วันเวลาปัจจุบัน 18 ก.ค. 2025, 18:27  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 911 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 53, 54, 55, 56, 57, 58, 59 ... 61  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ม.ค. 2016, 05:05 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว




อริยสัจ 4_resize.jpg
อริยสัจ 4_resize.jpg [ 58.29 KiB | เปิดดู 1640 ครั้ง ]
onion
สมุทัย เหตุทุกข์ พระพุทธเจ้าทรงสอนว่า "สมุทัย ควรละ"

อะไรเป็นเหตุทุกข์?

พระพุทธเจ้าตรัสว่า "ตัณหา เป็นเหตุทุกข์" ตัณหา แปลว่า ความอยาก ความอยาก เป็นสิ่งที่รู้เห็นได้ง่าย แต่ที่มาของตัณหา ซึ่งเป็นเหตุต้นจริงๆแห่งทุกข์นั้นซ่อนลึกอยู่เบื้องหลัง พระบรมศาสดาไม่ทรงบอกไว้ตรงๆในเรื่องสมุทัยเพราะทรงทิ้งไว้ให้ผู้ปฏิบัติธรรมได้ค้นพบเอาเอง

เราสามารถค้นหาเหตุทุกข์ที่แท้จริงที่ซ่อนอยู่หลังตัณหาได้ เพียงแต่ค้นหาหรือถามให้ลึกเข้าไป

ตัณหา แปลว่า ความอยาก ถามต่อไปว่า เวลาอยากขึ้นมานี่

"ใครเป็นผู้อยาก?"

มากคนจะตอบว่า "ใจ เป็นผู้อยาก"
ถ้าตอบอย่างนี้เราก็สามารถถามต่อไปได้อีกว่า

ใจใครล่ะ?ที่อยาก

ส่วนใหญ่จะตอบว่า "ใจเรา"

คำนี้ยังไม่ใช่คำตอบที่ถูกต้องเพราะ "เรา" ยังไม่ใช่ผู้ร้ายหรือต้นเหตุแห่งทุกข์ตัวจริง เพราะคำว่า "เรา" มันเป็นพหูพจน์ แปลว่า 2 คนขึ้นไป จึงมีเหตุต้องพิสูจน์ต่อว่าใครหรืออะไร?คือสมุทัย หรือเหตุทุกข์ตัวจริง

"ใจ "ฉัน" เป็นผู้อยาก คำตอบนี้จึงจะตรงและถูกต้องกว่าเพราะเหลือผู้ร้ายตัวจริงเพียงหนึ่งเดียว

แต่ "ฉัน สุภาพเกินไป ไม่เห็นชัด ไม่สะใจ ต้องใช้ภาษาพ่อขุนฯจึงจะชัดและจำง่าย

"กู" คือผู้อยาก

กู = อัตตา คือผู้อยาก

กู จึงเป็นเหตุทุกข์ตัวจริง สมุทัยตัวจริงที่ซ่อนอยู่เบื้องหลัง ตัณหา

การละเหตุทุกข์ก็จึงหมายถึงการละ กู

กู คืออะไร?

กู คืออุปาทาน ความเห็นผิด ยึดผิด คือเห็นผิดว่าขันธ์ 5 รูป นาม กาย ใจนี้เป็น อัตตา ตัวกูของกู หรือที่บาลีเรียกว่า "สักกายทิฏฐิ"

ส่วนความยึดผิด คือยึดกาย ยึดใจ นี้ว่าเป็นตัวกูของกูนั้น ท่านเรียกว่า
"มานะทิฏฐิ" ซึ่งฆ่า ทำลายได้ยากกว่า สักกายทิฏฐิ

ดังนั้นจึงอาจสรุปได้ว่า การปฏิบัติธรรมเพื่อให้ถึงความพ้นทุกข์ ความเวียนว่ายตายเกิด เป้าหมายแรกคือต้องทำลาย สักกายทิฏฐิ ความเห็นผิด ให้ได้เสียก่อนซึ่งก็ไปตรงกับประเด็นของเหตุทุกข์หรือสมุทัยควรละ

ละเหตุทุกข์ได้ ผลทุกข์ก็ดับ สิ่งที่เหลือคือ ผลสุข (นิโรธะ)กับเหตุสุข คือ มรรค

นี่คือสาระสำคัญของอริยสัจ 4 และงานของมรรค 8



onion
:b39:
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ม.ค. 2016, 06:45 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
เจ็บ..ก็ทุกข์
หิว...ก็ทุกข์...
ปวดเมื่อย...ปวดแข้งปวดขา...ก็ทุกข์...

รู้แค่นี้..หากจัดเป็นรู้ทุกข์ในอริยะสัจเสียแล้ว....สิ่งมีชีวิตทุกชนิด...คนทุกชาติทุกศาสนา...ก็ต้องถือว่าเป็นผู้รู้อริยะสัจ..แล้วละซิคับ....

แต่ความจริงเป็นเช่นนั้นหรือ? อโสกะ


asoka เขียน:
:b12: :b13: :b17:
ใช่สิครับคุณกบ อะไรที่ทำให้ทุกข์ ทนอยู่ไม่ได้ มันเป็นสัจจะทั้งสิ้น ความว่า สัจจะนั้น คือ รู้ตรงที่ใจ ชาติไหนภาษาไหนก็รู้ซึ้งเท่ากันเป็นสากล เช่น

เจ็บ ปวด สบาย สุข ทุกข์ ดีใจ เสียใจ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เกิดขึ้นได้กับทุกชีวิต
ทุกชาติ ทุกภาษาและชนิดสัตว์ ผิดกันที่สมมุติที่ใช้เรียกและท่าทาง ความรู้สึก เสียงร้องหรืออุทานที่แสดงออกมาเท่านั้นเอง

onion



สัตวทุกชนิด..รู้ว่าอะไรคือทุกข์ของตน..แต่จะจัดว่าเป็นการรู้ทุกข์อริยะสัจ...เลยนั้น...คงไม่ใช่....ต้องมีองค์ประกอบอื่นๆร่วมด้วย...

asoka เขียน:
เขารู้จักทุกข์ แต่วิเคราะห์หาเหตุทุกข์ไม่ถูกไม่ตรงอย่างที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบเท่านั้น แต่ทุกชาติทุกภาษา ศาสนา เพศ วัย มีสิทธิ์และเข้าถึงอริยสัจทั้ง 4 ได้ทั้งสิ้น
onion


ความเห็นของอโสกะอันนี้..พอเข้าเค้าหน่อย...

ความเห็นของผมนะ...ทุกข์ที่เรากำหนดรู้แล้วนั้น...เป็นทุกขอริยะสัจจัง...นั้นก็เมื่อเรารู้ว่าทุกข์นั้นเกิดจากอะไร..(รู้สมุทัย อันมีเหตุตามธรรม)

ดังนั้น..ที่ว่ากันว่า...นั้นเป็นทุกข์..นี้เป็นทุกข์..ถ้ายังไม่รู้ว่าอะไรเป็นเหตุให้เกิดทุกข์นั้น..ก็อย่าเพิ่งด่วนสำคัญตนว่า....ตนได้กำหนดรู้ทุกขอริยะสัจแล้ว...เสร็จกิจในข้อนี้แล้ว


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ม.ค. 2016, 06:08 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b12:
อ้างคำพูด:
ความเห็นของอโสกะอันนี้..พอเข้าเค้าหน่อย...

ความเห็นของผมนะ...ทุกข์ที่เรากำหนดรู้แล้วนั้น...เป็นทุกขอริยะสัจจัง...นั้นก็เมื่อเรารู้ว่าทุกข์นั้นเกิดจากอะไร..(รู้สมุทัย อันมีเหตุตามธรรม)

ดังนั้น..ที่ว่ากันว่า...นั้นเป็นทุกข์..นี้เป็นทุกข์..ถ้ายังไม่รู้ว่าอะไรเป็นเหตุให้เกิดทุกข์นั้น..ก็อย่าเพิ่งด่วนสำคัญตนว่า....ตนได้กำหนดรู้ทุกขอริยะสัจแล้ว...เสร็จกิจในข้อนี้แล้ว

:b4:
คุณกบวินิจฉัยให้ข้อคิดมาก็ดูดีนะครับ

แต่หากพิจารณาตามลำดับแห่งธรรมแล้ว การจะรู้ว่าสิ่งนี้เรื่องนี้ เวทนานี้ เป็นทุกขสัจจะหรือไม่นั้น มันมีหลักตัดสินอยู่ที่ความหมายหรือคุณลักญณะของทุกข์เป็นสัจจะที่ยอมรับกันเป็นสากลอยู่แล้วว่า

ทุกขัง คือสภาวะแห่งการ ทนอยู่ไม่ได้

ใครพบเห็นสภาวะที่ทนอยู่ไม่ได้เกิดขึ้นในกายและจิต ตัดสินได้เลยว่า เขาผู้นั้นกำลังพบและเห็น ทุกขสัจจะ

ยังคงไม่จำเป็นต้องไปค้นหาสมุทัยเสียก่อนว่าสิ่งนี้เกิดมาจากอะไรจึงจะวินิจฉัยว่าเป็นทุกขสัจจะหรือไม่


ความเห็นทุกข์และซึ้งใจในทุกข์นั้นจะเป็นแรงกระตุ้น เป็นทั้งเหตุและปัจจัยให้สติปัญญาค้นหาสมุทัย เหตุแห่งทุกข์ ทั้งเหตุเฉพาะหน้า เหตุปลาย และต้นเหตุที่ซ่อนลึกอยู่ภายในและเบื้องหลัง
smiley
onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ม.ค. 2016, 06:15 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
:b12:


ทุกขัง คือสภาวะแห่งการ ทนอยู่ไม่ได้

ใครพบเห็นสภาวะที่ทนอยู่ไม่ได้เกิดขึ้นในกายและจิต ตัดสินได้เลยว่า เขาผู้นั้นกำลังพบและเห็น ทุกขสัจจะ

ยังคงไม่จำเป็นต้องไปค้นหาสมุทัยเสียก่อนว่าสิ่งนี้เกิดมาจากอะไรจึงจะวินิจฉัยว่าเป็นทุกขสัจจะหรือไม่


smiley
onion


อโสกะ..ติดอาการคิด..นะ...ต้องค้นหา..ต้องวินิจฉัย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ม.ค. 2016, 06:36 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
asoka เขียน:
:b12:


ทุกขัง คือสภาวะแห่งการ ทนอยู่ไม่ได้

ใครพบเห็นสภาวะที่ทนอยู่ไม่ได้เกิดขึ้นในกายและจิต ตัดสินได้เลยว่า เขาผู้นั้นกำลังพบและเห็น ทุกขสัจจะ

ยังคงไม่จำเป็นต้องไปค้นหาสมุทัยเสียก่อนว่าสิ่งนี้เกิดมาจากอะไรจึงจะวินิจฉัยว่าเป็นทุกขสัจจะหรือไม่


smiley
onion


อโสกะ..ติดอาการคิด..นะ...ต้องค้นหา..ต้องวินิจฉัย

:b13: :b13:
ทำอย่างกบนี่แหละเขาเรียกว่า "คิดตอบ"

แต่ทำอย่างอโศกะนี้ท่านเรียกว่า "ปฏิบัติหรือ พิสูจน์แล้วตอบ"

การวิเคราะห์เพื่อวินิจฉัยนั้นเป็นองค์ธรรมเพื่อการตรัสรู้ที่ท่านเรียกว่า


"ธัมมวิจัย สัมโภชฌงค์"


กบล่ะใช้หลักธรรมอะไรมาวินิจฉัย

เมตตาเล่าสู่กันฟังหน่อยนะครับ เผื่อกัลยาณมิตรทั้งหลายจะได้วิธีการดีๆใหม่ๆจากข้อชี้แนะของอาจารย์กบ
ขอบพระคุณ

smiley


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ม.ค. 2016, 06:47 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:


เมตตาเล่าสู่กันฟังหน่อยนะครับ เผื่อกัลยาณมิตรทั้งหลายจะได้วิธีการดีๆใหม่ๆจากข้อชี้แนะของอาจารย์กบ

ขอบพระคุณ

smiley


หากไม่ได้พูดจากใจจริง...พูดอย่างนี้..เท่ากับ..มุสาคือพูดเท็จ...สัมผัปปลาปะ คือการพูดเพ้อเจ้อ เหลวไหล ไม่เป็นสาระ

อิอิ....ศีลก็ให้สังวรใว้ดีดี...มีสติ :b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ม.ค. 2016, 20:48 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
asoka เขียน:


เมตตาเล่าสู่กันฟังหน่อยนะครับ เผื่อกัลยาณมิตรทั้งหลายจะได้วิธีการดีๆใหม่ๆจากข้อชี้แนะของอาจารย์กบ

ขอบพระคุณ

smiley


หากไม่ได้พูดจากใจจริง...พูดอย่างนี้..เท่ากับ..มุสาคือพูดเท็จ...สัมผัปปลาปะ คือการพูดเพ้อเจ้อ เหลวไหล ไม่เป็นสาระ

อิอิ....ศีลก็ให้สังวรใว้ดีดี...มีสติ :b32: :b32:

s004
ก็ขอให้เล่าให้ฟังจริงๆกบยังจะเฉไฉไปเป็นเรื่องอื่นอีกแหละ

s006


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ม.ค. 2016, 21:57 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


แค่ศีล...อโสกะยัง...เลินเล่อ...ย่อหย่อน...นะ

แสดงว่ายังไม่เป็นอธิศีล...


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ม.ค. 2016, 07:25 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
onion


กู คืออะไร?

กู คืออุปาทาน ความเห็นผิด ยึดผิด คือเห็นผิดว่าขันธ์ 5 รูป นาม กาย ใจนี้เป็น อัตตา ตัวกูของกู หรือที่บาลีเรียกว่า "สักกายทิฏฐิ"

ส่วนความยึดผิด คือยึดกาย ยึดใจ นี้ว่าเป็นตัวกูของกูนั้น ท่านเรียกว่า
"มานะทิฏฐิ" ซึ่งฆ่า ทำลายได้ยากกว่า สักกายทิฏฐิ


ดังนั้นจึงอาจสรุปได้ว่า การปฏิบัติธรรมเพื่อให้ถึงความพ้นทุกข์ ความเวียนว่ายตายเกิด เป้าหมายแรกคือต้องทำลาย สักกายทิฏฐิ ความเห็นผิด ให้ได้เสียก่อนซึ่งก็ไปตรงกับประเด็นของเหตุทุกข์หรือสมุทัยควรละ

ละเหตุทุกข์ได้ ผลทุกข์ก็ดับ สิ่งที่เหลือคือ ผลสุข (นิโรธะ)กับเหตุสุข คือ มรรค

นี่คือสาระสำคัญของอริยสัจ 4 และงานของมรรค 8


onion
:b39:


การแปลของอโสกะนี้ไม่ถูกนะครับ...ไปว่า..ความเห็นผิดเป็นสักกายทิฏฐิ..ความยึดในตัวตนเป็น..มานะทิฏฐิ...อย่างนี้ไม่ถูก..ครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ม.ค. 2016, 18:24 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
asoka เขียน:
onion


กู คืออะไร?

กู คืออุปาทาน ความเห็นผิด ยึดผิด คือเห็นผิดว่าขันธ์ 5 รูป นาม กาย ใจนี้เป็น อัตตา ตัวกูของกู หรือที่บาลีเรียกว่า "สักกายทิฏฐิ"

ส่วนความยึดผิด คือยึดกาย ยึดใจ นี้ว่าเป็นตัวกูของกูนั้น ท่านเรียกว่า
"มานะทิฏฐิ" ซึ่งฆ่า ทำลายได้ยากกว่า สักกายทิฏฐิ


ดังนั้นจึงอาจสรุปได้ว่า การปฏิบัติธรรมเพื่อให้ถึงความพ้นทุกข์ ความเวียนว่ายตายเกิด เป้าหมายแรกคือต้องทำลาย สักกายทิฏฐิ ความเห็นผิด ให้ได้เสียก่อนซึ่งก็ไปตรงกับประเด็นของเหตุทุกข์หรือสมุทัยควรละ

ละเหตุทุกข์ได้ ผลทุกข์ก็ดับ สิ่งที่เหลือคือ ผลสุข (นิโรธะ)กับเหตุสุข คือ มรรค

นี่คือสาระสำคัญของอริยสัจ 4 และงานของมรรค 8


onion
:b39:


การแปลของอโสกะนี้ไม่ถูกนะครับ...ไปว่า..ความเห็นผิดเป็นสักกายทิฏฐิ..ความยึดในตัวตนเป็น..มานะทิฏฐิ...อย่างนี้ไม่ถูก..ครับ

s006
กบเอาอะไรมาตัดสินว่าถูกหรือผิด?

s004


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ม.ค. 2016, 20:47 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
asoka เขียน:
onion


กู คืออะไร?

กู คืออุปาทาน ความเห็นผิด ยึดผิด คือเห็นผิดว่าขันธ์ 5 รูป นาม กาย ใจนี้เป็น อัตตา ตัวกูของกู หรือที่บาลีเรียกว่า "สักกายทิฏฐิ"

ส่วนความยึดผิด คือยึดกาย ยึดใจ นี้ว่าเป็นตัวกูของกูนั้น ท่านเรียกว่า
"มานะทิฏฐิ" ซึ่งฆ่า ทำลายได้ยากกว่า สักกายทิฏฐิ


ดังนั้นจึงอาจสรุปได้ว่า การปฏิบัติธรรมเพื่อให้ถึงความพ้นทุกข์ ความเวียนว่ายตายเกิด เป้าหมายแรกคือต้องทำลาย สักกายทิฏฐิ ความเห็นผิด ให้ได้เสียก่อนซึ่งก็ไปตรงกับประเด็นของเหตุทุกข์หรือสมุทัยควรละ

ละเหตุทุกข์ได้ ผลทุกข์ก็ดับ สิ่งที่เหลือคือ ผลสุข (นิโรธะ)กับเหตุสุข คือ มรรค

นี่คือสาระสำคัญของอริยสัจ 4 และงานของมรรค 8


onion
:b39:


การแปลของอโสกะนี้ไม่ถูกนะครับ...ไปว่า..ความเห็นผิดเป็นสักกายทิฏฐิ..ความยึดในตัวตนเป็น..มานะทิฏฐิ...อย่างนี้ไม่ถูก..ครับ


asoka เขียน:

s006
กบเอาอะไรมาตัดสินว่าถูกหรือผิด?

s004


ผิดทั้งความหมาย...และผิดทั้งการใช้ปัญญัติ..ครับ

ที่ใช้ผิดความหมาย...แสดงว่า..ยังไม่เคยเจอปัญหาของมานะกิเลส...

การใช้บัญญัติผิด...ที่ว่า..ความยึดในตัวตนเป็นมานะทิฏฐิ...แสดงว่า..ไม่ได้ศึกษาธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ดี
อ้างคำพูด:
ส่วนความยึดผิด คือยึดกาย ยึดใจ นี้ว่าเป็นตัวกูของกูนั้น ท่านเรียกว่า
"มานะทิฏฐิ" ซึ่งฆ่า ทำลายได้ยากกว่า สักกายทิฏฐิ


มานะทิฏฐิ....อยู่ในสังโยชน์เบื้องสูง....ตามความหมาย...คือการสำคัญตน 9 อย่าง (ไม่ขออธิบาย..ไปหาเองได้อยู่แล้ว)..นี้ว่าตามหลักการ...แต่หากจะว่าตามความรู้สึก...มันก็มีแค่อันเดียวคือ..สำคัญตน..เท่านั้น

มาดูผู้ที่อธิบายได้ชัดเจน..ดีกว่า

อ้างคำพูด:
มานะแปลว่าความถือตัว ความสำคัญตัวว่าสูง หรือความอยากใหญ่ อยากเด่น อยากดัง เป็นกิเลสอย่างหนึ่ง ส่วนตัณหาคือความอยากมีอยากได้ เช่น อยากรวย แต่ถ้าอยากใหญ่ อยากดัง อยากเด่น หรือสำคัญว่าฉันเหนือกว่า ฉันดีกว่า อันนี้เราเรียกว่ามานะ ส่วนทิฐิหมายถึงความยึดติดถือมั่นในความคิด

เราคงเคยได้ยินคำว่า “ตัวกูของกู” ความยึดติดว่า “ของกู” หรืออยากได้มาเป็น “ของกู” นี้คือตัณหา
ส่วนความยึดติดว่ามี “ตัวกู” หรือหลงยึดมั่นว่า กายและใจนี้คือ “ตัวกู” อันนี้คือทิฏฐิ ถ้าพูดให้เต็มก็คือ สักกายทิฏฐิ

แต่มีอีกตัวหนึ่งซึ่งท่านเจ้าคุณพรหมคุณาภรณ์บัญญัติขึ้นมาให้ล้อกับคำว่า ตัวกูของกูก็คือ “นี่กูนะ” อันหลังนี้แหละคือมานะ

นี่กูนะ แสดงอาการหลายอย่างเช่น พูดใส่หน้าคนอื่นว่า รู้ไหมว่ากูเป็นใคร รู้ไหมว่ากูเป็นลูกใคร อันนี้มาจากกิเลสตัวที่ชื่อว่ามาน


เพราะฉะนั้นถ้าพูดตามหลักแล้ว มีกิเลส ๓ ตัว คือ ตัวกู ของกู และนี่กูนะ หรือ ทิฏฐิ ตัณหา และมานะ บางทีก็เรียกว่า อหังการ มมังการ มานานุสัย

http://www.visalo.org/article/suksala13.htm


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ม.ค. 2016, 05:31 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b12: :b12: :b12:
กบก็ไปแอบคัดลอกเขามาอยู่ดี

นึกว่าถูกต้องทั้งหมดแล้วหรือที่เขาอธิบายนั้นนะ

นั่นเป็นเพียงความเห็นของท่านผู้อธิบายนั้น ลองเอาความเห็นของกบตรงๆสิ จะได้รู้ว่าทิศทางความเห็นของกบมันไปในทางใด เป็นสัมมาหรือ มิจฉาทิฏฐิ

จะบอกให้นะว่า

ทิฏฐิ มันแปลว่า ความเห็นเฉยๆ กลางๆ ยังไม่ดีไม่ร้าย ต่อเมื่อเอาคำว่า สัมมา หรือ มิจฉาไปนำหน้า มันถึงจะเป็นดีหรือร้ายไปตามตัวนำ บอกแค่นี้กบน่าจะแทงทะลุไปได้อีกหลายเรื่องมั้ง ออกนอกกะลามาแล้วนี่

สักกายะ = กาย = ตัวตน = รูป = รูปูปาทานขันโธ

ทิฏฐิ = ความเห็น

สักกายทิฏฐิ = ความเห็นเป็นกายเป็นตัวเป็นตน = ความเห็นผิด เป็นส่วนของอุปาทานในรูปขันธ์

มานะ = มนะ = มโน = ใจ

มานะทิฏฐิ = ความเห็นเป็นใจ ความเห็นว่ามีใจ ใจมี = เวทนู สัญญู สังขารู วิญญาณู ปาทานขันโธ = ความเห็นความยึดถือว่าเป็นใจ เป็นจิต เป็นส่วนของอุปาทานในนามขันธ์ทั้ง 4


รากเหง้ามันเป็นมาอย่างนี้ แล้วจึงค่อยนำมาขยายความว่าเป็นความเห็นผิด
(สักกายทิฏฐิ) ความยึดผิด มานะทิฏฐิ

onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ม.ค. 2016, 06:00 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
:b12: :b12: :b12:
กบก็ไปแอบคัดลอกเขามาอยู่ดี

นึกว่าถูกต้องทั้งหมดแล้วหรือที่เขาอธิบายนั้นนะ

นั่นเป็นเพียงความเห็นของท่านผู้อธิบายนั้น ลองเอาความเห็นของกบตรงๆสิ จะได้รู้ว่าทิศทางความเห็นของกบมันไปในทางใด เป็นสัมมาหรือ มิจฉาทิฏฐิ


ผมบอกไปแล้ว...ว่า...การสำคัญตน
กบนอกกะลา เขียน:

มานะทิฏฐิ....อยู่ในสังโยชน์เบื้องสูง....ตามความหมาย...คือการสำคัญตน 9 อย่าง (ไม่ขออธิบาย..ไปหาเองได้อยู่แล้ว)..นี้ว่าตามหลักการ...แต่หากจะว่าตามความรู้สึก...มันก็มีแค่อันเดียวคือ..สำคัญตน..เท่านั้น

มาดูผู้ที่อธิบายได้ชัดเจน..ดีกว่า



asoka เขียน:
มานะ = มนะ = มโน = ใจ

มานะทิฏฐิ = ความเห็นเป็นใจ ความเห็นว่ามีใจ
ใจมี = เวทนู สัญญู สังขารู วิญญาณู ปาทานขันโธ = ความเห็นความยึดถือว่าเป็นใจ เป็นจิต เป็นส่วนของอุปาทานในนามขันธ์ทั้ง 4[/size]

รากเหง้ามันเป็นมาอย่างนี้ แล้วจึงค่อยนำมาขยายความว่าเป็นความเห็นผิด
(สักกายทิฏฐิ) ความยึดผิด มานะทิฏฐิ

onion


แปลทื้อ ๆ ตามตัวหนังสือ..รึ :b32: :b32:

แสดงว่า..ยังไม่เคยเจอมานะกิเลส...


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ม.ค. 2016, 06:11 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
asoka เขียน:
:b12: :b12: :b12:
กบก็ไปแอบคัดลอกเขามาอยู่ดี

นึกว่าถูกต้องทั้งหมดแล้วหรือที่เขาอธิบายนั้นนะ

นั่นเป็นเพียงความเห็นของท่านผู้อธิบายนั้น ลองเอาความเห็นของกบตรงๆสิ จะได้รู้ว่าทิศทางความเห็นของกบมันไปในทางใด เป็นสัมมาหรือ มิจฉาทิฏฐิ


ผมบอกไปแล้ว...ว่า...การสำคัญตน
กบนอกกะลา เขียน:

มานะทิฏฐิ....อยู่ในสังโยชน์เบื้องสูง....ตามความหมาย...คือการสำคัญตน 9 อย่าง (ไม่ขออธิบาย..ไปหาเองได้อยู่แล้ว)..นี้ว่าตามหลักการ...แต่หากจะว่าตามความรู้สึก...มันก็มีแค่อันเดียวคือ..สำคัญตน..เท่านั้น

มาดูผู้ที่อธิบายได้ชัดเจน..ดีกว่า



asoka เขียน:
มานะ = มนะ = มโน = ใจ

มานะทิฏฐิ = ความเห็นเป็นใจ ความเห็นว่ามีใจ
ใจมี = เวทนู สัญญู สังขารู วิญญาณู ปาทานขันโธ = ความเห็นความยึดถือว่าเป็นใจ เป็นจิต เป็นส่วนของอุปาทานในนามขันธ์ทั้ง 4[/size]

รากเหง้ามันเป็นมาอย่างนี้ แล้วจึงค่อยนำมาขยายความว่าเป็นความเห็นผิด
(สักกายทิฏฐิ) ความยึดผิด มานะทิฏฐิ

onion


แปลทื้อ ๆ ตามตัวหนังสือ..รึ :b32: :b32:

แสดงว่า..ยังไม่เคยเจอมานะกิเลส...

s006
รู้มาผิดๆ จึงเห็นผิด คิดผิด ทำผิดตัดสินผิดๆนะสิกบ

ไอ้ที่กบถกเถียงไม่เห็นด้วยตามธรรมอยู่นี่แหละตัวมานะทิฎฐิตัวเป้งๆเลยหละ

onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ม.ค. 2016, 06:30 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
asoka เขียน:
:b12: :b12: :b12:
กบก็ไปแอบคัดลอกเขามาอยู่ดี

นึกว่าถูกต้องทั้งหมดแล้วหรือที่เขาอธิบายนั้นนะ

นั่นเป็นเพียงความเห็นของท่านผู้อธิบายนั้น ลองเอาความเห็นของกบตรงๆสิ จะได้รู้ว่าทิศทางความเห็นของกบมันไปในทางใด เป็นสัมมาหรือ มิจฉาทิฏฐิ


ผมบอกไปแล้ว...ว่า...การสำคัญตน
กบนอกกะลา เขียน:

มานะทิฏฐิ....อยู่ในสังโยชน์เบื้องสูง....ตามความหมาย...คือการสำคัญตน 9 อย่าง (ไม่ขออธิบาย..ไปหาเองได้อยู่แล้ว)..นี้ว่าตามหลักการ...แต่หากจะว่าตามความรู้สึก...มันก็มีแค่อันเดียวคือ..สำคัญตน..เท่านั้น

มาดูผู้ที่อธิบายได้ชัดเจน..ดีกว่า



asoka เขียน:
มานะ = มนะ = มโน = ใจ

มานะทิฏฐิ = ความเห็นเป็นใจ ความเห็นว่ามีใจ
ใจมี = เวทนู สัญญู สังขารู วิญญาณู ปาทานขันโธ = ความเห็นความยึดถือว่าเป็นใจ เป็นจิต เป็นส่วนของอุปาทานในนามขันธ์ทั้ง 4[/size]

รากเหง้ามันเป็นมาอย่างนี้ แล้วจึงค่อยนำมาขยายความว่าเป็นความเห็นผิด
(สักกายทิฏฐิ) ความยึดผิด มานะทิฏฐิ

onion


แปลทื้อ ๆ ตามตัวหนังสือ..รึ :b32: :b32:

แสดงว่า..ยังไม่เคยเจอมานะกิเลส...

s006
รู้มาผิดๆ จึงเห็นผิด คิดผิด ทำผิดตัดสินผิดๆนะสิกบ

ไอ้ที่กบถกเถียงไม่เห็นด้วยตามธรรมอยู่นี่แหละตัวมานะทิฎฐิตัวเป้งๆเลยหละ

onion


การที่เราพูดตามธรรม...อธิบายตามธรรมของพระพทธเจ้า...นำคำอธิบายของผู้อื่นที่เป็นไปตามธรรมของพระพุทธองค์...ด้วยอาการที่ใจไม่สำคัญตนว่าตนยิ่งกว่าคู่สนทนา..อย่างนี้แล้ว..ก็เชื่อว่า..มานะกิเลสไม่ได้แสดงตนออกมาวิ่งเพ่นพ่าน

อโสกะจะเชื่อธรรมของพระพุทธเจ้ามั้ย...หรือจะเชื่อการแปลทื่อ ๆ ของตน?? ก็ตามใจไปนะ

ผมไม่เดือดร้อน.. rolleyes rolleyes rolleyes


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 911 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 53, 54, 55, 56, 57, 58, 59 ... 61  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร