วันเวลาปัจจุบัน 18 ก.ค. 2025, 23:16  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 911 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 15, 16, 17, 18, 19, 20, 21 ... 61  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ส.ค. 2015, 13:11 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b36:
น่าเสียดายเรื่องการเอาความยินดียินร้ายออกเสียให้ได้ อันเป็นหัวใจสำคัญของสติปัฏฐาน ๔ ยังมีผู้สนใจน้อยเกินไป ไม่มีใครวิพากษ์วิจารณ์ ผมจึงยกกลับมาให้พิจารณากันใหม่อีกครั้งนึ่งครับ

อภิชฌา โทมนัสสังเป็นภาษาบาลีที่เมื่อแปลเป็นไทยแล้ว ก็คือ ความยินดีพอใจ กับความยินร้ายไม่ชอบ ธรรมดาๆเท่านั้นเอง

การเอาความยินดีกับความยินร้ายออกให้ได้ก็ใช้กำลังและความสามารถเช่นเดียวกันและพอๆกัน ไม่ถึงกับต้องระดับระดับพระอรหันต์ก็ได้

การนำความยินดียินร้ายออกจากใจนั้นมีได้หลายวิธีตามพื้นฐานความรู้ความสามารถของแต่ละคนอาจจำแนกออกเป็นกลุ่มๆได้ดังนี้

๑.โดยใช้สติที่มีกำลังมากตัด ผู้ที่ฝึกสติมานานจนมีกำลังมากเพียงแค่ระลึกรู้ความยินดีหรือความยินร้ายปรากฏขึ้นมาในจิตสติก็ตัดฉับยินดียิร้ายดับลงทันที วิธีนี้จะทำให้ไม่ทันได้เห็นสมุทัยกิเลสตัณหาจะตายด้วยอำนาจเจโตวิมุติ

๒.ใช้คำบริกรรมตัด หรือข่มเช่นยินดีหนอๆๆๆๆๆๆ หรือ ยินร้ายหนอๆๆๆๆ หรือบริกรรมพุทโธๆๆๆๆๆ สัมมาอรหังๆๆๆๆๆๆ อนัตตาๆๆๆๆๆๆถี่ๆไปจนจนความรู้สึกยินดียินร้ายนั้นดับไป

๓.ใช้กรรมฐานตัด คือผูกจิตมัดจิตไว้กับองค์กรรมฐานจนไม่สนใจไม่รับรู้ความยินดียินร้ายนั้น

๔.ใช้ความคิดเหตุและผลตัด

๕.ใช้ขันติ ตบะ วิริยะ ตัด โดยเฝ้ารู้ความยินดียินร้ายที่เกิดนั้นเฉยๆไปไม่ยอมทำอะไรตามอำนาจความยินดียินร้ายจนมันดับไป

๖.ใช้สติและปัญญาวิปัสสนานิ่งรู้นิ่งสังเกต ค้นเข้าไปในความยินดีหรือยินร้ายจนพบ "ผู้ยินดียินร้าย"ที่ซ่อนลึกอยู่ภายในแล้วใช้วิธีตามข้อ ๕ สู้จนผู้ยินดียินร้ายถอยหรือดับขาดไป ตายขาดไป
วิธีที่ ๖ นี้เป็นการสู้ที่เหตุเมื่อสำเร็จแล้วจะทำให้ความยินดียินร้ายหายขาดไม่หวนกลับคืนมาอีก
ส่วนวิธีที่ ๑ ถึง ๕ เป็นวิธีแก้ที่ผลจะประทังปิดบังความยินดียินร้ายไว้ด้วยอำนาจสติ สมาธิ ที่สุดความยินดียินร้ายซึ่งมีผู้ยินดียินร้ายซ่อนตัวอยู่ในนั้นอาจตายขาดไปพร้อมกันได้เช่นกันอันเป็นแนวทางของท่านที่มีอุปนิสัยทางด้านเจโตวิมุติ

onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ส.ค. 2015, 15:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
:b36:
น่าเสียดายเรื่องการเอาความยินดียินร้ายออกเสียให้ได้ อันเป็นหัวใจสำคัญของสติปัฏฐาน ๔ ยังมีผู้สนใจน้อยเกินไป ไม่มีใครวิพากษ์วิจารณ์ ผมจึงยกกลับมาให้พิจารณากันใหม่อีกครั้งนึ่งครับ

อภิชฌา โทมนัสสังเป็นภาษาบาลีที่เมื่อแปลเป็นไทยแล้ว ก็คือ ความยินดีพอใจ กับความยินร้ายไม่ชอบ ธรรมดาๆเท่านั้นเอง

การเอาความยินดีกับความยินร้ายออกให้ได้ก็ใช้กำลังและความสามารถเช่นเดียวกันและพอๆกัน ไม่ถึงกับต้องระดับระดับพระอรหันต์ก็ได้

การนำความยินดียินร้ายออกจากใจนั้นมีได้หลายวิธีตามพื้นฐานความรู้ความสามารถของแต่ละคนอาจจำแนกออกเป็นกลุ่มๆได้ดังนี้

๑.โดยใช้สติที่มีกำลังมากตัด ผู้ที่ฝึกสติมานานจนมีกำลังมากเพียงแค่ระลึกรู้ความยินดีหรือความยินร้ายปรากฏขึ้นมาในจิตสติก็ตัดฉับยินดียิร้ายดับลงทันที วิธีนี้จะทำให้ไม่ทันได้เห็นสมุทัยกิเลสตัณหาจะตายด้วยอำนาจเจโตวิมุติ

๒.ใช้คำบริกรรมตัด หรือข่มเช่นยินดีหนอๆๆๆๆๆๆ หรือ ยินร้ายหนอๆๆๆๆ หรือบริกรรมพุทโธๆๆๆๆๆ สัมมาอรหังๆๆๆๆๆๆ อนัตตาๆๆๆๆๆๆถี่ๆไปจนจนความรู้สึกยินดียินร้ายนั้นดับไป

๓.ใช้กรรมฐานตัด คือผูกจิตมัดจิตไว้กับองค์กรรมฐานจนไม่สนใจไม่รับรู้ความยินดียินร้ายนั้น

๔.ใช้ความคิดเหตุและผลตัด

๕.ใช้ขันติ ตบะ วิริยะ ตัด โดยเฝ้ารู้ความยินดียินร้ายที่เกิดนั้นเฉยๆไปไม่ยอมทำอะไรตามอำนาจความยินดียินร้ายจนมันดับไป

๖.ใช้สติและปัญญาวิปัสสนานิ่งรู้นิ่งสังเกต ค้นเข้าไปในความยินดีหรือยินร้ายจนพบ "ผู้ยินดียินร้าย"ที่ซ่อนลึกอยู่ภายในแล้วใช้วิธีตามข้อ ๕ สู้จนผู้ยินดียินร้ายถอยหรือดับขาดไป ตายขาดไป
วิธีที่ ๖ นี้เป็นการสู้ที่เหตุเมื่อสำเร็จแล้วจะทำให้ความยินดียินร้ายหายขาดไม่หวนกลับคืนมาอีก
ส่วนวิธีที่ ๑ ถึง ๕ เป็นวิธีแก้ที่ผลจะประทังปิดบังความยินดียินร้ายไว้ด้วยอำนาจสติ สมาธิ ที่สุดความยินดียินร้ายซึ่งมีผู้ยินดียินร้ายซ่อนตัวอยู่ในนั้นอาจตายขาดไปพร้อมกันได้เช่นกันอันเป็นแนวทางของท่านที่มีอุปนิสัยทางด้านเจโตวิมุติ

onion

ข้ออื่นเอาไว้ก่อน ลองดูข้อสอง. พุทธโธนี้คือพระนามของพระองค์ พระพุทธ้เจ้าทำไมไม่รู้ว่าการท่องชื่อพระองค์คือมรรค. ทำไมพระองค์ไม่สอนให้ท่องพุทธโธครับ

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ส.ค. 2015, 17:25 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


bigtoo เขียน:
asoka เขียน:
:b36:
น่าเสียดายเรื่องการเอาความยินดียินร้ายออกเสียให้ได้ อันเป็นหัวใจสำคัญของสติปัฏฐาน ๔ ยังมีผู้สนใจน้อยเกินไป ไม่มีใครวิพากษ์วิจารณ์ ผมจึงยกกลับมาให้พิจารณากันใหม่อีกครั้งนึ่งครับ

อภิชฌา โทมนัสสังเป็นภาษาบาลีที่เมื่อแปลเป็นไทยแล้ว ก็คือ ความยินดีพอใจ กับความยินร้ายไม่ชอบ ธรรมดาๆเท่านั้นเอง

การเอาความยินดีกับความยินร้ายออกให้ได้ก็ใช้กำลังและความสามารถเช่นเดียวกันและพอๆกัน ไม่ถึงกับต้องระดับระดับพระอรหันต์ก็ได้

การนำความยินดียินร้ายออกจากใจนั้นมีได้หลายวิธีตามพื้นฐานความรู้ความสามารถของแต่ละคนอาจจำแนกออกเป็นกลุ่มๆได้ดังนี้

๑.โดยใช้สติที่มีกำลังมากตัด ผู้ที่ฝึกสติมานานจนมีกำลังมากเพียงแค่ระลึกรู้ความยินดีหรือความยินร้ายปรากฏขึ้นมาในจิตสติก็ตัดฉับยินดียิร้ายดับลงทันที วิธีนี้จะทำให้ไม่ทันได้เห็นสมุทัยกิเลสตัณหาจะตายด้วยอำนาจเจโตวิมุติ

๒.ใช้คำบริกรรมตัด หรือข่มเช่นยินดีหนอๆๆๆๆๆๆ หรือ ยินร้ายหนอๆๆๆๆ หรือบริกรรมพุทโธๆๆๆๆๆ สัมมาอรหังๆๆๆๆๆๆ อนัตตาๆๆๆๆๆๆถี่ๆไปจนจนความรู้สึกยินดียินร้ายนั้นดับไป

๓.ใช้กรรมฐานตัด คือผูกจิตมัดจิตไว้กับองค์กรรมฐานจนไม่สนใจไม่รับรู้ความยินดียินร้ายนั้น

๔.ใช้ความคิดเหตุและผลตัด

๕.ใช้ขันติ ตบะ วิริยะ ตัด โดยเฝ้ารู้ความยินดียินร้ายที่เกิดนั้นเฉยๆไปไม่ยอมทำอะไรตามอำนาจความยินดียินร้ายจนมันดับไป

๖.ใช้สติและปัญญาวิปัสสนานิ่งรู้นิ่งสังเกต ค้นเข้าไปในความยินดีหรือยินร้ายจนพบ "ผู้ยินดียินร้าย"ที่ซ่อนลึกอยู่ภายในแล้วใช้วิธีตามข้อ ๕ สู้จนผู้ยินดียินร้ายถอยหรือดับขาดไป ตายขาดไป
วิธีที่ ๖ นี้เป็นการสู้ที่เหตุเมื่อสำเร็จแล้วจะทำให้ความยินดียินร้ายหายขาดไม่หวนกลับคืนมาอีก
ส่วนวิธีที่ ๑ ถึง ๕ เป็นวิธีแก้ที่ผลจะประทังปิดบังความยินดียินร้ายไว้ด้วยอำนาจสติ สมาธิ ที่สุดความยินดียินร้ายซึ่งมีผู้ยินดียินร้ายซ่อนตัวอยู่ในนั้นอาจตายขาดไปพร้อมกันได้เช่นกันอันเป็นแนวทางของท่านที่มีอุปนิสัยทางด้านเจโตวิมุติ

onion

ข้ออื่นเอาไว้ก่อน ลองดูข้อสอง. พุทธโธนี้คือพระนามของพระองค์ พระพุทธ้เจ้าทำไมไม่รู้ว่าการท่องชื่อพระองค์คือมรรค. ทำไมพระองค์ไม่สอนให้ท่องพุทธโธครับ

:b16:
คุณ bigtoo คงลืมไปมั้งครับ ในกรรมฐาน ๔๐ มีอนุสติ ๑๐
ซึ่งมีพุทธานุสติ รวมอยู่ในนั้นด้วย


ได้กล่าวแล้วว่าวิธีที่ ๑-๕ นั้นเป็นวิธีสู้ที่ผล ยังไม่ใช่วิธีของมรรค ๘ ตรงๆ แต่ก็เป็นเหตุให้ได้เจโตวิมุติ หรือปัญญาวิมุติบ้างเมื่อมาเจริญวิปัสสนาปัญญาต่อตรงกลาง

แต่วิธีที่ ๖ นั้นเป็นการเอาสติ ปัญญา สมาธิ ศีล มาร่วมกันทำงานค้นหาเหตุทุกข์ หรือสู้ที่สมุทัยตรงๆเป็นการทำงานโดยมรรค ๘ ตรงๆครับ

:b38:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ส.ค. 2015, 17:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
bigtoo เขียน:
asoka เขียน:
:b36:
น่าเสียดายเรื่องการเอาความยินดียินร้ายออกเสียให้ได้ อันเป็นหัวใจสำคัญของสติปัฏฐาน ๔ ยังมีผู้สนใจน้อยเกินไป ไม่มีใครวิพากษ์วิจารณ์ ผมจึงยกกลับมาให้พิจารณากันใหม่อีกครั้งนึ่งครับ

อภิชฌา โทมนัสสังเป็นภาษาบาลีที่เมื่อแปลเป็นไทยแล้ว ก็คือ ความยินดีพอใจ กับความยินร้ายไม่ชอบ ธรรมดาๆเท่านั้นเอง

การเอาความยินดีกับความยินร้ายออกให้ได้ก็ใช้กำลังและความสามารถเช่นเดียวกันและพอๆกัน ไม่ถึงกับต้องระดับระดับพระอรหันต์ก็ได้

การนำความยินดียินร้ายออกจากใจนั้นมีได้หลายวิธีตามพื้นฐานความรู้ความสามารถของแต่ละคนอาจจำแนกออกเป็นกลุ่มๆได้ดังนี้

๑.โดยใช้สติที่มีกำลังมากตัด ผู้ที่ฝึกสติมานานจนมีกำลังมากเพียงแค่ระลึกรู้ความยินดีหรือความยินร้ายปรากฏขึ้นมาในจิตสติก็ตัดฉับยินดียิร้ายดับลงทันที วิธีนี้จะทำให้ไม่ทันได้เห็นสมุทัยกิเลสตัณหาจะตายด้วยอำนาจเจโตวิมุติ

๒.ใช้คำบริกรรมตัด หรือข่มเช่นยินดีหนอๆๆๆๆๆๆ หรือ ยินร้ายหนอๆๆๆๆ หรือบริกรรมพุทโธๆๆๆๆๆ สัมมาอรหังๆๆๆๆๆๆ อนัตตาๆๆๆๆๆๆถี่ๆไปจนจนความรู้สึกยินดียินร้ายนั้นดับไป

๓.ใช้กรรมฐานตัด คือผูกจิตมัดจิตไว้กับองค์กรรมฐานจนไม่สนใจไม่รับรู้ความยินดียินร้ายนั้น

๔.ใช้ความคิดเหตุและผลตัด

๕.ใช้ขันติ ตบะ วิริยะ ตัด โดยเฝ้ารู้ความยินดียินร้ายที่เกิดนั้นเฉยๆไปไม่ยอมทำอะไรตามอำนาจความยินดียินร้ายจนมันดับไป

๖.ใช้สติและปัญญาวิปัสสนานิ่งรู้นิ่งสังเกต ค้นเข้าไปในความยินดีหรือยินร้ายจนพบ "ผู้ยินดียินร้าย"ที่ซ่อนลึกอยู่ภายในแล้วใช้วิธีตามข้อ ๕ สู้จนผู้ยินดียินร้ายถอยหรือดับขาดไป ตายขาดไป
วิธีที่ ๖ นี้เป็นการสู้ที่เหตุเมื่อสำเร็จแล้วจะทำให้ความยินดียินร้ายหายขาดไม่หวนกลับคืนมาอีก
ส่วนวิธีที่ ๑ ถึง ๕ เป็นวิธีแก้ที่ผลจะประทังปิดบังความยินดียินร้ายไว้ด้วยอำนาจสติ สมาธิ ที่สุดความยินดียินร้ายซึ่งมีผู้ยินดียินร้ายซ่อนตัวอยู่ในนั้นอาจตายขาดไปพร้อมกันได้เช่นกันอันเป็นแนวทางของท่านที่มีอุปนิสัยทางด้านเจโตวิมุติ

onion

ข้ออื่นเอาไว้ก่อน ลองดูข้อสอง. พุทธโธนี้คือพระนามของพระองค์ พระพุทธ้เจ้าทำไมไม่รู้ว่าการท่องชื่อพระองค์คือมรรค. ทำไมพระองค์ไม่สอนให้ท่องพุทธโธครับ

:b16:
คุณ bigtoo คงลืมไปมั้งครับ ในกรรมฐาน ๔๐ มีอนุสติ ๑๐
ซึ่งมีพุทธานุสติ รวมอยู่ในนั้นด้วย


ได้กล่าวแล้วว่าวิธีที่ ๑-๕ นั้นเป็นวิธีสู้ที่ผล ยังไม่ใช่วิธีของมรรค ๘ ตรงๆ แต่ก็เป็นเหตุให้ได้เจโตวิมุติ หรือปัญญาวิมุติบ้างเมื่อมาเจริญวิปัสสนาปัญญาต่อตรงกลาง

แต่วิธีที่ ๖ นั้นเป็นการเอาสติ ปัญญา สมาธิ ศีล มาร่วมกันทำงานค้นหาเหตุทุกข์ หรือสู้ที่สมุทัยตรงๆเป็นการทำงานโดยมรรค ๘ ตรงๆครับ

:b38:
พุทธานุสติคือการตามระลึกถึงคุณพระพุทธองค์ ไม่ใช่การท่องพระนามพระองค์
การท่องพระนามของพระองค์คือความคิดคำ พ- ุ -ท -ธ -โ -ธ ตรงนี้จะต้องใช้ความคิด. จะเข้าไม่ถึงผู้รู้และผู้ถูกรู้ว่ามีสิ่งเกิดดับ. สติไม่เกิดจึงไม่ใช่สัมมาสมาธิ ได้เพียงแค่สงบจิตไม่ไถ่ถอนความเห็นผิดครับ และถ้าผู้นั้นไม่ได้ศึกษาอริยะสัจสี่มา. จะยึดเอาความสงบว่าเป็นนิพพาน ก็ไปจบอยู่ที่พรหม. และอาจจะคิดว่าตนเองมีพลังพิเศษไปเสกคาถาท่องมนต์ทำของสักสิทธิ์รดน้ำมนต์ใครๆได้อันตรายมาก. ซึ่งมีให้เห็นมากมาย. ขัดกับคำสอนอยู่

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ส.ค. 2015, 22:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


bigtoo เขียน:
asoka เขียน:
bigtoo เขียน:
asoka เขียน:
:b36:
น่าเสียดายเรื่องการเอาความยินดียินร้ายออกเสียให้ได้ อันเป็นหัวใจสำคัญของสติปัฏฐาน ๔ ยังมีผู้สนใจน้อยเกินไป ไม่มีใครวิพากษ์วิจารณ์ ผมจึงยกกลับมาให้พิจารณากันใหม่อีกครั้งนึ่งครับ

อภิชฌา โทมนัสสังเป็นภาษาบาลีที่เมื่อแปลเป็นไทยแล้ว ก็คือ ความยินดีพอใจ กับความยินร้ายไม่ชอบ ธรรมดาๆเท่านั้นเอง

การเอาความยินดีกับความยินร้ายออกให้ได้ก็ใช้กำลังและความสามารถเช่นเดียวกันและพอๆกัน ไม่ถึงกับต้องระดับระดับพระอรหันต์ก็ได้

การนำความยินดียินร้ายออกจากใจนั้นมีได้หลายวิธีตามพื้นฐานความรู้ความสามารถของแต่ละคนอาจจำแนกออกเป็นกลุ่มๆได้ดังนี้

๑.โดยใช้สติที่มีกำลังมากตัด ผู้ที่ฝึกสติมานานจนมีกำลังมากเพียงแค่ระลึกรู้ความยินดีหรือความยินร้ายปรากฏขึ้นมาในจิตสติก็ตัดฉับยินดียิร้ายดับลงทันที วิธีนี้จะทำให้ไม่ทันได้เห็นสมุทัยกิเลสตัณหาจะตายด้วยอำนาจเจโตวิมุติ

๒.ใช้คำบริกรรมตัด หรือข่มเช่นยินดีหนอๆๆๆๆๆๆ หรือ ยินร้ายหนอๆๆๆๆ หรือบริกรรมพุทโธๆๆๆๆๆ สัมมาอรหังๆๆๆๆๆๆ อนัตตาๆๆๆๆๆๆถี่ๆไปจนจนความรู้สึกยินดียินร้ายนั้นดับไป

๓.ใช้กรรมฐานตัด คือผูกจิตมัดจิตไว้กับองค์กรรมฐานจนไม่สนใจไม่รับรู้ความยินดียินร้ายนั้น

๔.ใช้ความคิดเหตุและผลตัด

๕.ใช้ขันติ ตบะ วิริยะ ตัด โดยเฝ้ารู้ความยินดียินร้ายที่เกิดนั้นเฉยๆไปไม่ยอมทำอะไรตามอำนาจความยินดียินร้ายจนมันดับไป

๖.ใช้สติและปัญญาวิปัสสนานิ่งรู้นิ่งสังเกต ค้นเข้าไปในความยินดีหรือยินร้ายจนพบ "ผู้ยินดียินร้าย"ที่ซ่อนลึกอยู่ภายในแล้วใช้วิธีตามข้อ ๕ สู้จนผู้ยินดียินร้ายถอยหรือดับขาดไป ตายขาดไป
วิธีที่ ๖ นี้เป็นการสู้ที่เหตุเมื่อสำเร็จแล้วจะทำให้ความยินดียินร้ายหายขาดไม่หวนกลับคืนมาอีก
ส่วนวิธีที่ ๑ ถึง ๕ เป็นวิธีแก้ที่ผลจะประทังปิดบังความยินดียินร้ายไว้ด้วยอำนาจสติ สมาธิ ที่สุดความยินดียินร้ายซึ่งมีผู้ยินดียินร้ายซ่อนตัวอยู่ในนั้นอาจตายขาดไปพร้อมกันได้เช่นกันอันเป็นแนวทางของท่านที่มีอุปนิสัยทางด้านเจโตวิมุติ

onion

ข้ออื่นเอาไว้ก่อน ลองดูข้อสอง. พุทธโธนี้คือพระนามของพระองค์ พระพุทธ้เจ้าทำไมไม่รู้ว่าการท่องชื่อพระองค์คือมรรค. ทำไมพระองค์ไม่สอนให้ท่องพุทธโธครับ

:b16:
คุณ bigtoo คงลืมไปมั้งครับ ในกรรมฐาน ๔๐ มีอนุสติ ๑๐
ซึ่งมีพุทธานุสติ รวมอยู่ในนั้นด้วย


ได้กล่าวแล้วว่าวิธีที่ ๑-๕ นั้นเป็นวิธีสู้ที่ผล ยังไม่ใช่วิธีของมรรค ๘ ตรงๆ แต่ก็เป็นเหตุให้ได้เจโตวิมุติ หรือปัญญาวิมุติบ้างเมื่อมาเจริญวิปัสสนาปัญญาต่อตรงกลาง

แต่วิธีที่ ๖ นั้นเป็นการเอาสติ ปัญญา สมาธิ ศีล มาร่วมกันทำงานค้นหาเหตุทุกข์ หรือสู้ที่สมุทัยตรงๆเป็นการทำงานโดยมรรค ๘ ตรงๆครับ

:b38:
พุทธานุสติคือการตามระลึกถึงคุณพระพุทธองค์ ไม่ใช่การท่องพระนามพระองค์
การท่องพระนามของพระองค์คือความคิดคำ พ- ุ -ท -ธ -โ -ธ ตรงนี้จะต้องใช้ความคิด. จะเข้าไม่ถึงผู้รู้และผู้ถูกรู้ว่ามีสิ่งเกิดดับ. สติไม่เกิดจึงไม่ใช่สัมมาสมาธิ ได้เพียงแค่สงบจิตไม่ไถ่ถอนความเห็นผิดครับ และถ้าผู้นั้นไม่ได้ศึกษาอริยะสัจสี่มา. จะยึดเอาความสงบว่าเป็นนิพพาน ก็ไปจบอยู่ที่พรหม. และอาจจะคิดว่าตนเองมีพลังพิเศษไปเสกคาถาท่องมนต์ทำของสักสิทธิ์รดน้ำมนต์ใครๆได้อันตรายมาก. ซึ่งมีให้เห็นมากมาย. ขัดกับคำสอนอยู่

s005
ให้ตายเถอะจอร์จ...ไม่กราบพระรัตนตรัยใจก็ไม่ถึงพุทโธ
:b32: :b32: :b32: 555...กลายเป็นเจ้านู๋ทำไมไปเลย...
พุทโธ...ผู้รู้ พุทโธ...ผู้ตื่น พุทโธคือผู้เบิกบาน
พระพุทธเจ้ามีจำนวนมหาศาลขนาดไหนล่ะ
เทียบน้ำ1หยด=พระพุทธเจ้า1พระองค์
พระพุทธเจ้ามีประมาณมหาสมุทร
พุทโธคำเดียวถึงพระพุทธเจ้า
ทุกพระองค์อานิสงส์สูงสุด
พุทธานุสตินั้นยิ่งใหญ่
ไม่มีที่สิ้นสุดและ
ไม่มีประมาณ
ที่จะมาตรัสรู้
ในอนาคต
อนันต์
onion onion onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ส.ค. 2015, 06:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
bigtoo เขียน:
asoka เขียน:
bigtoo เขียน:
asoka เขียน:
:b36:
น่าเสียดายเรื่องการเอาความยินดียินร้ายออกเสียให้ได้ อันเป็นหัวใจสำคัญของสติปัฏฐาน ๔ ยังมีผู้สนใจน้อยเกินไป ไม่มีใครวิพากษ์วิจารณ์ ผมจึงยกกลับมาให้พิจารณากันใหม่อีกครั้งนึ่งครับ

อภิชฌา โทมนัสสังเป็นภาษาบาลีที่เมื่อแปลเป็นไทยแล้ว ก็คือ ความยินดีพอใจ กับความยินร้ายไม่ชอบ ธรรมดาๆเท่านั้นเอง

การเอาความยินดีกับความยินร้ายออกให้ได้ก็ใช้กำลังและความสามารถเช่นเดียวกันและพอๆกัน ไม่ถึงกับต้องระดับระดับพระอรหันต์ก็ได้

การนำความยินดียินร้ายออกจากใจนั้นมีได้หลายวิธีตามพื้นฐานความรู้ความสามารถของแต่ละคนอาจจำแนกออกเป็นกลุ่มๆได้ดังนี้

๑.โดยใช้สติที่มีกำลังมากตัด ผู้ที่ฝึกสติมานานจนมีกำลังมากเพียงแค่ระลึกรู้ความยินดีหรือความยินร้ายปรากฏขึ้นมาในจิตสติก็ตัดฉับยินดียิร้ายดับลงทันที วิธีนี้จะทำให้ไม่ทันได้เห็นสมุทัยกิเลสตัณหาจะตายด้วยอำนาจเจโตวิมุติ

๒.ใช้คำบริกรรมตัด หรือข่มเช่นยินดีหนอๆๆๆๆๆๆ หรือ ยินร้ายหนอๆๆๆๆ หรือบริกรรมพุทโธๆๆๆๆๆ สัมมาอรหังๆๆๆๆๆๆ อนัตตาๆๆๆๆๆๆถี่ๆไปจนจนความรู้สึกยินดียินร้ายนั้นดับไป

๓.ใช้กรรมฐานตัด คือผูกจิตมัดจิตไว้กับองค์กรรมฐานจนไม่สนใจไม่รับรู้ความยินดียินร้ายนั้น

๔.ใช้ความคิดเหตุและผลตัด

๕.ใช้ขันติ ตบะ วิริยะ ตัด โดยเฝ้ารู้ความยินดียินร้ายที่เกิดนั้นเฉยๆไปไม่ยอมทำอะไรตามอำนาจความยินดียินร้ายจนมันดับไป

๖.ใช้สติและปัญญาวิปัสสนานิ่งรู้นิ่งสังเกต ค้นเข้าไปในความยินดีหรือยินร้ายจนพบ "ผู้ยินดียินร้าย"ที่ซ่อนลึกอยู่ภายในแล้วใช้วิธีตามข้อ ๕ สู้จนผู้ยินดียินร้ายถอยหรือดับขาดไป ตายขาดไป
วิธีที่ ๖ นี้เป็นการสู้ที่เหตุเมื่อสำเร็จแล้วจะทำให้ความยินดียินร้ายหายขาดไม่หวนกลับคืนมาอีก
ส่วนวิธีที่ ๑ ถึง ๕ เป็นวิธีแก้ที่ผลจะประทังปิดบังความยินดียินร้ายไว้ด้วยอำนาจสติ สมาธิ ที่สุดความยินดียินร้ายซึ่งมีผู้ยินดียินร้ายซ่อนตัวอยู่ในนั้นอาจตายขาดไปพร้อมกันได้เช่นกันอันเป็นแนวทางของท่านที่มีอุปนิสัยทางด้านเจโตวิมุติ

onion

ข้ออื่นเอาไว้ก่อน ลองดูข้อสอง. พุทธโธนี้คือพระนามของพระองค์ พระพุทธ้เจ้าทำไมไม่รู้ว่าการท่องชื่อพระองค์คือมรรค. ทำไมพระองค์ไม่สอนให้ท่องพุทธโธครับ

:b16:
คุณ bigtoo คงลืมไปมั้งครับ ในกรรมฐาน ๔๐ มีอนุสติ ๑๐
ซึ่งมีพุทธานุสติ รวมอยู่ในนั้นด้วย


ได้กล่าวแล้วว่าวิธีที่ ๑-๕ นั้นเป็นวิธีสู้ที่ผล ยังไม่ใช่วิธีของมรรค ๘ ตรงๆ แต่ก็เป็นเหตุให้ได้เจโตวิมุติ หรือปัญญาวิมุติบ้างเมื่อมาเจริญวิปัสสนาปัญญาต่อตรงกลาง

แต่วิธีที่ ๖ นั้นเป็นการเอาสติ ปัญญา สมาธิ ศีล มาร่วมกันทำงานค้นหาเหตุทุกข์ หรือสู้ที่สมุทัยตรงๆเป็นการทำงานโดยมรรค ๘ ตรงๆครับ

:b38:
พุทธานุสติคือการตามระลึกถึงคุณพระพุทธองค์ ไม่ใช่การท่องพระนามพระองค์
การท่องพระนามของพระองค์คือความคิดคำ พ- ุ -ท -ธ -โ -ธ ตรงนี้จะต้องใช้ความคิด. จะเข้าไม่ถึงผู้รู้และผู้ถูกรู้ว่ามีสิ่งเกิดดับ. สติไม่เกิดจึงไม่ใช่สัมมาสมาธิ ได้เพียงแค่สงบจิตไม่ไถ่ถอนความเห็นผิดครับ และถ้าผู้นั้นไม่ได้ศึกษาอริยะสัจสี่มา. จะยึดเอาความสงบว่าเป็นนิพพาน ก็ไปจบอยู่ที่พรหม. และอาจจะคิดว่าตนเองมีพลังพิเศษไปเสกคาถาท่องมนต์ทำของสักสิทธิ์รดน้ำมนต์ใครๆได้อันตรายมาก. ซึ่งมีให้เห็นมากมาย. ขัดกับคำสอนอยู่

s005
ให้ตายเถอะจอร์จ...ไม่กราบพระรัตนตรัยใจก็ไม่ถึงพุทโธ
:b32: :b32: :b32: 555...กลายเป็นเจ้านู๋ทำไมไปเลย...
พุทโธ...ผู้รู้ พุทโธ...ผู้ตื่น พุทโธคือผู้เบิกบาน
พระพุทธเจ้ามีจำนวนมหาศาลขนาดไหนล่ะ
เทียบน้ำ1หยด=พระพุทธเจ้า1พระองค์
พระพุทธเจ้ามีประมาณมหาสมุทร
พุทโธคำเดียวถึงพระพุทธเจ้า
ทุกพระองค์อานิสงส์สูงสุด
พุทธานุสตินั้นยิ่งใหญ่
ไม่มีที่สิ้นสุดและ
ไม่มีประมาณ
ที่จะมาตรัสรู้
ในอนาคต
อนันต์
onion onion onion
ช่วยหาให้หน่อยจิ สอนท่อง คำว่าพุทธโธ. อยู่ส่วนไหน

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


แก้ไขล่าสุดโดย bigtoo เมื่อ 31 ส.ค. 2015, 06:28, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ส.ค. 2015, 06:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


แค่เป็นผู้ตื่น
รู้เข้าใจพระธรรมจริง
มีสติจริง
ก็ถึงพระพุทธ. พระธรรม พระสงฆ์แล้ว
ไม่ใช่ยังหลับอยู่
ไม่ใช่ท่องคาถา
ไม่ใช่ตามหาอรหันต์
จะถึงพระรัตนตรัยได้อย่างไร

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ส.ค. 2015, 17:38 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


bigtoo เขียน:
asoka เขียน:
bigtoo เขียน:
asoka เขียน:
:b36:
น่าเสียดายเรื่องการเอาความยินดียินร้ายออกเสียให้ได้ อันเป็นหัวใจสำคัญของสติปัฏฐาน ๔ ยังมีผู้สนใจน้อยเกินไป ไม่มีใครวิพากษ์วิจารณ์ ผมจึงยกกลับมาให้พิจารณากันใหม่อีกครั้งนึ่งครับ

อภิชฌา โทมนัสสังเป็นภาษาบาลีที่เมื่อแปลเป็นไทยแล้ว ก็คือ ความยินดีพอใจ กับความยินร้ายไม่ชอบ ธรรมดาๆเท่านั้นเอง

การเอาความยินดีกับความยินร้ายออกให้ได้ก็ใช้กำลังและความสามารถเช่นเดียวกันและพอๆกัน ไม่ถึงกับต้องระดับระดับพระอรหันต์ก็ได้

การนำความยินดียินร้ายออกจากใจนั้นมีได้หลายวิธีตามพื้นฐานความรู้ความสามารถของแต่ละคนอาจจำแนกออกเป็นกลุ่มๆได้ดังนี้

๑.โดยใช้สติที่มีกำลังมากตัด ผู้ที่ฝึกสติมานานจนมีกำลังมากเพียงแค่ระลึกรู้ความยินดีหรือความยินร้ายปรากฏขึ้นมาในจิตสติก็ตัดฉับยินดียิร้ายดับลงทันที วิธีนี้จะทำให้ไม่ทันได้เห็นสมุทัยกิเลสตัณหาจะตายด้วยอำนาจเจโตวิมุติ

๒.ใช้คำบริกรรมตัด หรือข่มเช่นยินดีหนอๆๆๆๆๆๆ หรือ ยินร้ายหนอๆๆๆๆ หรือบริกรรมพุทโธๆๆๆๆๆ สัมมาอรหังๆๆๆๆๆๆ อนัตตาๆๆๆๆๆๆถี่ๆไปจนจนความรู้สึกยินดียินร้ายนั้นดับไป

๓.ใช้กรรมฐานตัด คือผูกจิตมัดจิตไว้กับองค์กรรมฐานจนไม่สนใจไม่รับรู้ความยินดียินร้ายนั้น

๔.ใช้ความคิดเหตุและผลตัด

๕.ใช้ขันติ ตบะ วิริยะ ตัด โดยเฝ้ารู้ความยินดียินร้ายที่เกิดนั้นเฉยๆไปไม่ยอมทำอะไรตามอำนาจความยินดียินร้ายจนมันดับไป

๖.ใช้สติและปัญญาวิปัสสนานิ่งรู้นิ่งสังเกต ค้นเข้าไปในความยินดีหรือยินร้ายจนพบ "ผู้ยินดียินร้าย"ที่ซ่อนลึกอยู่ภายในแล้วใช้วิธีตามข้อ ๕ สู้จนผู้ยินดียินร้ายถอยหรือดับขาดไป ตายขาดไป
วิธีที่ ๖ นี้เป็นการสู้ที่เหตุเมื่อสำเร็จแล้วจะทำให้ความยินดียินร้ายหายขาดไม่หวนกลับคืนมาอีก
ส่วนวิธีที่ ๑ ถึง ๕ เป็นวิธีแก้ที่ผลจะประทังปิดบังความยินดียินร้ายไว้ด้วยอำนาจสติ สมาธิ ที่สุดความยินดียินร้ายซึ่งมีผู้ยินดียินร้ายซ่อนตัวอยู่ในนั้นอาจตายขาดไปพร้อมกันได้เช่นกันอันเป็นแนวทางของท่านที่มีอุปนิสัยทางด้านเจโตวิมุติ

onion

ข้ออื่นเอาไว้ก่อน ลองดูข้อสอง. พุทธโธนี้คือพระนามของพระองค์ พระพุทธ้เจ้าทำไมไม่รู้ว่าการท่องชื่อพระองค์คือมรรค. ทำไมพระองค์ไม่สอนให้ท่องพุทธโธครับ

:b16:
คุณ bigtoo คงลืมไปมั้งครับ ในกรรมฐาน ๔๐ มีอนุสติ ๑๐
ซึ่งมีพุทธานุสติ รวมอยู่ในนั้นด้วย


ได้กล่าวแล้วว่าวิธีที่ ๑-๕ นั้นเป็นวิธีสู้ที่ผล ยังไม่ใช่วิธีของมรรค ๘ ตรงๆ แต่ก็เป็นเหตุให้ได้เจโตวิมุติ หรือปัญญาวิมุติบ้างเมื่อมาเจริญวิปัสสนาปัญญาต่อตรงกลาง

แต่วิธีที่ ๖ นั้นเป็นการเอาสติ ปัญญา สมาธิ ศีล มาร่วมกันทำงานค้นหาเหตุทุกข์ หรือสู้ที่สมุทัยตรงๆเป็นการทำงานโดยมรรค ๘ ตรงๆครับ

:b38:
พุทธานุสติคือการตามระลึกถึงคุณพระพุทธองค์ ไม่ใช่การท่องพระนามพระองค์
การท่องพระนามของพระองค์คือความคิดคำ พ- ุ -ท -ธ -โ -ธ ตรงนี้จะต้องใช้ความคิด. จะเข้าไม่ถึงผู้รู้และผู้ถูกรู้ว่ามีสิ่งเกิดดับ. สติไม่เกิดจึงไม่ใช่สัมมาสมาธิ ได้เพียงแค่สงบจิตไม่ไถ่ถอนความเห็นผิดครับ และถ้าผู้นั้นไม่ได้ศึกษาอริยะสัจสี่มา. จะยึดเอาความสงบว่าเป็นนิพพาน ก็ไปจบอยู่ที่พรหม. และอาจจะคิดว่าตนเองมีพลังพิเศษไปเสกคาถาท่องมนต์ทำของสักสิทธิ์รดน้ำมนต์ใครๆได้อันตรายมาก. ซึ่งมีให้เห็นมากมาย. ขัดกับคำสอนอยู่

s004
การทำพุทธานุสติด้วยการท่องคำว่าพุทโธๆ จะตามลมหายใจเข้าออก หรือไม่ตามลมหายใจก็ตาม จะนึกถึงคุณของพระพุทธเจ้าหรือไม่ก็ตาม เป็นอุบายผูกสติ มัดจิตไว้ที่คำบริกรรมพุทโธหรือคุณของพระพุทโธ จนสติมีกำลังว่องไว จิตตั้งมั่นผ่านกำแพงนิวรณ์ ๕ ละคำบริกรรมพุทโธ เข้าญาณไปตามลำดับๆจนถึงฌาณ ๔ ก็ถึงที่ๆเรียกว่าสัมมาสมาธิสามารถน้อมไปเจริญปัญญาวิปัสสนาภาวนาต่อเข้าถึงมรรคผลนิพพานโดยปัญญาวิมุติได้

ถ้าเข้าถึงฌาณ ๔ แล้วทรงฌาณจนชำนาญเข้าอัปนาฌาณเข้าฌาณสมาบัติได้คล่องแคล่วจนถึงวันอันควรเกิดธรรมสังเวชจิตสลัดหลุดพ้นความเห็นผิดยึดผิดได้ด้วยกำลังแห่งสมาธิ หลุดพ้นเข้าสู่มรรคผลนิพพานได้โดยเจโตวิมุติ

แต่ถ้าเข้าฌาณสมาบัติคล่องแคล่วแล้วติดอยู่ในความสุขจากสมาธิฌาณ เอากำลังแห่งสมาธิและฌาณมากลบบังทุกขเวทนาและความยินดียินร้ายไว้ไม่ยอมเจริญปัญญาต่อ ก็จะตายในฌาณไปเกิดเป็นพรหมอย่างฤาษีทั้งหลาย

:b38:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ส.ค. 2015, 18:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
bigtoo เขียน:
asoka เขียน:
bigtoo เขียน:
asoka เขียน:
:b36:
น่าเสียดายเรื่องการเอาความยินดียินร้ายออกเสียให้ได้ อันเป็นหัวใจสำคัญของสติปัฏฐาน ๔ ยังมีผู้สนใจน้อยเกินไป ไม่มีใครวิพากษ์วิจารณ์ ผมจึงยกกลับมาให้พิจารณากันใหม่อีกครั้งนึ่งครับ

อภิชฌา โทมนัสสังเป็นภาษาบาลีที่เมื่อแปลเป็นไทยแล้ว ก็คือ ความยินดีพอใจ กับความยินร้ายไม่ชอบ ธรรมดาๆเท่านั้นเอง

การเอาความยินดีกับความยินร้ายออกให้ได้ก็ใช้กำลังและความสามารถเช่นเดียวกันและพอๆกัน ไม่ถึงกับต้องระดับระดับพระอรหันต์ก็ได้

การนำความยินดียินร้ายออกจากใจนั้นมีได้หลายวิธีตามพื้นฐานความรู้ความสามารถของแต่ละคนอาจจำแนกออกเป็นกลุ่มๆได้ดังนี้

๑.โดยใช้สติที่มีกำลังมากตัด ผู้ที่ฝึกสติมานานจนมีกำลังมากเพียงแค่ระลึกรู้ความยินดีหรือความยินร้ายปรากฏขึ้นมาในจิตสติก็ตัดฉับยินดียิร้ายดับลงทันที วิธีนี้จะทำให้ไม่ทันได้เห็นสมุทัยกิเลสตัณหาจะตายด้วยอำนาจเจโตวิมุติ

๒.ใช้คำบริกรรมตัด หรือข่มเช่นยินดีหนอๆๆๆๆๆๆ หรือ ยินร้ายหนอๆๆๆๆ หรือบริกรรมพุทโธๆๆๆๆๆ สัมมาอรหังๆๆๆๆๆๆ อนัตตาๆๆๆๆๆๆถี่ๆไปจนจนความรู้สึกยินดียินร้ายนั้นดับไป

๓.ใช้กรรมฐานตัด คือผูกจิตมัดจิตไว้กับองค์กรรมฐานจนไม่สนใจไม่รับรู้ความยินดียินร้ายนั้น

๔.ใช้ความคิดเหตุและผลตัด

๕.ใช้ขันติ ตบะ วิริยะ ตัด โดยเฝ้ารู้ความยินดียินร้ายที่เกิดนั้นเฉยๆไปไม่ยอมทำอะไรตามอำนาจความยินดียินร้ายจนมันดับไป

๖.ใช้สติและปัญญาวิปัสสนานิ่งรู้นิ่งสังเกต ค้นเข้าไปในความยินดีหรือยินร้ายจนพบ "ผู้ยินดียินร้าย"ที่ซ่อนลึกอยู่ภายในแล้วใช้วิธีตามข้อ ๕ สู้จนผู้ยินดียินร้ายถอยหรือดับขาดไป ตายขาดไป
วิธีที่ ๖ นี้เป็นการสู้ที่เหตุเมื่อสำเร็จแล้วจะทำให้ความยินดียินร้ายหายขาดไม่หวนกลับคืนมาอีก
ส่วนวิธีที่ ๑ ถึง ๕ เป็นวิธีแก้ที่ผลจะประทังปิดบังความยินดียินร้ายไว้ด้วยอำนาจสติ สมาธิ ที่สุดความยินดียินร้ายซึ่งมีผู้ยินดียินร้ายซ่อนตัวอยู่ในนั้นอาจตายขาดไปพร้อมกันได้เช่นกันอันเป็นแนวทางของท่านที่มีอุปนิสัยทางด้านเจโตวิมุติ

onion

ข้ออื่นเอาไว้ก่อน ลองดูข้อสอง. พุทธโธนี้คือพระนามของพระองค์ พระพุทธ้เจ้าทำไมไม่รู้ว่าการท่องชื่อพระองค์คือมรรค. ทำไมพระองค์ไม่สอนให้ท่องพุทธโธครับ

:b16:
คุณ bigtoo คงลืมไปมั้งครับ ในกรรมฐาน ๔๐ มีอนุสติ ๑๐
ซึ่งมีพุทธานุสติ รวมอยู่ในนั้นด้วย


ได้กล่าวแล้วว่าวิธีที่ ๑-๕ นั้นเป็นวิธีสู้ที่ผล ยังไม่ใช่วิธีของมรรค ๘ ตรงๆ แต่ก็เป็นเหตุให้ได้เจโตวิมุติ หรือปัญญาวิมุติบ้างเมื่อมาเจริญวิปัสสนาปัญญาต่อตรงกลาง

แต่วิธีที่ ๖ นั้นเป็นการเอาสติ ปัญญา สมาธิ ศีล มาร่วมกันทำงานค้นหาเหตุทุกข์ หรือสู้ที่สมุทัยตรงๆเป็นการทำงานโดยมรรค ๘ ตรงๆครับ

:b38:
พุทธานุสติคือการตามระลึกถึงคุณพระพุทธองค์ ไม่ใช่การท่องพระนามพระองค์
การท่องพระนามของพระองค์คือความคิดคำ พ- ุ -ท -ธ -โ -ธ ตรงนี้จะต้องใช้ความคิด. จะเข้าไม่ถึงผู้รู้และผู้ถูกรู้ว่ามีสิ่งเกิดดับ. สติไม่เกิดจึงไม่ใช่สัมมาสมาธิ ได้เพียงแค่สงบจิตไม่ไถ่ถอนความเห็นผิดครับ และถ้าผู้นั้นไม่ได้ศึกษาอริยะสัจสี่มา. จะยึดเอาความสงบว่าเป็นนิพพาน ก็ไปจบอยู่ที่พรหม. และอาจจะคิดว่าตนเองมีพลังพิเศษไปเสกคาถาท่องมนต์ทำของสักสิทธิ์รดน้ำมนต์ใครๆได้อันตรายมาก. ซึ่งมีให้เห็นมากมาย. ขัดกับคำสอนอยู่

s004
การทำพุทธานุสติด้วยการท่องคำว่าพุทโธๆ จะตามลมหายใจเข้าออก หรือไม่ตามลมหายใจก็ตาม จะนึกถึงคุณของพระพุทธเจ้าหรือไม่ก็ตาม เป็นอุบายผูกสติ มัดจิตไว้ที่คำบริกรรมพุทโธหรือคุณของพระพุทโธ จนสติมีกำลังว่องไว จิตตั้งมั่นผ่านกำแพงนิวรณ์ ๕ ละคำบริกรรมพุทโธ เข้าญาณไปตามลำดับๆจนถึงฌาณ ๔ ก็ถึงที่ๆเรียกว่าสัมมาสมาธิสามารถน้อมไปเจริญปัญญาวิปัสสนาภาวนาต่อเข้าถึงมรรคผลนิพพานโดยปัญญาวิมุติได้

ถ้าเข้าถึงฌาณ ๔ แล้วทรงฌาณจนชำนาญเข้าอัปนาฌาณเข้าฌาณสมาบัติได้คล่องแคล่วจนถึงวันอันควรเกิดธรรมสังเวชจิตสลัดหลุดพ้นความเห็นผิดยึดผิดได้ด้วยกำลังแห่งสมาธิ หลุดพ้นเข้าสู่มรรคผลนิพพานได้โดยเจโตวิมุติ

แต่ถ้าเข้าฌาณสมาบัติคล่องแคล่วแล้วติดอยู่ในความสุขจากสมาธิฌาณ เอากำลังแห่งสมาธิและฌาณมากลบบังทุกขเวทนาและความยินดียินร้ายไว้ไม่ยอมเจริญปัญญาต่อ ก็จะตายในฌาณไปเกิดเป็นพรหมอย่างฤาษีทั้งหลาย

:b38:
นี่เขาเรียกว่าคิดเอาเอง เออเอง. ว่าขั้นตอนแบบนี้ในระหว่างคุณท่องอะไรก็ตามโดยไม่มีสติระลึกตรงความจริงคือลมกระทบยาวสั้นตลอดเวลาเห็นการเกิดดับของรูปและนามคุณจะไม่เกิดสัมมาสติเลยคุณจะได้สัมมาสมาธิได้อย่างไร. มันก็เกิดสงบนั้นแหล่ะแต่ความสงบนั้นจะขาดสติ. พวกที่บอกว่าลมหายใจหายไปไหนหาไม่เจอไง พวกนี้แหล่ะครับที่ขาดสติทั้งๆลมหายใจมันก็มีอยู่แต่โดนความสงบบังเอาไว้แล้วเข้าใจว่าตนเองผ่านฌานที่สี่. แล้วบอกว่าจะไปวิปัสนาคุณจะเอาสติมาจากไหนขนาดลมคุณยังหามันไม่เจอเลย

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ส.ค. 2015, 20:53 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


bigtoo เขียน:


. พวกที่บอกว่าลมหายใจหายไปไหนหาไม่เจอไง พวกนี้แหล่ะครับที่ขาดสติทั้งๆลมหายใจมันก็มีอยู่แต่โดนความสงบบังเอาไว้แล้วเข้าใจว่าตนเองผ่านฌานที่สี่. แล้วบอกว่าจะไปวิปัสนาคุณจะเอาสติมาจากไหนขนาดลมคุณยังหามันไม่เจอเลย


ฌาน 4 ขาดสติ...เหรอ..

:b32: :b32: :b32:

จุ..จุ..จุ.....อย่ามโน..อย่ามโน...

รูปภาพ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ส.ค. 2015, 21:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
bigtoo เขียน:


. พวกที่บอกว่าลมหายใจหายไปไหนหาไม่เจอไง พวกนี้แหล่ะครับที่ขาดสติทั้งๆลมหายใจมันก็มีอยู่แต่โดนความสงบบังเอาไว้แล้วเข้าใจว่าตนเองผ่านฌานที่สี่. แล้วบอกว่าจะไปวิปัสนาคุณจะเอาสติมาจากไหนขนาดลมคุณยังหามันไม่เจอเลย


ฌาน 4 ขาดสติ...เหรอ..

:b32: :b32: :b32:

จุ..จุ..จุ.....อย่ามโน..อย่ามโน...

รูปภาพ
อะไรของคุณ ผมบอกพวกที่หาลมหายใจไม่เจอนึกว่าเข้าฌานสี่ได้ พวกนี้ขาดสติทั้งๆที่ลมหายใจมึอยู่แต่หาไม่เจอ

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ส.ค. 2015, 22:31 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
bigtoo เขียน:


. พวกที่บอกว่าลมหายใจหายไปไหนหาไม่เจอไง พวกนี้แหล่ะครับที่ขาดสติทั้งๆลมหายใจมันก็มีอยู่แต่โดนความสงบบังเอาไว้แล้วเข้าใจว่าตนเองผ่านฌานที่สี่. แล้วบอกว่าจะไปวิปัสนาคุณจะเอาสติมาจากไหนขนาดลมคุณยังหามันไม่เจอเลย


ฌาน 4 ขาดสติ...เหรอ..

:b32: :b32: :b32:

จุ..จุ..จุ.....อย่ามโน..อย่ามโน...

รูปภาพ


bigtoo เขียน:
อะไรของคุณ ผมบอกพวกที่หาลมหายใจไม่เจอนึกว่าเข้าฌานสี่ได้ พวกนี้ขาดสติทั้งๆที่ลมหายใจมึอยู่แต่หาไม่เจอ


แล้วฌาน 4 มีรู้ลมหายใจ...ด้วยเหรอ s005 s005


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ก.ย. 2015, 06:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
bigtoo เขียน:


. พวกที่บอกว่าลมหายใจหายไปไหนหาไม่เจอไง พวกนี้แหล่ะครับที่ขาดสติทั้งๆลมหายใจมันก็มีอยู่แต่โดนความสงบบังเอาไว้แล้วเข้าใจว่าตนเองผ่านฌานที่สี่. แล้วบอกว่าจะไปวิปัสนาคุณจะเอาสติมาจากไหนขนาดลมคุณยังหามันไม่เจอเลย


ฌาน 4 ขาดสติ...เหรอ..

:b32: :b32: :b32:

จุ..จุ..จุ.....อย่ามโน..อย่ามโน...

รูปภาพ


bigtoo เขียน:
อะไรของคุณ ผมบอกพวกที่หาลมหายใจไม่เจอนึกว่าเข้าฌานสี่ได้ พวกนี้ขาดสติทั้งๆที่ลมหายใจมึอยู่แต่หาไม่เจอ


แล้วฌาน 4 มีรู้ลมหายใจ...ด้วยเหรอ s005 s005

กบลองถามคุณrosarinดูซิ. เห็นแกบอกว่าลมๆๆอะไรหายไปน่ะ

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ก.ย. 2015, 07:46 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


อ้อ..Bigtoo ไม่รู้..
จึงไล่ให้ไปถามคุณรส..

เมื่อ Bigtoo ไม่รู้...แล้วพูดได้ยังงัยว่า..."คนหาลมหายใจไม่เจอไม่มีสติ...เข้าใจผิดว่าผ่านฌาน 4 แล้ว.".นะ

bigtoo เขียน:


. พวกที่บอกว่าลมหายใจหายไปไหนหาไม่เจอไง พวกนี้แหล่ะครับที่ขาดสติทั้งๆลมหายใจมันก็มีอยู่แต่โดนความสงบบังเอาไว้แล้วเข้าใจว่าตนเองผ่านฌานที่สี่. แล้วบอกว่าจะไปวิปัสนาคุณจะเอาสติมาจากไหนขนาดลมคุณยังหามันไม่เจอเลย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ก.ย. 2015, 07:51 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


เอาละ..เอาละ....ย้อนกลับไปที่Bigtoo คำถาม อโสกะ..ละกัน

เด้วหาว่ามาขัดคอ.. :b9: :b9: :b9:

asoka เขียน:
s004
การทำพุทธานุสติด้วยการท่องคำว่าพุทโธๆ จะตามลมหายใจเข้าออก หรือไม่ตามลมหายใจก็ตาม จะนึกถึงคุณของพระพุทธเจ้าหรือไม่ก็ตาม เป็นอุบายผูกสติ มัดจิตไว้ที่คำบริกรรมพุทโธหรือคุณของพระพุทโธ จนสติมีกำลังว่องไว จิตตั้งมั่นผ่านกำแพงนิวรณ์ ๕ ละคำบริกรรมพุทโธ เข้าญาณไปตามลำดับๆจนถึงฌาณ ๔ ก็ถึงที่ๆเรียกว่าสัมมาสมาธิสามารถน้อมไปเจริญปัญญาวิปัสสนาภาวนาต่อเข้าถึงมรรคผลนิพพานโดยปัญญาวิมุติได้

ถ้าเข้าถึงฌาณ ๔ แล้วทรงฌาณจนชำนาญเข้าอัปนาฌาณเข้าฌาณสมาบัติได้คล่องแคล่วจนถึงวันอันควรเกิดธรรมสังเวชจิตสลัดหลุดพ้นความเห็นผิดยึดผิดได้ด้วยกำลังแห่งสมาธิ หลุดพ้นเข้าสู่มรรคผลนิพพานได้โดยเจโตวิมุติ

แต่ถ้าเข้าฌาณสมาบัติคล่องแคล่วแล้วติดอยู่ในความสุขจากสมาธิฌาณ เอากำลังแห่งสมาธิและฌาณมากลบบังทุกขเวทนาและความยินดียินร้ายไว้ไม่ยอมเจริญปัญญาต่อ ก็จะตายในฌาณไปเกิดเป็นพรหมอย่างฤาษีทั้งหลาย

:b38:


bigtoo เขียน:

นี่เขาเรียกว่าคิดเอาเอง เออเอง. ว่าขั้นตอนแบบนี้ในระหว่างคุณท่องอะไรก็ตามโดยไม่มีสติระลึกตรงความจริงคือลมกระทบยาวสั้นตลอดเวลาเห็นการเกิดดับของรูปและนามคุณจะไม่เกิดสัมมาสติเลยคุณจะได้สัมมาสมาธิได้อย่างไร. มันก็เกิดสงบนั้นแหล่ะแต่ความสงบนั้นจะขาดสติ. พวกที่บอกว่าลมหายใจหายไปไหนหาไม่เจอไง พวกนี้แหล่ะครับที่ขาดสติทั้งๆลมหายใจมันก็มีอยู่แต่โดนความสงบบังเอาไว้แล้วเข้าใจว่าตนเองผ่านฌานที่สี่. แล้วบอกว่าจะไปวิปัสนาคุณจะเอาสติมาจากไหนขนาดลมคุณยังหามันไม่เจอเลย


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 911 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 15, 16, 17, 18, 19, 20, 21 ... 61  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร