วันเวลาปัจจุบัน 19 ก.ค. 2025, 13:10  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 194 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6 ... 13  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2014, 08:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


การบรรลุธรรม (ส่วนตัว) ของอโศกจะเป็นทำนองแบบตีความประโยคคำพูดเช่นว่า

อ้างคำพูด:
อโศกเขียน

"สำรวมกายใจมา นิ่งรู้ นิ่งสังเกตปัจจุบันอารมณ์ จนดับไปต่อหน้าต่อตา"

ตีความหมายของบัญญัติประโยคนี้ให้แตกแล้วนำไปสู่การทำจริงให้ได้ ความบรรลุธรรมจังไม่เป็นของยากเลย

viewtopic.php?f=1&t=47966&p=354940#p354940




ตีให้แตกว่างั้น เมื่อตีความจนแตกแล้วก็บรรลุธรรม ขั้นหนึ่ง เป็นโสดาบัน (ว่างั้น)

ถ้าสังเกตหน่อยก็จะเห็นว่า การบรรลุธรรมแบบอโศกกับเช่นนั้นเนี่ย ทำนองคนเล่นหวย รู้ข่าวว่าวัดไหนพระให้หวยได้ มีข่าวว่าคนเคยนำไปแทงแล้วถูก ตัวเองก็ไปนั่งตีความจับกริยาอาการของพระรูปนั่น เช่น ท่านพูดอะไรแผลงๆเป็นปริศนาบ้าง บ้วนน้ำหมากกี่ครั้ง ยกไม้ยกมือกี่หน กระดิกนิ้วกี่นิ้ว ฯลฯ แล้วตนก็นำมาบวกลบคูณหารอีกที ได้เท่าไร ก็นำไปแทงหวย ถูกบ้างผิดบ้าง ฟลุ๊คก็ถูก แต่ส่วนมากผิด การบรรลุธรรมของสองสหายจะออกโทนนี้ :b32: อ้าวจริงๆสังเกตดูซี่

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2014, 08:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


พุทธพจน์แสดงวิธีปฏิบัติ


"ภิกษุทั้งหลาย อานาปานสติ เจริญอย่างไร ทำให้มากอย่างไร จึงจะมีผลมาก มีอานิสงส์มาก ? ภิกษุในธรรมวินัยนี้

ก. ไปสู่ป่าก็ดี ไปสู่โคนไม้ ก็ดี ไปสู่เรือนว่าง ก็ดี
ข. นั่งคู้บัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า
ค. เธอมีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก

หมวดสี่ ที่ ๑ ใช้บำเพ็ญกายานุปัสสนาสติปัฏฐานได้

๑) เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่าหายใจออกยาว

เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่าหายใจเข้ายาว

๒) เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่าหายใจออกสั้น

เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้ชัดว่าหายใจเข้าสั้น


๓) สำเหนียกว่า จักเป็นผู้รู้ตลอดกายทั้งหมด หายใจออก

สำเหนียกว่า จักเป็นผู้รู้ตลอดกายทั้งหมด หายใจเข้า


๔) สำเหนียกว่า จักเป็นผู้ระงับกายสังขาร หายใจออก

สำเหนียกว่า จักเป็นผู้ระงับกายสังขาร หายใจเข้า


(นำมาให้ดูพอเห็นเค้าหมวดเดียวพอ)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2014, 09:47 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
การบรรลุธรรม (ส่วนตัว) ของอโศกจะเป็นทำนองแบบตีความประโยคคำพูดเช่นว่า

อ้างคำพูด:
อโศกเขียน

"สำรวมกายใจมา นิ่งรู้ นิ่งสังเกตปัจจุบันอารมณ์ จนดับไปต่อหน้าต่อตา"

ตีความหมายของบัญญัติประโยคนี้ให้แตกแล้วนำไปสู่การทำจริงให้ได้ ความบรรลุธรรมจังไม่เป็นของยากเลย

viewtopic.php?f=1&t=47966&p=354940#p354940




ตีให้แตกว่างั้น เมื่อตีความจนแตกแล้วก็บรรลุธรรม ขั้นหนึ่ง เป็นโสดาบัน (ว่างั้น)

ถ้าสังเกตหน่อยก็จะเห็นว่า การบรรลุธรรมแบบอโศกกับเช่นนั้นเนี่ย ทำนองคนเล่นหวย รู้ข่าวว่าวัดไหนพระให้หวยได้ มีข่าวว่าคนเคยนำไปแทงแล้วถูก ตัวเองก็ไปนั่งตีความจับกริยาอาการของพระรูปนั่น เช่น ท่านพูดอะไรแผลงๆเป็นปริศนาบ้าง บ้วนน้ำหมากกี่ครั้ง ยกไม้ยกมือกี่หน กระดิกนิ้วกี่นิ้ว ฯลฯ แล้วตนก็นำมาบวกลบคูณหารอีกที ได้เท่าไร ก็นำไปแทงหวย ถูกบ้างผิดบ้าง ฟลุ๊คก็ถูก แต่ส่วนมากผิด การบรรลุธรรมของสองสหายจะออกโทนนี้ :b32: อ้าวจริงๆสังเกตดูซี่

:b7:
กรัชกายขาดความแยบคายและขาดความสังเกตพิจารณาโดยละเอียดอ่อนอีกแล้ว อย่างนี้นี่เองจึงติดค้างอยู่ในบัญญัติอีกนาน การต่างๆก็ใช้แต่เพียงวิธีคิด คาด เดาสุ่ม ไม่คุ้มค่าแห่งความเป็นนักวิชาการใหญ่เลย

ดูให้ดี

ตีให้แตกว่างั้น เมื่อตีความจนแตกแล้วก็บรรลุธรรม

กับ

ตีความหมายของบัญญัติประโยคนี้ให้แตกแล้วนำไปสู่การทำจริงให้ได้

ต่างกันตรงไหนเป็นสำคัญ กรัชกายลองค้นคำตอบออกมาให้ได้ซิ แล้วกลับไปดูคำวิจารณ์ของตนซิว่ามันผิดพลาดแค่ไหนเมื่อตีความมาได้ไม่ถูกต้อง การลงมือทำและผลของมันแตกต่างไปเยอะเลยเชียวนะ

ละเอียดถี่ถ้วนหน่อย ๆ เรื่องธรรมไม่ใช่ของหยาบๆอย่างใจกรัชกายหรอกนะ
s004


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2014, 10:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
การบรรลุธรรม (ส่วนตัว) ของอโศกจะเป็นทำนองแบบตีความประโยคคำพูดเช่นว่า

อ้างคำพูด:
อโศกเขียน

"สำรวมกายใจมา นิ่งรู้ นิ่งสังเกตปัจจุบันอารมณ์ จนดับไปต่อหน้าต่อตา"

ตีความหมายของบัญญัติประโยคนี้ให้แตกแล้วนำไปสู่การทำจริงให้ได้ ความบรรลุธรรมจังไม่เป็นของยากเลย

viewtopic.php?f=1&t=47966&p=354940#p354940




ตีให้แตกว่างั้น เมื่อตีความจนแตกแล้วก็บรรลุธรรม ขั้นหนึ่ง เป็นโสดาบัน (ว่างั้น)

ถ้าสังเกตหน่อยก็จะเห็นว่า การบรรลุธรรมแบบอโศกกับเช่นนั้นเนี่ย ทำนองคนเล่นหวย รู้ข่าวว่าวัดไหนพระให้หวยได้ มีข่าวว่าคนเคยนำไปแทงแล้วถูก ตัวเองก็ไปนั่งตีความจับกริยาอาการของพระรูปนั่น เช่น ท่านพูดอะไรแผลงๆเป็นปริศนาบ้าง บ้วนน้ำหมากกี่ครั้ง ยกไม้ยกมือกี่หน กระดิกนิ้วกี่นิ้ว ฯลฯ แล้วตนก็นำมาบวกลบคูณหารอีกที ได้เท่าไร ก็นำไปแทงหวย ถูกบ้างผิดบ้าง ฟลุ๊คก็ถูก แต่ส่วนมากผิด การบรรลุธรรมของสองสหายจะออกโทนนี้ :b32: อ้าวจริงๆสังเกตดูซี่

:b7:
กรัชกายขาดความแยบคายและขาดความสังเกตพิจารณาโดยละเอียดอ่อนอีกแล้ว อย่างนี้นี่เองจึงติดค้างอยู่ในบัญญัติอีกนาน การต่างๆก็ใช้แต่เพียงวิธีคิด คาด เดาสุ่ม ไม่คุ้มค่าแห่งความเป็นนักวิชาการใหญ่เลย

ดูให้ดี

ตีให้แตกว่างั้น เมื่อตีความจนแตกแล้วก็บรรลุธรรม

กับ

ตีความหมายของบัญญัติประโยคนี้ให้แตกแล้วนำไปสู่การทำจริงให้ได้

ต่างกันตรงไหนเป็นสำคัญ กรัชกายลองค้นคำตอบออกมาให้ได้ซิ แล้วกลับไปดูคำวิจารณ์ของตนซิว่ามันผิดพลาดแค่ไหนเมื่อตีความมาได้ไม่ถูกต้อง การลงมือทำและผลของมันแตกต่างไปเยอะเลยเชียวนะ

ละเอียดถี่ถ้วนหน่อย ๆ เรื่องธรรมไม่ใช่ของหยาบๆอย่างใจกรัชกายหรอกนะ



นี่แหละถึงว่า ธรรมตีหวย ธรรมจับลม ธรรมจับปอบ คิกๆๆ ตกหลุมความคิดตัวเอง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 มิ.ย. 2014, 10:26 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b12: :b12: :b12:

นี่แหละถึงว่า ธรรมตีหวย ธรรมจับลม ธรรมจับปอบ คิกๆๆ ตกหลุมความคิดตัวเอง
:b17: :b17:
ใช่เด้ะเลย ตรงกับบุคคลิกลักษณะและคุณสมบัติของกรัชกายเป๊ะเลย คำสรุปอันนี้
แก้ไขตนเองเสียนะ

onion onion onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 04:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
การบรรลุธรรม (ส่วนตัว) ของอโศกจะเป็นทำนองแบบตีความประโยคคำพูดเช่นว่า

อ้างคำพูด:
อโศกเขียน

"สำรวมกายใจมา นิ่งรู้ นิ่งสังเกตปัจจุบันอารมณ์ จนดับไปต่อหน้าต่อตา"

ตีความหมายของบัญญัติประโยคนี้ให้แตกแล้วนำไปสู่การทำจริงให้ได้ ความบรรลุธรรมจังไม่เป็นของยากเลย

viewtopic.php?f=1&t=47966&p=354940#p354940




ตีให้แตกว่างั้น เมื่อตีความจนแตกแล้วก็บรรลุธรรม ขั้นหนึ่ง เป็นโสดาบัน (ว่างั้น)

ถ้าสังเกตหน่อยก็จะเห็นว่า การบรรลุธรรมแบบอโศกกับเช่นนั้นเนี่ย ทำนองคนเล่นหวย รู้ข่าวว่าวัดไหนพระให้หวยได้ มีข่าวว่าคนเคยนำไปแทงแล้วถูก ตัวเองก็ไปนั่งตีความจับกริยาอาการของพระรูปนั่น เช่น ท่านพูดอะไรแผลงๆเป็นปริศนาบ้าง บ้วนน้ำหมากกี่ครั้ง ยกไม้ยกมือกี่หน กระดิกนิ้วกี่นิ้ว ฯลฯ แล้วตนก็นำมาบวกลบคูณหารอีกที ได้เท่าไร ก็นำไปแทงหวย ถูกบ้างผิดบ้าง ฟลุ๊คก็ถูก แต่ส่วนมากผิด การบรรลุธรรมของสองสหายจะออกโทนนี้ :b32: อ้าวจริงๆสังเกตดูซี่

:b7:
กรัชกายขาดความแยบคายและขาดความสังเกตพิจารณาโดยละเอียดอ่อนอีกแล้ว อย่างนี้นี่เองจึงติดค้างอยู่ในบัญญัติอีกนาน การต่างๆก็ใช้แต่เพียงวิธีคิด คาด เดาสุ่ม ไม่คุ้มค่าแห่งความเป็นนักวิชาการใหญ่เลย

ดูให้ดี

ตีให้แตกว่างั้น เมื่อตีความจนแตกแล้วก็บรรลุธรรม

กับ

ตีความหมายของบัญญัติประโยคนี้ให้แตกแล้วนำไปสู่การทำจริงให้ได้

ต่างกันตรงไหนเป็นสำคัญ กรัชกายลองค้นคำตอบออกมาให้ได้ซิ แล้วกลับไปดูคำวิจารณ์ของตนซิว่ามันผิดพลาดแค่ไหนเมื่อตีความมาได้ไม่ถูกต้อง การลงมือทำและผลของมันแตกต่างไปเยอะเลยเชียวนะ

ละเอียดถี่ถ้วนหน่อย ๆ เรื่องธรรมไม่ใช่ของหยาบๆอย่างใจกรัชกายหรอกนะ


นี่แหละถึงว่า ธรรมตีหวย ธรรมจับลม ธรรมจับปอบ คิกๆๆ ตกหลุมความคิดตัวเอง


ท่านอโศกขอรับกระผม :b8: :b1:

เทียบวิธีการบรรลุธรรมของอโศกด้วยการตีความหมาย (คาดเดาหรืออะไรก็แล้วแต่) ที่อโศกว่า


อ้างคำพูด:
ตีความหมายของบัญญัติประโยคนี้ให้แตกแล้ว นำไปสู่การทำจริงให้ได้

ต่างกันตรงไหนเป็นสำคัญ กรัชกายลองค้นคำตอบออกมาให้ได้ซิ แล้วกลับไปดูคำวิจารณ์ของตนซิว่ามันผิดพลาดแค่ไหนเมื่อตีความมาได้ไม่ถูกต้อง การลงมือทำและผลของมันแตกต่างไปเยอะเลยเชียวนะ


กับตัวอย่างการปฏิบัติธรรม หรือปฏิบัติกรรมฐาน หรือจะเรียกทำจริงก็ได้นี้

อ้างคำพูด:
เวลาผมนั่งสมาธิ พอภาวนาไปซักพัก เริ่มตัดภาวนาไปแล้วทีนี้ก็จะเกิดอาการ ขนลุกเย็นทั้งตัว แล้วหลังจากนั้นก็จะมีภาพ คน สัตว์ แมลง ที่เราเคยทำร้ายเคยทำให้เค้าตาย หรือเจ็บลอยมาให้เห็น คือ แปลกใจว่า บางเรื่องเป็นเรื่องที่นานมากบางเรื่องเป็นเรื่องสมัยเด็กๆอยู่ด้วยซ้ำ ซึ่งบางทีนึกถึงยังนึกไม่ออกเลย เพราะนานมาก แต่พอมานั่งสมาธิ ก็ลอยมาให้เห็นเฉยเลย
มีคำถามสองข้อที่สงสัย
1.เกิดอะไรขึ้นกับการทำสมาธิของผมครับ
2.แล้วต้องทำอย่างไรเมื่อเจอแบบนี้อีกครับ



ของใครมันชัดเจน ไม่ต้องตีความให้เกิดความจนเป็นความขึ้นโรงขึ้นศาลกัน อโศกทัศนาสิครับ :b1:

แล้วดูด้วยว่า "ธรรมตีหวย ธรรมจับลม ธรรมจับปอบ ตกหลุมความคิดตัวเอง" เหมาะสมกับตัวอย่างไหน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 22:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อีกแบบหนึ่ง ที่ใช้ลมเข้า-ออก (ลมกระทบที่จมูก) เป็นที่ฝึกจิต โดยใช้พุทโธ เป็นคำบริกรรมกำกับ เช่นเขณะลมเข้าว่า พุท ขณะลมออกว่า โธ หรือ จะใช้คำว่า ธรรม-โม หรืออื่นๆก็ได้อีก อย่าติดคำว่า พุทโธ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 22:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ไม่มีใครค้านเลย เอาอีกแบบ แบบนี้น่าจะมีคนค้านสักคนสองคน :b32:

แบบนี้ ใช้อาการท้องพอง กับ ยุบ เป็นที่ฝึกจิต ขณะท้องพอง ว่าพองหนอ ขณะท้องยุบว่า ยุบหนอ พองหนอ ยุบหนอ ตามอาการพอง-ยุบ แต่ละขณะๆให้ทัน แต่แบบนี้พลิกแผลงได้ เช่น ขณะใดจิตแว้บออกนอกกรรมฐานคือพอง-ยุบ ว่าคิดหนอๆๆ เป็นต้น

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 22:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้นค้านหน่อยสิครับ :b8: :b13:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 มิ.ย. 2014, 22:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้นค้านหน่อยสิครับ :b8: :b13:

ค้านเพื่ออะไรครับ
ในเมื่อ กรัชกาย จะเขียนเกี่ยวกับ
แบบ ต่างๆ ของอะไรสักอย่างที่เรียกว่า กรรมฐาน

ตามสบายครับ
เรื่องนอกคำสอนไม่ถนัดครับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 มิ.ย. 2014, 05:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้นค้านหน่อยสิครับ :b8: :b13:

ค้านเพื่ออะไรครับ
ในเมื่อ กรัชกาย จะเขียนเกี่ยวกับ
แบบ ต่างๆ ของอะไรสักอย่างที่เรียกว่า กรรมฐาน

ตามสบายครับ
เรื่องนอกคำสอนไม่ถนัดครับ


อ้างคำพูด:
เรื่องนอกคำสอนไม่ถนัดครับ



พระพุทธเจ้าสอนอะไรครับ :b10: นำมาให้ดูหน่อยสิ เอาแบบที่เช่นนั้นเห็นว่าสุดยอด เรียกว่าใครได้อ่านได้ศึกษาได้รู้แล้ว ยอมทิ้งลูกทิ้งผัว-เมีย ทิ้งครอบครัวขึ้นเขาเหลียงซานเลยน่านะ :b32: เอามานะ

"สาวจีนวัย 24 เมินอาชีพทำเงิน ขอบวชค้นหาความสุขจากภายใน"

http://hilight.kapook.com/view/103920

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 มิ.ย. 2014, 08:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ลองเอาสัมมาสติหรือสติปัฏฐานโยนเข้าไปกลางวงสิ จะมีปฏิกิริยาอะไรมั่ง :b1:


สัมมาสติ เป็นองค์มรรคข้อที่ ๒ ในหมวดสมาธิ จัดเข้าในอธิจิตตสิกขา มีคำจำกัดความในพระสูตร ดังนี้


"ภิกษุทั้งหลาย สัมมาสติ เป็นไฉน? นี้เรียกว่า สัมมาสติ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้


1) ตามเห็นกายในกาย มีความเพียร มีสัมปชัญญะมีสติปลอดไร้อภิชฌา และโทมนัสในโลก


2) ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ ปลอดไร้อภิชฌาและโทมนัสในโลก


3) ตามเห็นจิตในจิต มีความเพียรมีสัมปชัญญะมีสติ ปลอดไร้อภิชฌา และโทมนัสในโลกเสียได้


4) ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ ปลอดไร้อภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้

(ที.ม.๑๐/๒๙๙/๓๔๙..)



คำจำกัดความอีกแบบหนึ่งที่ปรากฏในคัมภีร์อภิธรรมว่าดังนี้



“สัมมาสติ เป็นไฉน ? สติ คือการคอยระลึกอยู่เนื่องๆ การหวนระลึกก็ดี สติ คือภาวะที่ระลึกได้ ภาวะที่ทรงจำไว้ ภาวะที่ไม่เลือนหาย ภาวะที่ไม่ลืม ก็ดี สติ คือ สติที่เป็นอินทรีย์ สติที่เป็นพละ สัมมาสติ สติสัมโพชฌงค์ ที่เป็นองค์มรรค นับเนื่องในมรรค นี้เรียกว่า สัมมาสติ”


สัมมาสติ ตามคำจำกัดความแบบพระสูตร ก็คือหลักธรรม ที่เรียกว่า สติปัฏฐาน 4 นั่นเอง หัวข้อทั้ง 4 ของหลักธรรมหมวดนี้ มีชื่อเรียกสั้นๆ คือ


1) กายานุปัสสนา การพิจารณากาย, การตามดูรู้ทันกาย


2) เวทนานุปัสสนา การพิจารณาเวทนา, การตามดูรู้ทันเวทนา


3) จิตตานุปัสสนา การพิจารณาจิต, การตามดูรู้ทันจิต


4) ธัมมานุปัสสนา การพิจารณาธรรมต่างๆ,การตามดูรู้ทันธรรม

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 มิ.ย. 2014, 11:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ลองเอาสัมมาสติหรือสติปัฏฐานโยนเข้าไปกลางวงสิ จะมีปฏิกิริยาอะไรมั่ง

นี่ละน้า คนไม่ทำความศึกษาในพระสูตร จึงมโนเอาว่าโยงเข้ากลางวงโน้นวงนี้
ถ้าทำความศึกษาปฏิบัติด้วยตนเอง สติก็จะเห็นได้รู้ได้เองในสติปัฏฐาน

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 มิ.ย. 2014, 11:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
สัมมาสติ เป็นองค์มรรคข้อที่ ๒ ในหมวดสมาธิ จัดเข้าในอธิจิตตสิกขา มีคำจำกัดความในพระสูตร ดังนี้
"ภิกษุทั้งหลาย สัมมาสติ เป็นไฉน? นี้เรียกว่า สัมมาสติ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้
1) ตามเห็นกายในกาย มีความเพียร มีสัมปชัญญะมีสติปลอดไร้อภิชฌา และโทมนัสในโลก
2) ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ ปลอดไร้อภิชฌาและโทมนัสในโลก
3) ตามเห็นจิตในจิต มีความเพียรมีสัมปชัญญะมีสติ ปลอดไร้อภิชฌา และโทมนัสในโลกเสียได้
4) ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ ปลอดไร้อภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้

(ที.ม.๑๐/๒๙๙/๓๔๙..)

คำจำกัดความอีกแบบหนึ่งที่ปรากฏในคัมภีร์อภิธรรมว่าดังนี้

“สัมมาสติ เป็นไฉน ? สติ คือการคอยระลึกอยู่เนื่องๆ การหวนระลึกก็ดี สติ คือภาวะที่ระลึกได้ ภาวะที่ทรงจำไว้ ภาวะที่ไม่เลือนหาย ภาวะที่ไม่ลืม ก็ดี สติ คือ สติที่เป็นอินทรีย์ สติที่เป็นพละ สัมมาสติ สติสัมโพชฌงค์ ที่เป็นองค์มรรค นับเนื่องในมรรค นี้เรียกว่า สัมมาสติ”


สัมมาสติ ตามคำจำกัดความแบบพระสูตร ก็คือหลักธรรม ที่เรียกว่า สติปัฏฐาน 4 นั่นเอง หัวข้อทั้ง 4 ของหลักธรรมหมวดนี้ มีชื่อเรียกสั้นๆ คือ
1) กายานุปัสสนา การพิจารณากาย, การตามดูรู้ทันกาย
2) เวทนานุปัสสนา การพิจารณาเวทนา, การตามดูรู้ทันเวทนา
3) จิตตานุปัสสนา การพิจารณาจิต, การตามดูรู้ทันจิต
4) ธัมมานุปัสสนา การพิจารณาธรรมต่างๆ,การตามดูรู้ทันธรรม


นี่ก็คือความมั่ว ของการก๊อปแปะ ผิดก็ไม่รู้ ถูกก็ไม่รู้

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 มิ.ย. 2014, 15:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
สัมมาสติ เป็นองค์มรรคข้อที่ ๒ ในหมวดสมาธิ จัดเข้าในอธิจิตตสิกขา มีคำจำกัดความในพระสูตร ดังนี้
"ภิกษุทั้งหลาย สัมมาสติ เป็นไฉน? นี้เรียกว่า สัมมาสติ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้
1) ตามเห็นกายในกาย มีความเพียร มีสัมปชัญญะมีสติปลอดไร้อภิชฌา และโทมนัสในโลก
2) ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ ปลอดไร้อภิชฌาและโทมนัสในโลก
3) ตามเห็นจิตในจิต มีความเพียรมีสัมปชัญญะมีสติ ปลอดไร้อภิชฌา และโทมนัสในโลกเสียได้
4) ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ ปลอดไร้อภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้

(ที.ม.๑๐/๒๙๙/๓๔๙..)

คำจำกัดความอีกแบบหนึ่งที่ปรากฏในคัมภีร์อภิธรรมว่าดังนี้

“สัมมาสติ เป็นไฉน ? สติ คือการคอยระลึกอยู่เนื่องๆ การหวนระลึกก็ดี สติ คือภาวะที่ระลึกได้ ภาวะที่ทรงจำไว้ ภาวะที่ไม่เลือนหาย ภาวะที่ไม่ลืม ก็ดี สติ คือ สติที่เป็นอินทรีย์ สติที่เป็นพละ สัมมาสติ สติสัมโพชฌงค์ ที่เป็นองค์มรรค นับเนื่องในมรรค นี้เรียกว่า สัมมาสติ”


สัมมาสติ ตามคำจำกัดความแบบพระสูตร ก็คือหลักธรรม ที่เรียกว่า สติปัฏฐาน 4 นั่นเอง หัวข้อทั้ง 4 ของหลักธรรมหมวดนี้ มีชื่อเรียกสั้นๆ คือ
1) กายานุปัสสนา การพิจารณากาย, การตามดูรู้ทันกาย
2) เวทนานุปัสสนา การพิจารณาเวทนา, การตามดูรู้ทันเวทนา
3) จิตตานุปัสสนา การพิจารณาจิต, การตามดูรู้ทันจิต
4) ธัมมานุปัสสนา การพิจารณาธรรมต่างๆ,การตามดูรู้ทันธรรม


นี่ก็คือความมั่ว ของการก๊อปแปะ ผิดก็ไม่รู้ ถูกก็ไม่รู้



บอกอะไรไม่เคยจำ บอกว่าว่าไป มั่วตรงไหน ผิดตรงไหน แล้วที่มันไม่มั่ว ถูกต้องยังไง ให้เอามาวางเทียบดู แล้วก็ชี้ให้เห็นว่า มันเป็นอย่างที่ว่าจริงๆ เอามาหน่อย :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 194 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6 ... 13  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร