่อหาเงินมาสนองความสุขตน ทำไปทำไมนะ มันเทียบกับความสุขที่เกิดจากความสงบนี้ไม่ได้เลย ความสุขนี้ไม่ต้องไขว่คว้ามาก อยู่กับตัวเองแท้ๆ คนในโลกกลับไม่รู้"


จากนั้น ผมก็สังเกตลมหายใจ ก็รู้สึกว่าลมหายใจตอนนี้มันละเอียดมาก ถึงค่อยเข้าใจคำว่าลมหายใจหยาบ ลมหายใจละเอียดว่าเป็นยังไง ก่อนหน้านี้เข้าใจว่าคือลมหายใจแรงๆเบาๆซะอีก :)

ความรู้สึกจากการเกิดสมาธิครั้งแรกนี้มันเหมือนจุ่มค้างอยู่ปีติอยู่ แต่ไม่เห็นนิมิตอะไรทั้งสิ้นเลยนะครับ แต่รู้สึกจิตเวลานี้ไม่มีนิวรณ์เลย คือมีความรู้พร้อมอยู่

จากนั้น ผมก็รู้สึกยินดีกับสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วคิดไปเรื่อยว่า

"นี่คือปฐมฌานหรือเปล่านี่ ปฐมฌานเกิดกับเราหรือ"

จนจิตเริ่มไม่เป็นสมาธิ เริ่มปั่นป่วน หลังจากนั้นก็ได้ยินเสียงห้องข้างๆตะโกนเสียงดัง ผมก็เลยหลุดออกมาจากสภาวะนั้น




ตย. ยินร้าย


อ้างคำพูด:
ผมก็นั่งตามลมหายใจพุทโธไป

วันแรกๆก็ไม่เป็นอะไร พอวันที่สามนั่งไปซักพักประมาณสิบนาทีเริ่มมีอาการเหวี่ยงแบบเหวี่ยงหมุนจน เวียนหัวจึงนั่งต่อไม่ได้ลืมตาขึ้นมานั่งดูพระรูปอื่น

เป็นอย่างนี้อยู่เกือบตลอด กลับมาที่กุฏิก่อนจะจำวัดก็นั่งก็เป็นอีก
จนมาถามพระพี่เลี้ยงท่านบอกเหมือนจิตกำลังจะได้เข้าสู่ความสงบให้ผ่านจุดนี้ไปให้ได้ แต่มันก็ได้แบบแปปๆแล้วก็หมุนอีกหมุนอีก

จนลาสิกขามาก็เริ่มมาหาอ่านเองจนได้อ่านบันทึกกรรมฐานของเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช ให้พิจารณา กาย เวทนา จิต ธรรม

คราวนี้ก็ทำตามหนังสือ หายใจตอนแรกก็ยาว ก็ตามไปซักพัก เริ่มพิจารณาตามสติปัฏฐาน คราวนี้หมุนเร็วเลย หมุนแรงมาก จนรู้สึกจะอาเจียนเลย

ผมก็พิจารณาว่าเป็นทุกขเวทนา ก็ดีขึ้นแปปก็หมุนอีกเรื่อยๆ จนตอนนี้ยังแก้ไม่ได้เลยครับ ไม่รู้ว่าจะทำยังไง ล่าสุดเมื่อคืนหมุนจนจะอ้วก จนถอนสมาธิออกมา ยังมีอาการเวียนหัวจะอ้วกมาอีกซักสิบห้านาทีค่อยดีขึ้น

คำถามครับ

1. ผมควรแก้ปัญหานี้ยังไงดี ฝืนนั่งไปเรื่อยๆจนหายหรือต้องกำหนดอะไรยังไง

2. จุดมุ่งหมายจริงๆ คือวิปัสสนากรรมฐานคืออะไรครับ ไม่ได้โอ้อวดว่าตัวเองเก่งนะครับ พอดีผมเรียนแพทย์ เลยเข้าใจพวกสรีระร่างกายมนุษย์อยู่แล้ว เมื่อมาเรียนรู้ทางธรรมพิจารณาตามขันธ์ 5 ก็เข้าใจว่ามันไม่ได้มีตัวตนจริงๆของเรา เหมือนเท่าที่อ่านการฝึกวิปัสสนาทำให้เราเข้าใจว่าทุกอย่างมีเกิดดับของมัน เป็นธรรมดา ไม่ให้เรายึดติด แต่ถ้าผมอ่านแล้วเข้าใจแล้วจะทำไปเพื่ออะไร

หรือว่าให้จิตเราแข็งแกร่ง จะได้มีสติรู้เท่าทันทุกการกระทำ หลังสึกออกมาทุกวันนี้ เวลาจะโกรธใครก็เหมือนมีสติมาห้ามทัน แต่ก็ยังมีหลุดบ้าง ซึ่งก่อนหน้านี้จะตอบโต้แทบจะทันทีเพราะเป็นคนใจร้อน



เป็น นศ.แพทย์นะ :b1: เขาก็รู้ขันธ์ 5 เหมือนอย่าง สมช.ลานธรรมจักรรู้นี่ล่ะ เป็นไงเจอะของจริงแล้ว ถึงกับไปไม่เป็น

:b17:
อีกแหละกรัชกายนี่ ช่างไม่มีจิตที่เป็นกุศลแยกบุคคลออกจากกันให้ดีๆ

กรัชกายยังคิดและเห็น ว่าผู้คนที่เข้ามาศึกษาในลานธรรมจัรแห่งนี้มีแต่ปุถุชนผู้หนาด้วยกิเลสเหมือนอย่างกรัชกายทั้งสิ้น
ทำไมไม่ฉุกใจคิดพิจารณาให้ดีบ้างว่า ในลานธรรมแห่งนี้มีทั้ง
ปุถุชน
กัลยาณชน
เตรียมชาวพุทธ
ชาวพุทธและ
อริยชน
คละเคล้าปนเปกันอยู่ในนี้

ผู้ที่กำลังเจริญการเอาความยินดียินร้ายออกจากผัสสะทั้งปวงนี่ท่านเรียกว่าชาวพุทธ เขาไม่ได้มีแต่คิดเอาให้อยู่ตรงกลางระหว่างความยินดียินร้าย

แต่เขากำลังปฏิบัติจริงด้วยความมุ่งมั่นเอาจริงที่จะได้พบวิธีเอาความยินดียินร้ายออก เมื่อพบแล้ว จะได้อยู่ด้วยอุเบกขา
สมาธิ เข้าสู่ ปกติและบรรลุธรรมตามคำรับรองของพระบรมศาสดา ดังมีมาในสติปัฏฐานสูตร

กรัชกายเอ้ยกรัชกาย พึงฝึกมองโลกในแง่ดี แง่บวกให้มากยิ่งกว่านี้นะ จิตใจจะได้อยู่ในกุศลและเป็นสุข

onion
แล้วไอ้ที่จะโยงไปหาปัญหาของผู้ปฏิบัติภายใต้คำชี้แนะของกรัชกายที่กรัชกายแก้ปัญหาให้เขาไม่ได้จะมาอาศัยถามผู้รู้จริงในลานธรรมนี้เพื่อนำไปแก้ปัญหาของตนเองนั้นนะ เลิกทำเสียเถอะ รับผิดชอบงานของตัวเองให้ดี อย่าเอาปัญหายาวๆทั้งหลายมาทำลายความน่าอ่านน่าศึกษาของกระทู้ต่างๆไป
:b34:



อ้างคำพูด:
แล้วไอ้ที่จะโยงไปหาปัญหาของผู้ปฏิบัติภายใต้คำชี้แนะของกรัชกาย ที่กรัชกายแก้ปัญหาให้เขาไม่ได้ จะมาอาศัยถามผู้รู้จริงในลานธรรมนี้เพื่อนำไปแก้ปัญหาของตนเองนั้นนะ เลิกทำเสียเถอะ


มโนอีก

ท่านอโศกมีนรกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า หากยังแก้มิจฉาทิฏฐิตัวนี้ไม่ได้ คิกๆๆ


หลักสติปัฏฐานก็ดี อานาปานสติก็ดี ไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) ก็ดี ที่ชอบพูดๆกัน นี่เป็นหลักปฏิบัติ สำหรับลงมือทำ ไม่ใช่สำหรับพูดอ้างมาแล้วก็มโนไปตามความคิดเห็น ไม่ใช่นะขอรับ :b1: :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 246 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 10, 11, 12, 13, 14, 15, 16, 17  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร