วันเวลาปัจจุบัน 18 ก.ค. 2025, 17:59  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 86 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 พ.ค. 2014, 22:35 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:

นี่เท่ากับบอกว่า พระอรหันต์ คือ ท่านผู้ที่ได้ทำภาวนา ๔ เสร็จแล้ว คือ จบทั้ง กายภาวนา ศีลภาวนา จิตตภาวนา และปัญญาภาวนา

ถึงตอนนี้ก็จึงต้องรู้ว่าภาวนา 4 นั้น คืออะไร แสดงความหมายสั้นๆ ดังนี้


1. กายภาวนา การเจริญกาย หรือพัฒนากาย คือ พัฒนาความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม

ทางวัตถุ หรือทางกายภาพ (รวมทั้งเทคโนโลยี) โดยเฉพาะรับรู้สิ่งทั้งหลาย ทางอินทรีย์ 5 คือ

จักขุ (ตา) โสตะ (หู) ฆานะ (จมูก) ชิวหา (ลิ้น) กายะ (กาย) ด้วยดี โดยปฏิบัติต่อสิ่ง

เหล่านั้นในทางที่เป็นคุณ มิให้มีโทษ ให้กุศลธรรมงอกงาม ให้อกุศลธรรมเสื่อม


ตามบท.....เป็นอรหันต์..ท่านว่าได้จบกายภาวนา...แล้ว
ก็หมายความว่า...ก่อนเป็น...ท่านต้องทำกายภาวนา...

กรัชกาย....ตีความว่าภาวนา..หรือ..เจริญ...คือ..การพัฒนา

ผมจึงสงสัย..(ตามคำตีความของกรัชกาย)....ก่อนการตรัสรู้เป้นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า...ที่ว่า..ท่านพัฒนากายแล้ว(ตามความหมายของกรัชกาย)...พระองค์ทำอย่างไร...จึงเรียกว่า....กำลังพัฒนากาย...หรือ..กำลัง
ภาวิตกาย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2014, 03:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
แล้ว....สมัยก่อนการตรัสรู้....ช่วงไหน....ที่เกิดการภาวิตกาย..ของพระมหาโพธิสัตว์...พระองค์ได้ทำอย่างไรไปบ้าง?

ครับ..



กบนิยามพระมหาโพธิสัตว์ ยังไงครับ เอาชัดๆ


ช่วงที่เป็นเจ้าชายสิทธัตถะ...นะครับ...รึช่วงออกบวช...ก่อนการตรัสรู้


กบ เจ้าชายสิทธัตถะ กับ พระพุทธเจ้า ทั้งสองสถานะ เป็นคนมั้ยครับ หรือมีอะไรต่างกัน



กบ ยังไม่ตอบคำถามนี้ครับเลย

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2014, 04:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


นำพุทธพจน์ให้เช่นนั้นดู เช่นนั้นพออ่านเข้าใจมั้ยครับ ดูครับ


คราวนี้ก็มาดูพุทธพจน์ คือพระดำรัสของพระพุทธเจ้าเอง ในข้อความร้อยแก้ว ที่ตรัสถึง ภาวิต ๔ ที่ถือว่าขยายกระจายออกไปจาก ภาวิตัตต์ นั้น ยกมาพอเป็นตัวอย่าง

"ภิกษุทั้งหลาย อนาคตภัย (ภัยในอนาคต) ๕ ประการนี้ ยังมิได้เกิดขึ้น ในบัดนี้ แต่จักบังเกิดในกาลต่อไป ภัยเหล่านั้น เธอทั้งหลายพึง ตระหนักทันการไว้ ครั้นตระหนักทันการแล้ว พึงพยายามเพื่อป้องกันภัยเหล่านั้น อนาคตภัย ๕ ประการเป็นไฉน ?



“กล่าวคือ ในกาลอนาคต จักมีภิกษุทั้งหลาย ผู้มิใช่ภาวิตกาย (มิได้พัฒนากาย) มิใช่ภาวิตศีล (มิได้พัฒนาศีล) มิใช่ภาวิตจิต (มิได้พัฒนาจิต) มิใช่ภาวิตปัญญา (มิได้พัฒนาปัญญา) ภิกษุเหล่านั้น ทั้งที่ตนมิได้พัฒนากาย มิได้พัฒนาศีล มิได้พัฒนาจิต มิได้พัฒนาปัญญาก็จักเป็น (อุปัชฌาย์) ให้อุปสมบทคนอื่นๆ แลจักไม่สามารถแนะนำผู้ที่ได้รับอุปสมบทเหล่านั้น ในอธิศีล (ศีล) ในอธิจิต (สมาธิ) ในอธิปัญญา (ปัญญา) แม้เหล่าผู้ได้รับอุปสมบทนั้น ก็จักเป็นผู้มิใช่ภาวิตกาย (มิได้พัฒนากาย) มิใช่ภาวิตศีล (มิได้พัฒนาศีล) มิใช่ภาวิตจิต (มิได้พัฒนาจิต) มิใช่ภาวิตปัญญา (มิได้พัฒนาปัญญา)



“เหล่า ผู้ได้รับอุปสมบทนั้น ทั้งที่ตนมิได้พัฒนากาย มิได้พัฒนาศีล มิได้พัฒนาจิต มิได้พัฒนาปัญญา ก็จักเป็น (อุปัชฌาย์) ให้อุปสมบทคนอื่นๆ แลจักไม่สามารถแนะนำ ผู้ที่ได้รับอุปสมบทเหล่านั้น ในอธิศีล (ศีล) ในอธิจิต (สมาธิ) ในอธิปัญญา (ปัญญา) แม้เหล่าคนที่ได้รับอุปสมบทนั้น ก็จักเป็นผู้มิใช่ภาวิตกาย มิใช่ภาวิตศีล มิใช่ภาวิตจิต มิใช่ภาวิตปัญญา



“ภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการฉะนี้แล เพราะธรรมเลอะเลือน วินัยก็เลอะเลือน เพราะวินัยเลอะเลือน ธรรมก็เลอะเลือน


“ภิกษุ ทั้งหลาย อนาคตภัย ข้อที่ ๑ นี้ ยังมิได้เกิดขึ้นในบัดนี้ แต่จักบังเกิดในกาลต่อไป ภัยข้อนั้น อันเธอทั้งหลาย พึงตระหนักรู้ไว้ ครั้นรู้ตระหนักแล้ว พึงพยายามเพื่อป้องกันภัยนั้นเสีย


“อีกประการหนึ่ง ในกาลอนาคต จักมีภิกษุทั้งหลาย ผู้มิใช่ภาวิตกาย (มิได้พัฒนากาย) มิใช่ภาวิตศีล (มิได้พัฒนาศีล) มิใช่ภาวิตจิต (มิได้พัฒนาจิต) มิใช่ภาวิตปัญญา (มิ ได้พัฒนาปัญญา) ภิกษุเหล่านั้น ทั้งที่ตนมิได้พัฒนากาย มิได้พัฒนาศีล มิได้พัฒนาจิต มิได้พัฒนาปัญญา ก็จักให้นิสสัย (รับเป็นอาจารย์) แก่เหล่าภิกษุอื่น แลจักไม่สามารถแนะนำเหล่าภิกษุ ที่ถือนิสสัย (เป็นศิษย์) นั้น ในอธิศีล (ศีล) ในอธิจิต (สมาธิ) ในอธิปัญญา (ปัญญา) แม้เหล่าภิกษุที่ถือนิสสัย (เป็นศิษย์) นั้น ก็จักเป็นผู้มิใช่ภาวิตกาย มิใช่ภาวิตศีล มิใช่ภาวิตจิต มิใช่ภาวิตปัญญา



“เหล่า ภิกษุ ที่ได้ถือนิสสัยนั้น ทั้งที่ตนมิได้พัฒนากาย มิได้พัฒนาศีล มิได้พัฒนาจิต มิได้พัฒนาปัญญา ก็จักให้นิสสัย (รับเป็นอาจารย์) แก่ภิกษุเหล่านั้น แลจักไม่สามารถแนะนำภิกษุเหล่านั้น ในอธิศีล (ศีล) ในอธิจิต (สมาธิ) ในอธิปัญญา (ปัญญา) แม้เหล่าคนที่ได้นิสสัยนั้นก็จักเป็นผู้มิใช่ภาวิตกาย มิใช่ภาวิตศีล มิใช่ภาวิตจิต มิใช่ภาวิตปัญญา



“ภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการฉะนี้แล เพราะธรรมเลอะเลือน วินัยก็เลอะเลือน เพราะวินัยเลอะเลือน ธรรมก็เลอะเลือน


“ภิกษุ ทั้งหลาย อนาคตภัย ข้อที่ ๒ นี้ ยังมิได้เกิดขึ้นในบัดนี้ แต่จักบังเกิดในกาลต่อไป ภัยข้อนั้น อันเธอทั้งหลายพึงตระหนักรู้ไว้ ครั้นรู้ตระหนักแล้ว พึงพยายามเพื่อป้องกันภัยนั้นเสีย"

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2014, 04:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
ด้วยความเป็นกัลยาณมิตร
กรัชกาย อย่าได้ อธิบาย ตติยอนาคตสูตรที่ ๙ ให้เน่าเกินไปกว่านี้ เลยครับ

พระสูตรนี้ กำหนดคุณลักษณะของอุปปัชฌาย์ที่ดี ที่ให้นิสสัย แก่อุปปสัมบัน หรืออนุปสัมบัน
โดยเพิ่มโดยกล่าวถึง ผู้ที่มีกายอบรมแล้ว ซึ่งมุ่งที่รู้จักพระวินัย ตั้งอยู่ในพระวินัย

คือความรู้ความกำหนดได้ ซึ่งข้อประพฤติข้อปฏิบัติทางกายใจ และพระธรรมคำสอนต่างๆ ของพระพุทธองค์ที่ได้ทรงบัญญัติไว้

นี่คือภาวิตกาย

กลับไปอ่านพระสูตรดีๆ และอรรถกถาให้ดี



เห็นด้วยไม่เห็นด้วยก็ว่ากันที่ี่หัวข้อนี้ครับ ท่านเช่นนั้น อย่าไปที่กระทู้โน้น จะทำให้คนอ่านคนมาศึกษางงสับสนจากการถกเถียงแสดงเหตุผลแง่มุมต่างกันของเรา อันที่จริงเรื่องถกถ้อยตีความกันเนี้ยะไม่ใช่เรื่องเสียหาย ถ้าผู้อ่านรู้จักแยกแยะพินิจพิจารณา แต่ก็ต้องมีภูมิมีพื้นทางพุทธธรรมคำสอนพอสมควร :b1:


ปล. พูดบ้อยบ่อย กัลยาณมิตร ๆๆๆ ถามนะคำว่า "กัลยาณมิตร" ตามความคิดของท่านเช่นนั้น คืออะไรยังไงครับ เอาชัดๆ แบบไม่ต้องส่ง ตลก.ตีความนะ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2014, 06:38 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
[quo

te="กบนอกกะลา"]
กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
แล้ว....สมัยก่อนการตรัสรู้....ช่วงไหน....ที่เกิดการภาวิตกาย..ของพระมหาโพธิสัตว์...พระองค์ได้ทำอย่างไรไปบ้าง?

ครับ..



กบนิยามพระมหาโพธิสัตว์ ยังไงครับ เอาชัดๆ


ช่วงที่เป็นเจ้าชายสิทธัตถะ...นะครับ...รึช่วงออกบวช...ก่อนการตรัสรู้


กบ เจ้าชายสิทธัตถะ กับ พระพุทธเจ้า ทั้งสองสถานะ เป็นคนมั้ยครับ หรือมีอะไรต่างกัน


กบ ยังไม่ตอบคำถามนี้ครับเลย[/quote]

แล้วกรัชกาย...จะถือว่าเจ้าชายสิทธัตถะเป็นพระพุทธเจ้า..ก่อนการตรัสรู้...มั้ย?

เราถืออะไร...ว่าเป้นพระพุทธเจ้า...ร่างกายbody. หรือ. อะไร?


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2014, 06:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
[quo

te="กบนอกกะลา"]
กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
แล้ว....สมัยก่อนการตรัสรู้....ช่วงไหน....ที่เกิดการภาวิตกาย..ของพระมหาโพธิสัตว์...พระองค์ได้ทำอย่างไรไปบ้าง?

ครับ..



กบนิยามพระมหาโพธิสัตว์ ยังไงครับ เอาชัดๆ


ช่วงที่เป็นเจ้าชายสิทธัตถะ...นะครับ...รึช่วงออกบวช...ก่อนการตรัสรู้


กบ เจ้าชายสิทธัตถะ กับ พระพุทธเจ้า ทั้งสองสถานะ เป็นคนมั้ยครับ หรือมีอะไรต่างกัน


กบ ยังไม่ตอบคำถามนี้ครับเลย


แล้วกรัชกาย...จะถือว่าเจ้าชายสิทธัตถะเป็นพระพุทธเจ้า..ก่อนการตรัสรู้...มั้ย?

เราถืออะไร...ว่าเป้นพระพุทธเจ้า...ร่างกายbody. หรือ. อะไร?[/quote]


ตอบให้ตรงคำถามครับ เอ้าชัดๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2014, 06:55 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:
นี่เท่ากับบอกว่า พระอรหันต์ คือ ท่านผู้ที่ได้ทำภาวนา ๔ เสร็จแล้ว คือ จบทั้ง กายภาวนา ศีลภาวนา จิตตภาวนา และปัญญาภาวนา

ถึงตอนนี้ก็จึงต้องรู้ว่าภาวนา 4 นั้น คืออะไร แสดงความหมายสั้นๆ ดังนี้

1. กายภาวนา การเจริญกาย หรือพัฒนากาย คือ พัฒนาความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม

ทางวัตถุ หรือทางกายภาพ (รวมทั้งเทคโนโลยี) โดยเฉพาะรับรู้สิ่งทั้งหลาย ทางอินทรีย์ 5 คือ

จักขุ (ตา) โสตะ (หู) ฆานะ (จมูก) ชิวหา (ลิ้น) กายะ (กาย) ด้วยดี โดยปฏิบัติต่อสิ่ง

เหล่านั้นในทางที่เป็นคุณ มิให้มีโทษ ให้กุศลธรรมงอกงาม ให้อกุศลธรรมเสื่อม


ตามบท.....เป็นอรหันต์..ท่านว่าได้จบกายภาวนา...แล้ว
ก็หมายความว่า...ก่อนเป็น...ท่านต้องทำกายภาวนา...

กรัชกาย....ตีความว่าภาวนา..หรือ..เจริญ...คือ..การพัฒนา
ผมจึงสงสัย..(ตามคำตีความของกรัชกาย)....ก่อนการตรัสรู้เป้นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า...ที่ว่า..ท่านพัฒนากายแล้ว(ตามความหมายของกรัชกาย)...พระองค์ทำอย่างไร...จึงเรียกว่า....กำลังพัฒนากาย...หรือ..กำลัง
ภาวิตกาย


ตอบ...ชี้แจง..."ว่า...ก่อนการตรัสรู้....พระองค์ทำกายภาวนาอย่างไร....ครั้นตรัสรู้แล้วพระองค์ถึงบอกว่า...ท่านทำกสยภาวนาแล้ว...". ตอบไม่ได้...ก็ไม่เป็นไรครับ.....คนเราจะไม่รู้บ้างก็ไม่ใช่เรื่องแปลก

"ตนแลเป็นที่พึ่งแห่งตน"...ผมว่า..ตนนี้คือใจ..
.กรัชกายว่า..ตนนี้คือกาย....นะ

กาย...ของเจ้าชายสิทธัตถะ....และ...ของพระพุทธเจ้า...นะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2014, 06:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
แล้ว....สมัยก่อนการตรัสรู้....ช่วงไหน....ที่เกิดการภาวิตกาย..ของพระมหาโพธิสัตว์...พระองค์ได้ทำอย่างไรไปบ้าง?

ครับ..



กบนิยามพระมหาโพธิสัตว์ ยังไงครับ เอาชัดๆ


ช่วงที่เป็นเจ้าชายสิทธัตถะ...นะครับ...รึช่วงออกบวช...ก่อนการตรัสรู้


กบ เจ้าชายสิทธัตถะ กับ พระพุทธเจ้า ทั้งสองสถานะ เป็นคนมั้ยครับ หรือมีอะไรต่างกัน



กบ ยังไม่ตอบคำถามนี้ครับเลย



กบ ถ้าเรายังเข้าใจไม่ตรงกันเรื่อง คน หรือ มนุษย์แล้วละก็ พูดเรื่องอื่นๆ ก็เพ้อๆฝันๆหมดแระ คิกๆๆ

เอาชัดๆ เจ้าชายสิทธัตถะ กับ พระพุทธเจ้า ทั้งสองสถานะ เป็นคนมั้ย หรือไม่ใช่คน คิกๆๆ ง่ายๆยังงี้ก่อน กบว่า ใช่คน ไม่ใช่คน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2014, 08:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ก.พ. 2011, 19:56
โพสต์: 1798


 ข้อมูลส่วนตัว


ภาวนาหมายถึงทำให้มีขึ้น เจริญขึ้น ก็คงไม่พ้นกุศลที่เจริญขึ้น จากที่ไม่เคยมีก็ทำให้มีด้วยการอบรม

ซึ่งในอรรถกถา ท่านแสดงไว้ว่า การอบรมกายหรือภาวิตกายหมายถึง กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน, ด้วยการอบรมปัญจทวาร , หรือ หมายถึงอินทรียสังวรศีล

ส่วนอบรมศีล หมายถึง ศีลอีก 3 ประเภทที่เหลือ

ซึ่งไม่ง่ายทั้งนั้น เพราะธรรมะไม่ใช่ของง่ายรู้ได้ยาก การอบรมกาย อบรมศีลก็ไม่ใช่ง่าย

อ้างคำพูด:
อรรถกถาโลณกสูตรที่ ๙
...................
ปุถุชนผู้เว้นจากภาวนา (เจริญสติปัฏฐาน) ในกาย เป็นผู้มีปกติไปสู่วัฏฏะ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงด้วยบทว่า อภาวิตกาโย เป็นต้น.
บทว่า ปริตฺโต ได้แก่ มีคุณนิดหน่อย.
บทว่า อปฺปาตุโม ความว่า อัตภาพเรียกว่าอาตุมะ ปุถุชนชื่อว่ามีอัตภาพเล็กน้อยโดยแท้ เพราะแม้เมื่ออัตภาพนั้นจะใหญ่ แต่ก็มีคุณเล็กน้อย.
บทว่า อปฺปทุกฺขวิหารี ความว่า มีปกติอยู่เป็นทุกข์ด้วยวิบากเล็กน้อย.

พระขีณาสพ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงด้วยบทว่า ภาวิตกาโย เป็นต้น. อธิบายว่า พระขีณาสพนั้น ชื่อว่ามีกายอบรมแล้ว ด้วยภาวนากล่าวคือกายานุปัสสนา หรือชื่อว่ามีกายอบรมแล้ว เพราะเจริญกายานุปัสสนา.
บทว่า ภาวิตสีโล แปลว่า เจริญศีล.
แม้ในสองบทที่เหลือก็มีนัยนี้แล.
อีกอย่างหนึ่ง พระขีณาสพ ชื่อว่า มีกายอบรมแล้ว ด้วยอบรมปัญจทวาร. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอินทรียสังวรศีล ด้วยบทว่า ภาวิตกาโย นี้ ตรัสศีล ๓ ที่เหลือด้วยบทว่า ภาวิตสีโล นี้.


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2014, 10:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
ด้วยความเป็นกัลยาณมิตร
กรัชกาย อย่าได้ อธิบาย ตติยอนาคตสูตรที่ ๙ ให้เน่าเกินไปกว่านี้ เลยครับ

พระสูตรนี้ กำหนดคุณลักษณะของอุปปัชฌาย์ที่ดี ที่ให้นิสสัย แก่อุปปสัมบัน หรืออนุปสัมบัน
โดยเพิ่มโดยกล่าวถึง ผู้ที่มีกายอบรมแล้ว ซึ่งมุ่งที่รู้จักพระวินัย ตั้งอยู่ในพระวินัย

คือความรู้ความกำหนดได้ ซึ่งข้อประพฤติข้อปฏิบัติทางกายใจ และพระธรรมคำสอนต่างๆ ของพระพุทธองค์ที่ได้ทรงบัญญัติไว้

นี่คือภาวิตกาย

กลับไปอ่านพระสูตรดีๆ และอรรถกถาให้ดี



เห็นด้วยไม่เห็นด้วยก็ว่ากันที่ี่หัวข้อนี้ครับ ท่านเช่นนั้น อย่าไปที่กระทู้โน้น จะทำให้คนอ่านคนมาศึกษางงสับสนจากการถกเถียงแสดงเหตุผลแง่มุมต่างกันของเรา อันที่จริงเรื่องถกถ้อยตีความกันเนี้ยะไม่ใช่เรื่องเสียหาย ถ้าผู้อ่านรู้จักแยกแยะพินิจพิจารณา แต่ก็ต้องมีภูมิมีพื้นทางพุทธธรรมคำสอนพอสมควร :b1:


ปล. พูดบ้อยบ่อย กัลยาณมิตร ๆๆๆ ถามนะคำว่า "กัลยาณมิตร" ตามความคิดของท่านเช่นนั้น คืออะไรยังไงครับ เอาชัดๆ แบบไม่ต้องส่ง ตลก.ตีความนะ :b32:

มาเตือน กรัชกายอย่าเวิ่นเว้อ
ทำให้ คนอ่านคนศึกษา แม้แต่มีภูมิมีพื้นทางพุทธธรรมคำสอน หรือไม่มีภูมิมีพื้นทางพุทธธรรมคำสอน
เข้าใจผิดไปจาก พระสูตรที่พระพุทธองค์ทรงแสดง

ที่ต้องเข้าไปเตือนกรัชกาย เพราะ สองกระทู้นี้ กรัชกาย ก๊อปปี้ แปะกันไปตามๆกัน

กรัชกาย เน่าพอแล้วนะครับ

อ้างคำพูด:
Quote Tipitaka:
"ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเป็นผู้มีศีลอันสมบูรณ์ มีปาติโมกข์อันสมบูรณ์ อยู่เถิด จงเป็น
ผู้สำรวมด้วยความสำรวมในปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยอาจาระและโคจรอยู่เถิด จงเป็นผู้มีปกติเห็น
ภัยในโทษทั้งหลายมีประมาณน้อย สมาทานศึกษาในสิกขาบททั้งหลายเถิด."


ภาวิตกาย

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2014, 10:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
ด้วยความเป็นกัลยาณมิตร
กรัชกาย อย่าได้ อธิบาย ตติยอนาคตสูตรที่ ๙ ให้เน่าเกินไปกว่านี้ เลยครับ

พระสูตรนี้ กำหนดคุณลักษณะของอุปปัชฌาย์ที่ดี ที่ให้นิสสัย แก่อุปปสัมบัน หรืออนุปสัมบัน
โดยเพิ่มโดยกล่าวถึง ผู้ที่มีกายอบรมแล้ว ซึ่งมุ่งที่รู้จักพระวินัย ตั้งอยู่ในพระวินัย

คือความรู้ความกำหนดได้ ซึ่งข้อประพฤติข้อปฏิบัติทางกายใจ และพระธรรมคำสอนต่างๆ ของพระพุทธองค์ที่ได้ทรงบัญญัติไว้

นี่คือภาวิตกาย

กลับไปอ่านพระสูตรดีๆ และอรรถกถาให้ดี



เห็นด้วยไม่เห็นด้วยก็ว่ากันที่ี่หัวข้อนี้ครับ ท่านเช่นนั้น อย่าไปที่กระทู้โน้น จะทำให้คนอ่านคนมาศึกษางงสับสนจากการถกเถียงแสดงเหตุผลแง่มุมต่างกันของเรา อันที่จริงเรื่องถกถ้อยตีความกันเนี้ยะไม่ใช่เรื่องเสียหาย ถ้าผู้อ่านรู้จักแยกแยะพินิจพิจารณา แต่ก็ต้องมีภูมิมีพื้นทางพุทธธรรมคำสอนพอสมควร :b1:


ปล. พูดบ้อยบ่อย กัลยาณมิตร ๆๆๆ ถามนะคำว่า "กัลยาณมิตร" ตามความคิดของท่านเช่นนั้น คืออะไรยังไงครับ เอาชัดๆ แบบไม่ต้องส่ง ตลก.ตีความนะ :b32:

มาเตือน กรัชกายอย่าเวิ่นเว้อ
ทำให้ คนอ่านคนศึกษา แม้แต่มีภูมิมีพื้นทางพุทธธรรมคำสอน หรือไม่มีภูมิมีพื้นทางพุทธธรรมคำสอน
เข้าใจผิดไปจาก พระสูตรที่พระพุทธองค์ทรงแสดง

ที่ต้องเข้าไปเตือนกรัชกาย เพราะ สองกระทู้นี้ กรัชกาย ก๊อปปี้ แปะกันไปตามๆกัน

กรัชกาย เน่าพอแล้วนะครับ

อ้างคำพูด:
Quote Tipitaka:
"ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเป็นผู้มีศีลอันสมบูรณ์ มีปาติโมกข์อันสมบูรณ์ อยู่เถิด จงเป็น
ผู้สำรวมด้วยความสำรวมในปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยอาจาระและโคจรอยู่เถิด จงเป็นผู้มีปกติเห็น
ภัยในโทษทั้งหลายมีประมาณน้อย สมาทานศึกษาในสิกขาบททั้งหลายเถิด."


ภาวิตกาย



งั้นก็เช่นนั้นบ้าง ว่าไป ภาวิตกาย เอ้าว่ารายละเอียดนั่่นไป

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2014, 10:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
ด้วยความเป็นกัลยาณมิตร
กรัชกาย อย่าได้ อธิบาย ตติยอนาคตสูตรที่ ๙ ให้เน่าเกินไปกว่านี้ เลยครับ

พระสูตรนี้ กำหนดคุณลักษณะของอุปปัชฌาย์ที่ดี ที่ให้นิสสัย แก่อุปปสัมบัน หรืออนุปสัมบัน
โดยเพิ่มโดยกล่าวถึง ผู้ที่มีกายอบรมแล้ว ซึ่งมุ่งที่รู้จักพระวินัย ตั้งอยู่ในพระวินัย

คือความรู้ความกำหนดได้ ซึ่งข้อประพฤติข้อปฏิบัติทางกายใจ และพระธรรมคำสอนต่างๆ ของพระพุทธองค์ที่ได้ทรงบัญญัติไว้

นี่คือภาวิตกาย

กลับไปอ่านพระสูตรดีๆ และอรรถกถาให้ดี



เห็นด้วยไม่เห็นด้วยก็ว่ากันที่ี่หัวข้อนี้ครับ ท่านเช่นนั้น อย่าไปที่กระทู้โน้น จะทำให้คนอ่านคนมาศึกษางงสับสนจากการถกเถียงแสดงเหตุผลแง่มุมต่างกันของเรา อันที่จริงเรื่องถกถ้อยตีความกันเนี้ยะไม่ใช่เรื่องเสียหาย ถ้าผู้อ่านรู้จักแยกแยะพินิจพิจารณา แต่ก็ต้องมีภูมิมีพื้นทางพุทธธรรมคำสอนพอสมควร :b1:


ปล. พูดบ้อยบ่อย กัลยาณมิตร ๆๆๆ ถามนะคำว่า "กัลยาณมิตร" ตามความคิดของท่านเช่นนั้น คืออะไรยังไงครับ เอาชัดๆ แบบไม่ต้องส่ง ตลก.ตีความนะ :b32:

มาเตือน กรัชกายอย่าเวิ่นเว้อ
ทำให้ คนอ่านคนศึกษา แม้แต่มีภูมิมีพื้นทางพุทธธรรมคำสอน หรือไม่มีภูมิมีพื้นทางพุทธธรรมคำสอน
เข้าใจผิดไปจาก พระสูตรที่พระพุทธองค์ทรงแสดง

ที่ต้องเข้าไปเตือนกรัชกาย เพราะ สองกระทู้นี้ กรัชกาย ก๊อปปี้ แปะกันไปตามๆกัน

กรัชกาย เน่าพอแล้วนะครับ

อ้างคำพูด:
Quote Tipitaka:
"ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเป็นผู้มีศีลอันสมบูรณ์ มีปาติโมกข์อันสมบูรณ์ อยู่เถิด จงเป็น
ผู้สำรวมด้วยความสำรวมในปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยอาจาระและโคจรอยู่เถิด จงเป็นผู้มีปกติเห็น
ภัยในโทษทั้งหลายมีประมาณน้อย สมาทานศึกษาในสิกขาบททั้งหลายเถิด."


ภาวิตกาย



กัลยาณมิตร ตามความคิดของเช่นนั้น คืออะไรยังไง :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2014, 11:19 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:

นี่เท่ากับบอกว่า พระอรหันต์ คือ ท่านผู้ที่ได้ทำภาวนา ๔ เสร็จแล้ว คือ จบทั้ง กายภาวนา ศีลภาวนา จิตตภาวนา และปัญญาภาวนา

ถึงตอนนี้ก็จึงต้องรู้ว่าภาวนา 4 นั้น คืออะไร แสดงความหมายสั้นๆ ดังนี้

1. กายภาวนา การเจริญกาย หรือพัฒนากาย
คือ พัฒนาความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางวัตถุ หรือทางกายภาพ (รวมทั้งเทคโนโลยี) โดยเฉพาะรับรู้สิ่งทั้งหลาย ทางอินทรีย์ 5 คือจักขุ (ตา) โสตะ (หู) ฆานะ (จมูก) ชิวหา (ลิ้น) กายะ (กาย) ด้วยดี
โดยปฏิบัติต่อสิ่งเหล่านั้นในทางที่เป็นคุณ มิให้มีโทษ ให้กุศลธรรมงอกงาม ให้อกุศลธรรมเสื่อม


พัฒนากาย.....อย่างไร....จึงว่า...ภาวิตกาย...แล้ว

เจ้าชายสิทธัตถะ.....พัฒนากาย...อย่างไร..จึงปฏิบัติต่อสิ่งแวดล้อมทางวัตถุทางกายภาพได้เหมาะสม...

อยากรู้จริงๆ..


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2014, 16:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:

นี่เท่ากับบอกว่า พระอรหันต์ คือ ท่านผู้ที่ได้ทำภาวนา ๔ เสร็จแล้ว คือ จบทั้ง กายภาวนา ศีลภาวนา จิตตภาวนา และปัญญาภาวนา

ถึงตอนนี้ก็จึงต้องรู้ว่าภาวนา 4 นั้น คืออะไร แสดงความหมายสั้นๆ ดังนี้

1. กายภาวนา การเจริญกาย หรือพัฒนากาย
คือ พัฒนาความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางวัตถุ หรือทางกายภาพ (รวมทั้งเทคโนโลยี) โดยเฉพาะรับรู้สิ่งทั้งหลาย ทางอินทรีย์ 5 คือจักขุ (ตา) โสตะ (หู) ฆานะ (จมูก) ชิวหา (ลิ้น) กายะ (กาย) ด้วยดี
โดยปฏิบัติต่อสิ่งเหล่านั้นในทางที่เป็นคุณ มิให้มีโทษ ให้กุศลธรรมงอกงาม ให้อกุศลธรรมเสื่อม


พัฒนากาย.....อย่างไร....จึงว่า...ภาวิตกาย...แล้ว

เจ้าชายสิทธัตถะ.....พัฒนากาย...อย่างไร..จึงปฏิบัติต่อสิ่งแวดล้อมทางวัตถุทางกายภาพได้เหมาะสม...

อยากรู้จริงๆ..



กบ ตัดสินใจบอกสิว่า เจ้าชายสิทธัตถะ กับ พระพุทธเจ้า ทั้งสองสถานเนื่ยะ เป็นคนหรือใช่คนมั้ย เอาครับ

หรือยังงงงงกับชีวิต เปลี่ยนถามใหม่ เจ้าชายสิทธัตถะ กับ พระพุทธเจ้า มีตา หู จมูก ลิ้น กาย มั้ย กัดฟันตอบหน่อย คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2014, 23:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:

กัลยาณมิตร ตามความคิดของเช่นนั้น คืออะไรยังไง :b1:

เมื่อเห็นกรัชกาย กำลังเวิ่นเว้อ
จึงปราถนาดี ตักเตือนกรัชกาย ให้กลับใจมาศึกษาพระสูตร ให้มีสติ ให้มีปัญญา
ตื่นจากความเวิ่นเว้อ

กัลยาณมิตรต่อกรัชกาย เป็นแบบนี้ครับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 86 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร


cron