วันเวลาปัจจุบัน 22 ก.ค. 2025, 06:30  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 925 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 20, 21, 22, 23, 24, 25, 26 ... 62  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ก.พ. 2014, 11:33 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ม.ค. 2014, 08:17
โพสต์: 73

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


:b32: :b17: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ก.พ. 2014, 21:34 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b12:
ตามไปดูลิ้งค์ที่กรัชกายให้ ก็ไปเจองานตามวิสัยของโฮฮับที่นั่น

เอ้อ!........ คนเรานี่เหมือนถูกฟ้าลิขิตให้เป็นไป จะแก้ไขอะไรไม่ได้เมื่อตกอยูใต้อำนาจของวิบากแห่งกรรม

เมื่อวกกลับมาสนทนากันต่อว่าทำไมสยบหรือขุดถอนนิวรณ์ธรรมกันได้ยากก็ได้พบความจริงอีกอย่างหนึ่งที่คนทั่วไปอาจไม่ได้คิดถึงกันคือ

วิบาก หรือผลของการกระทำทั้งหมดของเราในอดีต จะมากลายเป็นตัวขีดหรือบ่งชี้ให้เราเป็นไปตามอำนาจของมัน

เวลาลงนั่งเจริญ ไม่ว่าจะเป็นสมาธิหรือวิปัสสนา วิบากจากกรรมเก่าของเราเขาจะผุดขึ้นมาเป็นนิวรณ์ธรรมในรูปแบบต่างๆมากมายนักจนยากจะวิเคราะห์ออกมาได้ถ้าสติปัญญาไม่คมกล้าเพียงพอ

ต้ัวอย่างเช่นบางคนนั่งเจริญสมาธิใหม่ๆ โดยการบริกรรม พุทโธ ตามลมหายใจเข้าออก พอจิตใจเริ่มตั้งมั่น ก็จะเกิด ปีติหรือนิมิต หรือความคิดฟุ้งซ่านไปในผัสสะต่างๆ
เช่นถูกลมพัดที่ท้ายทอยเลยสำคัญว่ามีคนมาเป่า ผัสสะจากลมกระทบท้ายทอยแต่สติขาดจากกรรมฐานคือพุทโธ+ลมหายใจเข้าออกเลยทำให้เกิดการคิดปรุงแต่งเป็นเรื่องเป็นราวไปด้วยอำนาจผัสสะทางกาย

วิธีแก้โดยสมถะ ก็ต้องสอบอารมณ์ผู้ปฏิบัติคนนั้นแล้วเตือนว่า สติอย่าให้ขาดจากพุทโธและลมหายใจ ดึงจิตกลับมาไว้ที่กรรมฐานและคำบีกรรมให้ได้.....อย่างนี้เป็นต้น

ถ้าจะแก้โดยวิปัสสนาภาวนา ต้องเน้นย้ำว่าเธอต้องเจริญสติให้รูทันปัจจุบัอารมณ์นะ

ถ้ามีผ้ัสสะของลมที่คอ ให้รูว่ามีผ้สสะ

ถ้ามีความรู้สึก ให้รู้ว่ามีความรู้สึก

ถ้ารู้ว่ามีความนึกคิดปรุงไปด้วยแรงผัสสะ ให้รู้ว่ากำลังนึกคิด

ถ้าสงสัย ให้รู้ทันว่า สงสัย

ถ้าอยากรู้คำตอบ ให้รู้ทันว่าอยากรู้

ดังนี้เป็นต้น มันจะเปลี่ยนอารมณ์ไปเป็นอย่างไรขอเพียงให้รู้ทันปัจจุบันของอารมณ์นั้นก็พอ ถ้าสติรูทันปัจจุบันอารมณ์ได้ดีจริงๆ ความนึกคิด หรืออุทธัจจะนิวรณ์จะไม่เกิดขึ้น......ดังนี้

จบตอน 1
:b36:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.พ. 2014, 01:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


เมื่อชีวิตความเป็นอยู่ อยู่ในระดับขีดความพอใจ ไม่มีเรื่องกับใคร มีทรัพย์ใช้จ่าย มีที่กินนอนรองรับไม่ขัดสน ก็ขาดความตั้งใจลง ไม่ขยันทำความเพียร เหมือนที่ผมเองกำลังขาดความเพียร ธรรมมีไว้ให้เห็น แต่ก็เลือกความสบายไว้เหนือธรรม

เมือ่มีความทุกข์สุมอก ก็ยากที่จะสร้างกำลังใจในการปฎิบัติ เพราะมัวแต่ห่วงกระแสแห่งโลก แบกขันธ์คนอื่น ความหดหู่นั้น กั้นกระแสธรรมมากกว่าความสบายกายสบายใจ ความสบายกายสบายใจก็กลายเป็นคนขี้เกียจ ไม่ขวนขวาย

บางทีก็เป็นเรื่องของความตระหนี่ จนกลายเป็นความกระวนกระวายใจที่ทุกครั้งต้องมีเรื่องเกี่ยวพันกับการใช้จ่าย เมื่อเกิดการลงทุน ก็หวังผลกำไรในบัดดล โดยหากไม่ได้คิดถึงผลกำไร ก็จะอึดอัด เหมือนเสียของหวงของรัก คร่ำครวญใจเมื่อไหร่จะได้ของรักกลับคืนมา

ผมเองพิจารณาตัวเองก็ตกอยู่ในสภาพเช่นนี้ คิดแล้วสมเพทตัวเอง ฝึกมาตั้งนาน ไม่กล้าปล่อยวางเรื่องกระแสโลก สองสามวันที่ผ่านมา ก็รู้สึกว่าตัวเราเองจะต้องเริ่มสู้กับนิวรณ์ทั้ง5นี้อย่างจริงจัง เมื่อถูกครอบงำเมื่อไหร่ นั่นแหละเรากำลังหลง ไม่เห็นธรรมที่หน้าที่เราควรจะเห็น

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.พ. 2014, 15:14 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
เมื่อชีวิตความเป็นอยู่ อยู่ในระดับขีดความพอใจ ไม่มีเรื่องกับใคร มีทรัพย์ใช้จ่าย มีที่กินนอนรองรับไม่ขัดสน ก็ขาดความตั้งใจลง ไม่ขยันทำความเพียร เหมือนที่ผมเองกำลังขาดความเพียร ธรรมมีไว้ให้เห็น แต่ก็เลือกความสบายไว้เหนือธรรม

เมือ่มีความทุกข์สุมอก ก็ยากที่จะสร้างกำลังใจในการปฎิบัติ เพราะมัวแต่ห่วงกระแสแห่งโลก แบกขันธ์คนอื่น ความหดหู่นั้น กั้นกระแสธรรมมากกว่าความสบายกายสบายใจ ความสบายกายสบายใจก็กลายเป็นคนขี้เกียจ ไม่ขวนขวาย

บางทีก็เป็นเรื่องของความตระหนี่ จนกลายเป็นความกระวนกระวายใจที่ทุกครั้งต้องมีเรื่องเกี่ยวพันกับการใช้จ่าย เมื่อเกิดการลงทุน ก็หวังผลกำไรในบัดดล โดยหากไม่ได้คิดถึงผลกำไร ก็จะอึดอัด เหมือนเสียของหวงของรัก คร่ำครวญใจเมื่อไหร่จะได้ของรักกลับคืนมา

ผมเองพิจารณาตัวเองก็ตกอยู่ในสภาพเช่นนี้ คิดแล้วสมเพทตัวเอง ฝึกมาตั้งนาน ไม่กล้าปล่อยวางเรื่องกระแสโลก สองสามวันที่ผ่านมา ก็รู้สึกว่าตัวเราเองจะต้องเริ่มสู้กับนิวรณ์ทั้ง5นี้อย่างจริงจัง เมื่อถูกครอบงำเมื่อไหร่ นั่นแหละเรากำลังหลง ไม่เห็นธรรมที่หน้าที่เราควรจะเห็น

:b8:
ความคิดที่จะต่อสู้กับนิวรณ์ธรรมทั้ง 5 นั้นเป็นสิ่งที่ดี

แต่ความคิดที่จะสู้กับเหตุที่ทำให้เกิดนิวรณ์ 5 นั้น ดีกว่า

อะไรเป็นเหตุให้เกิดนิวรณ์ 5 ?

ความเห็นผิด.....มิจฉาทิฏฐิ......สักกายทิฏฐิ....กับ

ความยึดผิด....มานะทิฏฐิ.....นั่นไงทำให้เกิดนิวรณ์ธรรมทั้ง 5

สู้ที่ 2 ตัวนี้ จึงจะชื่อว่าสู้อย่าชาญฉลาด
onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.พ. 2014, 16:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
student เขียน:
เมื่อชีวิตความเป็นอยู่ อยู่ในระดับขีดความพอใจ ไม่มีเรื่องกับใคร มีทรัพย์ใช้จ่าย มีที่กินนอนรองรับไม่ขัดสน ก็ขาดความตั้งใจลง ไม่ขยันทำความเพียร เหมือนที่ผมเองกำลังขาดความเพียร ธรรมมีไว้ให้เห็น แต่ก็เลือกความสบายไว้เหนือธรรม

เมือ่มีความทุกข์สุมอก ก็ยากที่จะสร้างกำลังใจในการปฎิบัติ เพราะมัวแต่ห่วงกระแสแห่งโลก แบกขันธ์คนอื่น ความหดหู่นั้น กั้นกระแสธรรมมากกว่าความสบายกายสบายใจ ความสบายกายสบายใจก็กลายเป็นคนขี้เกียจ ไม่ขวนขวาย

บางทีก็เป็นเรื่องของความตระหนี่ จนกลายเป็นความกระวนกระวายใจที่ทุกครั้งต้องมีเรื่องเกี่ยวพันกับการใช้จ่าย เมื่อเกิดการลงทุน ก็หวังผลกำไรในบัดดล โดยหากไม่ได้คิดถึงผลกำไร ก็จะอึดอัด เหมือนเสียของหวงของรัก คร่ำครวญใจเมื่อไหร่จะได้ของรักกลับคืนมา

ผมเองพิจารณาตัวเองก็ตกอยู่ในสภาพเช่นนี้ คิดแล้วสมเพทตัวเอง ฝึกมาตั้งนาน ไม่กล้าปล่อยวางเรื่องกระแสโลก สองสามวันที่ผ่านมา ก็รู้สึกว่าตัวเราเองจะต้องเริ่มสู้กับนิวรณ์ทั้ง5นี้อย่างจริงจัง เมื่อถูกครอบงำเมื่อไหร่ นั่นแหละเรากำลังหลง ไม่เห็นธรรมที่หน้าที่เราควรจะเห็น

:b8:
ความคิดที่จะต่อสู้กับนิวรณ์ธรรมทั้ง 5 นั้นเป็นสิ่งที่ดี

แต่ความคิดที่จะสู้กับเหตุที่ทำให้เกิดนิวรณ์ 5 นั้น ดีกว่า

อะไรเป็นเหตุให้เกิดนิวรณ์ 5 ?

ความเห็นผิด.....มิจฉาทิฏฐิ......สักกายทิฏฐิ....กับ

ความยึดผิด....มานะทิฏฐิ.....นั่นไงทำให้เกิดนิวรณ์ธรรมทั้ง 5

สู้ที่ 2 ตัวนี้ จึงจะชื่อว่าสู้อย่าชาญฉลาด
onion


บอกวิธีสู้เขาด้วยซี่ขอรับ สู้ยังไง :b10: :b14: ที่ว่าสู้อย่างชาญฉลาดน่ะ

เห็นที่นี่

http://larndham.org/index.php?/topic/43 ... ntry806540

และที่อื่นๆ ต่างก็พยายามขบคิดหาหนทางกันเหลือเกินนะขอรับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ก.พ. 2014, 15:08 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว




อโศกะ 2.jpg
อโศกะ 2.jpg [ 49.28 KiB | เปิดดู 3472 ครั้ง ]
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
student เขียน:
เมื่อชีวิตความเป็นอยู่ อยู่ในระดับขีดความพอใจ ไม่มีเรื่องกับใคร มีทรัพย์ใช้จ่าย มีที่กินนอนรองรับไม่ขัดสน ก็ขาดความตั้งใจลง ไม่ขยันทำความเพียร เหมือนที่ผมเองกำลังขาดความเพียร ธรรมมีไว้ให้เห็น แต่ก็เลือกความสบายไว้เหนือธรรม

เมือ่มีความทุกข์สุมอก ก็ยากที่จะสร้างกำลังใจในการปฎิบัติ เพราะมัวแต่ห่วงกระแสแห่งโลก แบกขันธ์คนอื่น ความหดหู่นั้น กั้นกระแสธรรมมากกว่าความสบายกายสบายใจ ความสบายกายสบายใจก็กลายเป็นคนขี้เกียจ ไม่ขวนขวาย

บางทีก็เป็นเรื่องของความตระหนี่ จนกลายเป็นความกระวนกระวายใจที่ทุกครั้งต้องมีเรื่องเกี่ยวพันกับการใช้จ่าย เมื่อเกิดการลงทุน ก็หวังผลกำไรในบัดดล โดยหากไม่ได้คิดถึงผลกำไร ก็จะอึดอัด เหมือนเสียของหวงของรัก คร่ำครวญใจเมื่อไหร่จะได้ของรักกลับคืนมา

ผมเองพิจารณาตัวเองก็ตกอยู่ในสภาพเช่นนี้ คิดแล้วสมเพทตัวเอง ฝึกมาตั้งนาน ไม่กล้าปล่อยวางเรื่องกระแสโลก สองสามวันที่ผ่านมา ก็รู้สึกว่าตัวเราเองจะต้องเริ่มสู้กับนิวรณ์ทั้ง5นี้อย่างจริงจัง เมื่อถูกครอบงำเมื่อไหร่ นั่นแหละเรากำลังหลง ไม่เห็นธรรมที่หน้าที่เราควรจะเห็น

:b8:
ความคิดที่จะต่อสู้กับนิวรณ์ธรรมทั้ง 5 นั้นเป็นสิ่งที่ดี

แต่ความคิดที่จะสู้กับเหตุที่ทำให้เกิดนิวรณ์ 5 นั้น ดีกว่า

อะไรเป็นเหตุให้เกิดนิวรณ์ 5 ?

ความเห็นผิด.....มิจฉาทิฏฐิ......สักกายทิฏฐิ....กับ

ความยึดผิด....มานะทิฏฐิ.....นั่นไงทำให้เกิดนิวรณ์ธรรมทั้ง 5

สู้ที่ 2 ตัวนี้ จึงจะชื่อว่าสู้อย่าชาญฉลาด
onion


บอกวิธีสู้เขาด้วยซี่ขอรับ สู้ยังไง :b10: :b14: ที่ว่าสู้อย่างชาญฉลาดน่ะ

เห็นที่นี่

http://larndham.org/index.php?/topic/43 ... ntry806540

และที่อื่นๆ ต่างก็พยายามขบคิดหาหนทางกันเหลือเกินนะขอรับ

:b27: :b27: :b27:
กรัชกายนี่สมกับเป็น ยอดนักวิชาการทางธรรมได้จริงๆ เพราะท่องเที่ยวค้นคว้าหาความรู้ ไปทั่ว ถามแหลกไปทุกที่ จนได้ดีจนได้

ที่ลิ้งค์มาก็ถือว่าดีมากแล้วครับ สาธุ

วิธีสู้นั้นอโศกะได้พูดซ้ำย้ำแล้วย้ำอีก แต่ยังไม่มีใครจำและนำมาวิเคราะห์วิจารณ์ว่า


งานและหน้าที่ของชาวพุทธ

สำรวมกายใจ มานิ่งรู้ นิ่งสังเกต ปัจจุบันอารมณ์
จนละความเห็นผิดว่ากายใจนี้เป็นอัตตาตัวกู ของกู

พอกพูนความเห็นถูกต้อง ว่ากายใจนี้เป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวกู ของกู
ทุกวัน เวลา นาฑี วินาฑี ที่ระลึกได้และมีโอกาส

หัวใจวิปัสสนาภาวนา

ใจปัญญาอย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย ถ้าสู้ได้
ทนได้ ไม่ตะบอย กู จะถอยหรือตายดับ ไปจากใจ
:b8:
กรัชกาย หรือนักวิชาการทั้งหลายลองมาช่วยกันวิเคราะห์ วิจารณ์ วิจัย บทสรุป ที่อโศกะยกมานี้ว่า
มีอะไร ที่นอกธรรม นอกวินัย นอกแนวทางที่พระพุทธเจ้าทรงสอนบ้าง

และในทางกลับการลองคิดบวกแล้วค้นหาสิ่งที่ดีๆในบทสรุปนี้มาเล่าสู่มิตรสหายในลานธรรมจักรนี้ฟังด้วยนะครับ

:b8:
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ก.พ. 2014, 16:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




อโศกะ 2.jpg
อโศกะ 2.jpg [ 49.28 KiB | เปิดดู 3468 ครั้ง ]
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
student เขียน:
เมื่อชีวิตความเป็นอยู่ อยู่ในระดับขีดความพอใจ ไม่มีเรื่องกับใคร มีทรัพย์ใช้จ่าย มีที่กินนอนรองรับไม่ขัดสน ก็ขาดความตั้งใจลง ไม่ขยันทำความเพียร เหมือนที่ผมเองกำลังขาดความเพียร ธรรมมีไว้ให้เห็น แต่ก็เลือกความสบายไว้เหนือธรรม

เมือ่มีความทุกข์สุมอก ก็ยากที่จะสร้างกำลังใจในการปฎิบัติ เพราะมัวแต่ห่วงกระแสแห่งโลก แบกขันธ์คนอื่น ความหดหู่นั้น กั้นกระแสธรรมมากกว่าความสบายกายสบายใจ ความสบายกายสบายใจก็กลายเป็นคนขี้เกียจ ไม่ขวนขวาย

บางทีก็เป็นเรื่องของความตระหนี่ จนกลายเป็นความกระวนกระวายใจที่ทุกครั้งต้องมีเรื่องเกี่ยวพันกับการใช้จ่าย เมื่อเกิดการลงทุน ก็หวังผลกำไรในบัดดล โดยหากไม่ได้คิดถึงผลกำไร ก็จะอึดอัด เหมือนเสียของหวงของรัก คร่ำครวญใจเมื่อไหร่จะได้ของรักกลับคืนมา

ผมเองพิจารณาตัวเองก็ตกอยู่ในสภาพเช่นนี้ คิดแล้วสมเพทตัวเอง ฝึกมาตั้งนาน ไม่กล้าปล่อยวางเรื่องกระแสโลก สองสามวันที่ผ่านมา ก็รู้สึกว่าตัวเราเองจะต้องเริ่มสู้กับนิวรณ์ทั้ง5นี้อย่างจริงจัง เมื่อถูกครอบงำเมื่อไหร่ นั่นแหละเรากำลังหลง ไม่เห็นธรรมที่หน้าที่เราควรจะเห็น

:b8:
ความคิดที่จะต่อสู้กับนิวรณ์ธรรมทั้ง 5 นั้นเป็นสิ่งที่ดี

แต่ความคิดที่จะสู้กับเหตุที่ทำให้เกิดนิวรณ์ 5 นั้น ดีกว่า

อะไรเป็นเหตุให้เกิดนิวรณ์ 5 ?

ความเห็นผิด.....มิจฉาทิฏฐิ......สักกายทิฏฐิ....กับ

ความยึดผิด....มานะทิฏฐิ.....นั่นไงทำให้เกิดนิวรณ์ธรรมทั้ง 5

สู้ที่ 2 ตัวนี้ จึงจะชื่อว่าสู้อย่าชาญฉลาด
onion


บอกวิธีสู้เขาด้วยซี่ขอรับ สู้ยังไง :b10: :b14: ที่ว่าสู้อย่างชาญฉลาดน่ะ

เห็นที่นี่

http://larndham.org/index.php?/topic/43 ... ntry806540

และที่อื่นๆ ต่างก็พยายามขบคิดหาหนทางกันเหลือเกินนะขอรับ

:b27: :b27: :b27:
กรัชกายนี่สมกับเป็น ยอดนักวิชาการทางธรรมได้จริงๆ เพราะท่องเที่ยวค้นคว้าหาความรู้ ไปทั่ว ถามแหลกไปทุกที่ จนได้ดีจนได้

ที่ลิ้งค์มาก็ถือว่าดีมากแล้วครับ สาธุ

วิธีสู้นั้นอโศกะได้พูดซ้ำย้ำแล้วย้ำอีก แต่ยังไม่มีใครจำและนำมาวิเคราะห์วิจารณ์ว่า


งานและหน้าที่ของชาวพุทธ

สำรวมกายใจ มานิ่งรู้ นิ่งสังเกต ปัจจุบันอารมณ์
จนละความเห็นผิดว่ากายใจนี้เป็นอัตตาตัวกู ของกู

พอกพูนความเห็นถูกต้อง ว่ากายใจนี้เป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวกู ของกู
ทุกวัน เวลา นาฑี วินาฑี ที่ระลึกได้และมีโอกาส

หัวใจวิปัสสนาภาวนา

ใจปัญญาอย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย ถ้าสู้ได้
ทนได้ ไม่ตะบอย กู จะถอยหรือตายดับ ไปจากใจ
:b8:

กรัชกาย หรือนักวิชาการทั้งหลายลองมาช่วยกันวิเคราะห์ วิจารณ์ วิจัย บทสรุป ที่อโศกะยกมานี้ว่า
มีอะไร ที่นอกธรรม นอกวินัย นอกแนวทางที่พระพุทธเจ้าทรงสอนบ้าง

และในทางกลับการลองคิดบวกแล้วค้นหาสิ่งที่ดีๆในบทสรุปนี้มาเล่าสู่มิตรสหายในลานธรรมจักรนี้ฟังด้วยนะครับ

:b8:


อ้างคำพูด:
หัวใจวิปัสสนาภาวนา

ใจปัญญาอย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย ถ้าสู้ได้
ทนได้ ไม่ตะบอย กู จะถอยหรือตายดับ ไปจากใจ


อโศกครับ เวลาคุณแนะนำให้ผู้อื่นปฏิบัติเนี่ย คุณให้เขาท่อง ...ตะบอย ตะงอยนั่นหรือครับ แล้วมันเป็นหัวใจวิปัสสนาตรงไหนครับน่า :b10: :b14:

กระท่อมทองกวาว

http://www.youtube.com/watch?v=JJEa4sRflQ0

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ก.พ. 2014, 21:29 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
student เขียน:
เมื่อชีวิตความเป็นอยู่ อยู่ในระดับขีดความพอใจ ไม่มีเรื่องกับใคร มีทรัพย์ใช้จ่าย มีที่กินนอนรองรับไม่ขัดสน ก็ขาดความตั้งใจลง ไม่ขยันทำความเพียร เหมือนที่ผมเองกำลังขาดความเพียร ธรรมมีไว้ให้เห็น แต่ก็เลือกความสบายไว้เหนือธรรม

เมือ่มีความทุกข์สุมอก ก็ยากที่จะสร้างกำลังใจในการปฎิบัติ เพราะมัวแต่ห่วงกระแสแห่งโลก แบกขันธ์คนอื่น ความหดหู่นั้น กั้นกระแสธรรมมากกว่าความสบายกายสบายใจ ความสบายกายสบายใจก็กลายเป็นคนขี้เกียจ ไม่ขวนขวาย

บางทีก็เป็นเรื่องของความตระหนี่ จนกลายเป็นความกระวนกระวายใจที่ทุกครั้งต้องมีเรื่องเกี่ยวพันกับการใช้จ่าย เมื่อเกิดการลงทุน ก็หวังผลกำไรในบัดดล โดยหากไม่ได้คิดถึงผลกำไร ก็จะอึดอัด เหมือนเสียของหวงของรัก คร่ำครวญใจเมื่อไหร่จะได้ของรักกลับคืนมา

ผมเองพิจารณาตัวเองก็ตกอยู่ในสภาพเช่นนี้ คิดแล้วสมเพทตัวเอง ฝึกมาตั้งนาน ไม่กล้าปล่อยวางเรื่องกระแสโลก สองสามวันที่ผ่านมา ก็รู้สึกว่าตัวเราเองจะต้องเริ่มสู้กับนิวรณ์ทั้ง5นี้อย่างจริงจัง เมื่อถูกครอบงำเมื่อไหร่ นั่นแหละเรากำลังหลง ไม่เห็นธรรมที่หน้าที่เราควรจะเห็น

:b8:
ความคิดที่จะต่อสู้กับนิวรณ์ธรรมทั้ง 5 นั้นเป็นสิ่งที่ดี

แต่ความคิดที่จะสู้กับเหตุที่ทำให้เกิดนิวรณ์ 5 นั้น ดีกว่า

อะไรเป็นเหตุให้เกิดนิวรณ์ 5 ?

ความเห็นผิด.....มิจฉาทิฏฐิ......สักกายทิฏฐิ....กับ

ความยึดผิด....มานะทิฏฐิ.....นั่นไงทำให้เกิดนิวรณ์ธรรมทั้ง 5

สู้ที่ 2 ตัวนี้ จึงจะชื่อว่าสู้อย่าชาญฉลาด
onion


บอกวิธีสู้เขาด้วยซี่ขอรับ สู้ยังไง :b10: :b14: ที่ว่าสู้อย่างชาญฉลาดน่ะ

เห็นที่นี่

http://larndham.org/index.php?/topic/43 ... ntry806540

และที่อื่นๆ ต่างก็พยายามขบคิดหาหนทางกันเหลือเกินนะขอรับ

:b27: :b27: :b27:
กรัชกายนี่สมกับเป็น ยอดนักวิชาการทางธรรมได้จริงๆ เพราะท่องเที่ยวค้นคว้าหาความรู้ ไปทั่ว ถามแหลกไปทุกที่ จนได้ดีจนได้

ที่ลิ้งค์มาก็ถือว่าดีมากแล้วครับ สาธุ

วิธีสู้นั้นอโศกะได้พูดซ้ำย้ำแล้วย้ำอีก แต่ยังไม่มีใครจำและนำมาวิเคราะห์วิจารณ์ว่า


งานและหน้าที่ของชาวพุทธ

สำรวมกายใจ มานิ่งรู้ นิ่งสังเกต ปัจจุบันอารมณ์
จนละความเห็นผิดว่ากายใจนี้เป็นอัตตาตัวกู ของกู

พอกพูนความเห็นถูกต้อง ว่ากายใจนี้เป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวกู ของกู
ทุกวัน เวลา นาฑี วินาฑี ที่ระลึกได้และมีโอกาส

หัวใจวิปัสสนาภาวนา

ใจปัญญาอย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย ถ้าสู้ได้
ทนได้ ไม่ตะบอย กู จะถอยหรือตายดับ ไปจากใจ
:b8:

กรัชกาย หรือนักวิชาการทั้งหลายลองมาช่วยกันวิเคราะห์ วิจารณ์ วิจัย บทสรุป ที่อโศกะยกมานี้ว่า
มีอะไร ที่นอกธรรม นอกวินัย นอกแนวทางที่พระพุทธเจ้าทรงสอนบ้าง

และในทางกลับการลองคิดบวกแล้วค้นหาสิ่งที่ดีๆในบทสรุปนี้มาเล่าสู่มิตรสหายในลานธรรมจักรนี้ฟังด้วยนะครับ

:b8:


อ้างคำพูด:
หัวใจวิปัสสนาภาวนา

ใจปัญญาอย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย ถ้าสู้ได้
ทนได้ ไม่ตะบอย กู จะถอยหรือตายดับ ไปจากใจ


อโศกครับ เวลาคุณแนะนำให้ผู้อื่นปฏิบัติเนี่ย คุณให้เขาท่อง ...ตะบอย ตะงอยนั่นหรือครับ แล้วมันเป็นหัวใจวิปัสสนาตรงไหนครับน่า :b10: :b14:

กระท่อมทองกวาว

http://www.youtube.com/watch?v=JJEa4sRflQ0

:b12:
สู้ที่ความเห็ผิดว่าเป็นกูเป็นเรา เป็นอัตตาตัวตน หรือสักกายทิฏฐินั่นแหละ ตรงประเด็นที่สุด

ลองไปทบทวนวิชาการดูดีๆว่า มรรคครั้งที่ 1 หรือโสดาปัตติมรรคนั้น ตัดทำลายอะไรก่อนเป็นสำคัญ

เข้าใจหรือยังกรัชกาย
:b38:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ก.พ. 2014, 22:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
student เขียน:
เมื่อชีวิตความเป็นอยู่ อยู่ในระดับขีดความพอใจ ไม่มีเรื่องกับใคร มีทรัพย์ใช้จ่าย มีที่กินนอนรองรับไม่ขัดสน ก็ขาดความตั้งใจลง ไม่ขยันทำความเพียร เหมือนที่ผมเองกำลังขาดความเพียร ธรรมมีไว้ให้เห็น แต่ก็เลือกความสบายไว้เหนือธรรม

เมือ่มีความทุกข์สุมอก ก็ยากที่จะสร้างกำลังใจในการปฎิบัติ เพราะมัวแต่ห่วงกระแสแห่งโลก แบกขันธ์คนอื่น ความหดหู่นั้น กั้นกระแสธรรมมากกว่าความสบายกายสบายใจ ความสบายกายสบายใจก็กลายเป็นคนขี้เกียจ ไม่ขวนขวาย

บางทีก็เป็นเรื่องของความตระหนี่ จนกลายเป็นความกระวนกระวายใจที่ทุกครั้งต้องมีเรื่องเกี่ยวพันกับการใช้จ่าย เมื่อเกิดการลงทุน ก็หวังผลกำไรในบัดดล โดยหากไม่ได้คิดถึงผลกำไร ก็จะอึดอัด เหมือนเสียของหวงของรัก คร่ำครวญใจเมื่อไหร่จะได้ของรักกลับคืนมา

ผมเองพิจารณาตัวเองก็ตกอยู่ในสภาพเช่นนี้ คิดแล้วสมเพทตัวเอง ฝึกมาตั้งนาน ไม่กล้าปล่อยวางเรื่องกระแสโลก สองสามวันที่ผ่านมา ก็รู้สึกว่าตัวเราเองจะต้องเริ่มสู้กับนิวรณ์ทั้ง5นี้อย่างจริงจัง เมื่อถูกครอบงำเมื่อไหร่ นั่นแหละเรากำลังหลง ไม่เห็นธรรมที่หน้าที่เราควรจะเห็น

:b8:
ความคิดที่จะต่อสู้กับนิวรณ์ธรรมทั้ง 5 นั้นเป็นสิ่งที่ดี

แต่ความคิดที่จะสู้กับเหตุที่ทำให้เกิดนิวรณ์ 5 นั้น ดีกว่า

อะไรเป็นเหตุให้เกิดนิวรณ์ 5 ?

ความเห็นผิด.....มิจฉาทิฏฐิ......สักกายทิฏฐิ....กับ

ความยึดผิด....มานะทิฏฐิ.....นั่นไงทำให้เกิดนิวรณ์ธรรมทั้ง 5

สู้ที่ 2 ตัวนี้ จึงจะชื่อว่าสู้อย่าชาญฉลาด
onion


บอกวิธีสู้เขาด้วยซี่ขอรับ สู้ยังไง :b10: :b14: ที่ว่าสู้อย่างชาญฉลาดน่ะ

เห็นที่นี่

http://larndham.org/index.php?/topic/43 ... ntry806540

และที่อื่นๆ ต่างก็พยายามขบคิดหาหนทางกันเหลือเกินนะขอรับ

:b27: :b27: :b27:
กรัชกายนี่สมกับเป็น ยอดนักวิชาการทางธรรมได้จริงๆ เพราะท่องเที่ยวค้นคว้าหาความรู้ ไปทั่ว ถามแหลกไปทุกที่ จนได้ดีจนได้

ที่ลิ้งค์มาก็ถือว่าดีมากแล้วครับ สาธุ

วิธีสู้นั้นอโศกะได้พูดซ้ำย้ำแล้วย้ำอีก แต่ยังไม่มีใครจำและนำมาวิเคราะห์วิจารณ์ว่า


งานและหน้าที่ของชาวพุทธ

สำรวมกายใจ มานิ่งรู้ นิ่งสังเกต ปัจจุบันอารมณ์
จนละความเห็นผิดว่ากายใจนี้เป็นอัตตาตัวกู ของกู

พอกพูนความเห็นถูกต้อง ว่ากายใจนี้เป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวกู ของกู
ทุกวัน เวลา นาฑี วินาฑี ที่ระลึกได้และมีโอกาส

หัวใจวิปัสสนาภาวนา

ใจปัญญาอย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย ถ้าสู้ได้
ทนได้ ไม่ตะบอย กู จะถอยหรือตายดับ ไปจากใจ
:b8:

กรัชกาย หรือนักวิชาการทั้งหลายลองมาช่วยกันวิเคราะห์ วิจารณ์ วิจัย บทสรุป ที่อโศกะยกมานี้ว่า
มีอะไร ที่นอกธรรม นอกวินัย นอกแนวทางที่พระพุทธเจ้าทรงสอนบ้าง

และในทางกลับการลองคิดบวกแล้วค้นหาสิ่งที่ดีๆในบทสรุปนี้มาเล่าสู่มิตรสหายในลานธรรมจักรนี้ฟังด้วยนะครับ

:b8:


อ้างคำพูด:
หัวใจวิปัสสนาภาวนา

ใจปัญญาอย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย ถ้าสู้ได้
ทนได้ ไม่ตะบอย กู จะถอยหรือตายดับ ไปจากใจ


อโศกครับ เวลาคุณแนะนำให้ผู้อื่นปฏิบัติเนี่ย คุณให้เขาท่อง ...ตะบอย ตะงอยนั่นหรือครับ แล้วมันเป็นหัวใจวิปัสสนาตรงไหนครับน่า :b10: :b14:

กระท่อมทองกวาว

http://www.youtube.com/watch?v=JJEa4sRflQ0

:b12:
สู้ที่ความเห็ผิดว่าเป็นกูเป็นเรา เป็นอัตตาตัวตน หรือสักกายทิฏฐินั่นแหละ ตรงประเด็นที่สุด

ลองไปทบทวนวิชาการดูดีๆว่า มรรคครั้งที่ 1 หรือโสดาปัตติมรรคนั้น ตัดทำลายอะไรก่อนเป็นสำคัญ

เข้าใจหรือยังกรัชกาย
:b38:


อ้างคำพูด:
ใจปัญญาอย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย ถ้าสู้ได้
ทนได้ ไม่ตะบอย กู จะถอยหรือตายดับ ไปจากใจ


นั่งท่องยังงั้นแล้ว มันจะเห็นได้ยังไงกัน หรือว่าท่องไปยังงั้นครบ 108 จบ โสดาปัตติมรรคเกิดทำลายอะไรต่ออะไรเลยหรอขอรับ :b1:


คุณ student เอาไปท่องเลยครับ :b8:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ก.พ. 2014, 23:49 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
student เขียน:
เมื่อชีวิตความเป็นอยู่ อยู่ในระดับขีดความพอใจ ไม่มีเรื่องกับใคร มีทรัพย์ใช้จ่าย มีที่กินนอนรองรับไม่ขัดสน ก็ขาดความตั้งใจลง ไม่ขยันทำความเพียร เหมือนที่ผมเองกำลังขาดความเพียร ธรรมมีไว้ให้เห็น แต่ก็เลือกความสบายไว้เหนือธรรม

เมือ่มีความทุกข์สุมอก ก็ยากที่จะสร้างกำลังใจในการปฎิบัติ เพราะมัวแต่ห่วงกระแสแห่งโลก แบกขันธ์คนอื่น ความหดหู่นั้น กั้นกระแสธรรมมากกว่าความสบายกายสบายใจ ความสบายกายสบายใจก็กลายเป็นคนขี้เกียจ ไม่ขวนขวาย

บางทีก็เป็นเรื่องของความตระหนี่ จนกลายเป็นความกระวนกระวายใจที่ทุกครั้งต้องมีเรื่องเกี่ยวพันกับการใช้จ่าย เมื่อเกิดการลงทุน ก็หวังผลกำไรในบัดดล โดยหากไม่ได้คิดถึงผลกำไร ก็จะอึดอัด เหมือนเสียของหวงของรัก คร่ำครวญใจเมื่อไหร่จะได้ของรักกลับคืนมา

ผมเองพิจารณาตัวเองก็ตกอยู่ในสภาพเช่นนี้ คิดแล้วสมเพทตัวเอง ฝึกมาตั้งนาน ไม่กล้าปล่อยวางเรื่องกระแสโลก สองสามวันที่ผ่านมา ก็รู้สึกว่าตัวเราเองจะต้องเริ่มสู้กับนิวรณ์ทั้ง5นี้อย่างจริงจัง เมื่อถูกครอบงำเมื่อไหร่ นั่นแหละเรากำลังหลง ไม่เห็นธรรมที่หน้าที่เราควรจะเห็น

:b8:
ความคิดที่จะต่อสู้กับนิวรณ์ธรรมทั้ง 5 นั้นเป็นสิ่งที่ดี

แต่ความคิดที่จะสู้กับเหตุที่ทำให้เกิดนิวรณ์ 5 นั้น ดีกว่า

อะไรเป็นเหตุให้เกิดนิวรณ์ 5 ?

ความเห็นผิด.....มิจฉาทิฏฐิ......สักกายทิฏฐิ....กับ

ความยึดผิด....มานะทิฏฐิ.....นั่นไงทำให้เกิดนิวรณ์ธรรมทั้ง 5

สู้ที่ 2 ตัวนี้ จึงจะชื่อว่าสู้อย่าชาญฉลาด
onion


บอกวิธีสู้เขาด้วยซี่ขอรับ สู้ยังไง :b10: :b14: ที่ว่าสู้อย่างชาญฉลาดน่ะ

เห็นที่นี่

http://larndham.org/index.php?/topic/43 ... ntry806540

และที่อื่นๆ ต่างก็พยายามขบคิดหาหนทางกันเหลือเกินนะขอรับ

:b27: :b27: :b27:
กรัชกายนี่สมกับเป็น ยอดนักวิชาการทางธรรมได้จริงๆ เพราะท่องเที่ยวค้นคว้าหาความรู้ ไปทั่ว ถามแหลกไปทุกที่ จนได้ดีจนได้

ที่ลิ้งค์มาก็ถือว่าดีมากแล้วครับ สาธุ

วิธีสู้นั้นอโศกะได้พูดซ้ำย้ำแล้วย้ำอีก แต่ยังไม่มีใครจำและนำมาวิเคราะห์วิจารณ์ว่า


งานและหน้าที่ของชาวพุทธ

สำรวมกายใจ มานิ่งรู้ นิ่งสังเกต ปัจจุบันอารมณ์
จนละความเห็นผิดว่ากายใจนี้เป็นอัตตาตัวกู ของกู

พอกพูนความเห็นถูกต้อง ว่ากายใจนี้เป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวกู ของกู
ทุกวัน เวลา นาฑี วินาฑี ที่ระลึกได้และมีโอกาส

หัวใจวิปัสสนาภาวนา

ใจปัญญาอย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย ถ้าสู้ได้
ทนได้ ไม่ตะบอย กู จะถอยหรือตายดับ ไปจากใจ
:b8:

กรัชกาย หรือนักวิชาการทั้งหลายลองมาช่วยกันวิเคราะห์ วิจารณ์ วิจัย บทสรุป ที่อโศกะยกมานี้ว่า
มีอะไร ที่นอกธรรม นอกวินัย นอกแนวทางที่พระพุทธเจ้าทรงสอนบ้าง

และในทางกลับการลองคิดบวกแล้วค้นหาสิ่งที่ดีๆในบทสรุปนี้มาเล่าสู่มิตรสหายในลานธรรมจักรนี้ฟังด้วยนะครับ

:b8:


อ้างคำพูด:
หัวใจวิปัสสนาภาวนา

ใจปัญญาอย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย ถ้าสู้ได้
ทนได้ ไม่ตะบอย กู จะถอยหรือตายดับ ไปจากใจ


อโศกครับ เวลาคุณแนะนำให้ผู้อื่นปฏิบัติเนี่ย คุณให้เขาท่อง ...ตะบอย ตะงอยนั่นหรือครับ แล้วมันเป็นหัวใจวิปัสสนาตรงไหนครับน่า :b10: :b14:

กระท่อมทองกวาว

http://www.youtube.com/watch?v=JJEa4sRflQ0

:b12:
สู้ที่ความเห็ผิดว่าเป็นกูเป็นเรา เป็นอัตตาตัวตน หรือสักกายทิฏฐินั่นแหละ ตรงประเด็นที่สุด

ลองไปทบทวนวิชาการดูดีๆว่า มรรคครั้งที่ 1 หรือโสดาปัตติมรรคนั้น ตัดทำลายอะไรก่อนเป็นสำคัญ

เข้าใจหรือยังกรัชกาย
:b38:


อ้างคำพูด:
ใจปัญญาอย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย ถ้าสู้ได้
ทนได้ ไม่ตะบอย กู จะถอยหรือตายดับ ไปจากใจ


นั่งท่องยังงั้นแล้ว มันจะเห็นได้ยังไงกัน หรือว่าท่องไปยังงั้นครบ 108 จบ โสดาปัตติมรรคเกิดทำลายอะไรต่ออะไรเลยหรอขอรับ :b1:


คุณ student เอาไปท่องเลยครับ :b8:

:b17:
ทำตัวเป็นเด็กอมมือไม่รู้จักโตอีกแล้วกรัชกายนี้่

หลักปฏิบัติใครเขาไม่เอาไปท่องเป็นคาถาหรือคำบริกรรมภาวนาอย่างทีกรัชกายเข้าใจผิดไปหรอก หรือพวกนักวิชาการเขาชอบทำกันอย่างนี้

หลักปฏิบัติเขาให้จำไว้สอนใจเวลาลงมือทำจริงพิสูจน์ความจริง
หลักปฏิบัติที่ดียิ่งทำจริงยิ่งใช่ยิ่งซึ้งเพราะมันเจอของจริงอย่างที่หลักท่านว่าจริงๆ

ลองดูจริงๆซิกรัชกาย รับรองไม่เกิน 5 นาทีจะพบ กู ที่ลุกขึ้นมาสู้ มาสั่งใจกรัชกายเองเลยเชียวนะ

ถ้ามีความสังเกตดีพอกรัชกายจะรู้ได้เดี๋ยวนี้เลยว่า
ทั้งกูพี่ (สักกายทิฏฐิ)และกูน้อง (มานะทิฏฐิ)ที่ครอบครองใจกรัชกายมาหลายกัปป์หลายกัลป์ มันลุกขึ้นมาตอบโต้ ยินดียินร้ายต่อข้อความที่กำลังอ่านอยู่เดี๋ยวนี้เลยทีเดียว แล้วเดี๋ยวมันก็จะสั่งกรัชกายให้ทำกรรมตอบโต้ไปด้วยอำนาจความยินดียินร้ายนั้น

:b12: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ก.พ. 2014, 04:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:


ทำตัวเป็นเด็กอมมือไม่รู้จักโตอีกแล้วกรัชกายนี้่

หลักปฏิบัติใครเขาไม่เอาไปท่องเป็นคาถาหรือคำบริกรรมภาวนาอย่างทีกรัชกายเข้าใจผิดไปหรอก หรือพวกนักวิชาการเขาชอบทำกันอย่างนี้

หลักปฏิบัติเขาให้จำไว้สอนใจเวลาลงมือทำจริงพิสูจน์ความจริง
หลักปฏิบัติที่ดียิ่งทำจริงยิ่งใช่ยิ่งซึ้งเพราะมันเจอของจริงอย่างที่หลักท่านว่าจริงๆ

ลองดูจริงๆซิกรัชกาย รับรองไม่เกิน 5 นาทีจะพบ กู ที่ลุกขึ้นมาสู้ มาสั่งใจกรัชกายเองเลยเชียวนะ

ถ้ามีความสังเกตดีพอกรัชกายจะรู้ได้เดี๋ยวนี้เลยว่า
ทั้งกูพี่ (สักกายทิฏฐิ) และกูน้อง (มานะทิฏฐิ) ที่ครอบครองใจกรัชกายมาหลายกัปป์หลายกัลป์ มันลุกขึ้นมาตอบโต้ ยินดียินร้ายต่อข้อความที่กำลังอ่านอยู่เดี๋ยวนี้เลยทีเดียว แล้วเดี๋ยวมันก็จะสั่งกรัชกายให้ทำกรรมตอบโต้ไปด้วยอำนาจความยินดียินร้ายนั้น




แน่ๆๆ ทีนี้มา ทั้งกูพี่ กูน้อง rolleyes เลย ไปคิดว่ามันมีกู ก็เลยมีกู ทั้งๆที่กู (อัตตา) หามีไม่

คุณอโศกครับ พอรู้ความหมาย วิปัสสนา มั้ยครับ หมายถึงอะไร

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ก.พ. 2014, 07:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:


ทำตัวเป็นเด็กอมมือไม่รู้จักโตอีกแล้วกรัชกายนี้่

หลักปฏิบัติใครเขาไม่เอาไปท่องเป็นคาถาหรือคำบริกรรมภาวนาอย่างทีกรัชกายเข้าใจผิดไปหรอก หรือพวกนักวิชาการเขาชอบทำกันอย่างนี้

หลักปฏิบัติเขาให้จำไว้สอนใจเวลาลงมือทำจริงพิสูจน์ความจริง
หลักปฏิบัติที่ดียิ่งทำจริงยิ่งใช่ยิ่งซึ้งเพราะมันเจอของจริงอย่างที่หลักท่านว่าจริงๆ

ลองดูจริงๆซิกรัชกาย รับรองไม่เกิน 5 นาทีจะพบ กู ที่ลุกขึ้นมาสู้ มาสั่งใจกรัชกายเองเลยเชียวนะ

ถ้ามีความสังเกตดีพอกรัชกายจะรู้ได้เดี๋ยวนี้เลยว่า
ทั้งกูพี่ (สักกายทิฏฐิ)และกูน้อง (มานะทิฏฐิ)ที่ครอบครองใจกรัชกายมาหลายกัปป์หลายกัลป์ มันลุกขึ้นมาตอบโต้ ยินดียินร้ายต่อข้อความที่กำลังอ่านอยู่เดี๋ยวนี้เลยทีเดียว แล้วเดี๋ยวมันก็จะสั่งกรัชกายให้ทำกรรมตอบโต้ไปด้วยอำนาจความยินดียินร้ายนั้น




อ้างคำพูด:
หลักปฏิบัติเขาให้จำไว้สอนใจ เวลาลงมือทำจริง พิสูจน์ความจริง
หลักปฏิบัติที่ดียิ่งทำจริงยิ่งใช่ยิ่งซึ้งเพราะมันเจอของจริงอย่างที่หลักท่านว่าจริงๆ


อ้างคำพูด:
หลักปฏิบัติเขาให้จำไว้สอนใจ เวลาลงมือทำจริง


ที่ว่า "จำไว้สอนใจเวลาลงมือทำจริง" เห็นชัดเลย อโศกไม่มีหลักการปฏิบัติด้านฝึกฝนอบรมจิตโดยตรง

ที่ตัวว่านั่่นมันเป็นภาคทฤษฎี เหมือนพระเทศน์บนธรรมาสน์ พูดไปเทศน์ไป (มีอะไรบ้างก็ว่าไป)



แล้วก็สำทับก่อนจะเทสนาวสาเนว่า จำไว้นะลูกหลานเอ้ย จำไว้นะโยมว่า

ใจปัญญาอย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย ถ้าสู้ได้
ทนได้ ไม่ตะบอย กู จะถอยหรือตายดับ ไปจากใจ


เท่านั้นเอง คิกๆๆ


อ้างคำพูด:
หลักปฏิบัติที่ดียิ่งทำจริงยิ่งใช่ยิ่งซึ้ง เพราะมันเจอของจริงอย่างที่หลักท่านว่าจริงๆ



พอเจอของจริงทีไร ก็บอกไม่ใช่ของจริง :b32: เดี๊ยะๆได้แบกจักรยานเดินกลับสำนักกันมั่ง :b13: บอกไม่เชื่อ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ก.พ. 2014, 08:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
student เขียน:
เมื่อชีวิตความเป็นอยู่ อยู่ในระดับขีดความพอใจ ไม่มีเรื่องกับใคร มีทรัพย์ใช้จ่าย มีที่กินนอนรองรับไม่ขัดสน ก็ขาดความตั้งใจลง ไม่ขยันทำความเพียร เหมือนที่ผมเองกำลังขาดความเพียร ธรรมมีไว้ให้เห็น แต่ก็เลือกความสบายไว้เหนือธรรม

เมือ่มีความทุกข์สุมอก ก็ยากที่จะสร้างกำลังใจในการปฎิบัติ เพราะมัวแต่ห่วงกระแสแห่งโลก แบกขันธ์คนอื่น ความหดหู่นั้น กั้นกระแสธรรมมากกว่าความสบายกายสบายใจ ความสบายกายสบายใจก็กลายเป็นคนขี้เกียจ ไม่ขวนขวาย

บางทีก็เป็นเรื่องของความตระหนี่ จนกลายเป็นความกระวนกระวายใจที่ทุกครั้งต้องมีเรื่องเกี่ยวพันกับการใช้จ่าย เมื่อเกิดการลงทุน ก็หวังผลกำไรในบัดดล โดยหากไม่ได้คิดถึงผลกำไร ก็จะอึดอัด เหมือนเสียของหวงของรัก คร่ำครวญใจเมื่อไหร่จะได้ของรักกลับคืนมา

ผมเองพิจารณาตัวเองก็ตกอยู่ในสภาพเช่นนี้ คิดแล้วสมเพทตัวเอง ฝึกมาตั้งนาน ไม่กล้าปล่อยวางเรื่องกระแสโลก สองสามวันที่ผ่านมา ก็รู้สึกว่าตัวเราเองจะต้องเริ่มสู้กับนิวรณ์ทั้ง5นี้อย่างจริงจัง เมื่อถูกครอบงำเมื่อไหร่ นั่นแหละเรากำลังหลง ไม่เห็นธรรมที่หน้าที่เราควรจะเห็น

:b8:
ความคิดที่จะต่อสู้กับนิวรณ์ธรรมทั้ง 5 นั้นเป็นสิ่งที่ดี

แต่ความคิดที่จะสู้กับเหตุที่ทำให้เกิดนิวรณ์ 5 นั้น ดีกว่า

อะไรเป็นเหตุให้เกิดนิวรณ์ 5 ?

ความเห็นผิด.....มิจฉาทิฏฐิ......สักกายทิฏฐิ....กับ

ความยึดผิด....มานะทิฏฐิ.....นั่นไงทำให้เกิดนิวรณ์ธรรมทั้ง 5

สู้ที่ 2 ตัวนี้ จึงจะชื่อว่าสู้อย่าชาญฉลาด
onion


บอกวิธีสู้เขาด้วยซี่ขอรับ สู้ยังไง :b10: :b14: ที่ว่าสู้อย่างชาญฉลาดน่ะ

เห็นที่นี่

http://larndham.org/index.php?/topic/43 ... ntry806540

และที่อื่นๆ ต่างก็พยายามขบคิดหาหนทางกันเหลือเกินนะขอรับ

:b27: :b27: :b27:
กรัชกายนี่สมกับเป็น ยอดนักวิชาการทางธรรมได้จริงๆ เพราะท่องเที่ยวค้นคว้าหาความรู้ ไปทั่ว ถามแหลกไปทุกที่ จนได้ดีจนได้

ที่ลิ้งค์มาก็ถือว่าดีมากแล้วครับ สาธุ

วิธีสู้นั้นอโศกะได้พูดซ้ำย้ำแล้วย้ำอีก แต่ยังไม่มีใครจำและนำมาวิเคราะห์วิจารณ์ว่า


งานและหน้าที่ของชาวพุทธ

สำรวมกายใจ มานิ่งรู้ นิ่งสังเกต ปัจจุบันอารมณ์
จนละความเห็นผิดว่ากายใจนี้เป็นอัตตาตัวกู ของกู

พอกพูนความเห็นถูกต้อง ว่ากายใจนี้เป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวกู ของกู
ทุกวัน เวลา นาฑี วินาฑี ที่ระลึกได้และมีโอกาส

หัวใจวิปัสสนาภาวนา

ใจปัญญาอย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย ถ้าสู้ได้
ทนได้ ไม่ตะบอย กู จะถอยหรือตายดับ ไปจากใจ
:b8:

กรัชกาย หรือนักวิชาการทั้งหลายลองมาช่วยกันวิเคราะห์ วิจารณ์ วิจัย บทสรุป ที่อโศกะยกมานี้ว่า
มีอะไร ที่นอกธรรม นอกวินัย นอกแนวทางที่พระพุทธเจ้าทรงสอนบ้าง

และในทางกลับการลองคิดบวกแล้วค้นหาสิ่งที่ดีๆในบทสรุปนี้มาเล่าสู่มิตรสหายในลานธรรมจักรนี้ฟังด้วยนะครับ

:b8:


อ้างคำพูด:
หัวใจวิปัสสนาภาวนา

ใจปัญญาอย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย ถ้าสู้ได้
ทนได้ ไม่ตะบอย กู จะถอยหรือตายดับ ไปจากใจ


อโศกครับ เวลาคุณแนะนำให้ผู้อื่นปฏิบัติเนี่ย คุณให้เขาท่อง ...ตะบอย ตะงอยนั่นหรือครับ แล้วมันเป็นหัวใจวิปัสสนาตรงไหนครับน่า :b10: :b14:

กระท่อมทองกวาว

http://www.youtube.com/watch?v=JJEa4sRflQ0

:b12:
สู้ที่ความเห็ผิดว่าเป็นกูเป็นเรา เป็นอัตตาตัวตน หรือสักกายทิฏฐินั่นแหละ ตรงประเด็นที่สุด

ลองไปทบทวนวิชาการดูดีๆว่า มรรคครั้งที่ 1 หรือโสดาปัตติมรรคนั้น ตัดทำลายอะไรก่อนเป็นสำคัญ

เข้าใจหรือยังกรัชกาย
:b38:


อ้างคำพูด:
ใจปัญญาอย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย ถ้าสู้ได้
ทนได้ ไม่ตะบอย กู จะถอยหรือตายดับ ไปจากใจ


นั่งท่องยังงั้นแล้ว มันจะเห็นได้ยังไงกัน หรือว่าท่องไปยังงั้นครบ 108 จบ โสดาปัตติมรรคเกิดทำลายอะไรต่ออะไรเลยหรอขอรับ :b1:


คุณ student เอาไปท่องเลยครับ :b8:


การท่องถ้าพิจารณาก็จะได้กำหนดรู้ธรรมต่างกันออกไป ถ้าพิจารณาในแง่ของการรักษาสติแล้ว สำหรับผมนั้นคิดว่ายากกว่าปกติครับ คือปกติที่ผมฝึกตอนนี้ จะกำหนดรู้ทันได้เฉพาะจุดเช่น ร้อนหนาว อ่อนแข็ง กายเวทนา วิญญาณบางจุด จักษุธาตุ โสตธาตุ นามที่เกิดจากการหายใจเข้าออก การสลัดออกจากความคิด แต่ชิวหา ฆาน และการพูดนั้น ผมยังอ่อนมาก ตามรู้ไม่ค่อยทัน ส่วนมากเวลาปกติกำหนดรู้ จะกลายเป็นคนเงียบ และเดินช้าลงอย่างเห็นได้ชัด อย่างนี้ครับ ผมว่าใครที่จับมีสมาธิที่การท่องได้นั้นเก่งมากครับผม

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ก.พ. 2014, 09:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
การท่องถ้าพิจารณาก็จะได้กำหนดรู้ธรรมต่างกันออกไป ถ้าพิจารณาในแง่ของการรักษาสติแล้ว สำหรับผมนั้นคิดว่ายากกว่าปกติครับ คือปกติที่ผมฝึกตอนนี้ จะกำหนดรู้ทันได้เฉพาะจุดเช่น ร้อนหนาว อ่อนแข็ง กายเวทนา วิญญาณบางจุด จักษุธาตุ โสตธาตุ นามที่เกิดจากการหายใจเข้าออก การสลัดออกจากความคิด แต่ชิวหา ฆาน และการพูดนั้น ผมยังอ่อนมาก ตามรู้ไม่ค่อยทัน ส่วนมากเวลาปกติกำหนดรู้ จะกลายเป็นคนเงียบ และเดินช้าลงอย่างเห็นได้ชัด อย่างนี้ครับ ผมว่าใครที่จับมีสมาธิที่การท่องได้นั้นเก่งมากครับผม


เป็นกำลังให้ ท่องไปครับ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ก.พ. 2014, 20:41 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:


ทำตัวเป็นเด็กอมมือไม่รู้จักโตอีกแล้วกรัชกายนี้่

หลักปฏิบัติใครเขาไม่เอาไปท่องเป็นคาถาหรือคำบริกรรมภาวนาอย่างทีกรัชกายเข้าใจผิดไปหรอก หรือพวกนักวิชาการเขาชอบทำกันอย่างนี้

หลักปฏิบัติเขาให้จำไว้สอนใจเวลาลงมือทำจริงพิสูจน์ความจริง
หลักปฏิบัติที่ดียิ่งทำจริงยิ่งใช่ยิ่งซึ้งเพราะมันเจอของจริงอย่างที่หลักท่านว่าจริงๆ

ลองดูจริงๆซิกรัชกาย รับรองไม่เกิน 5 นาทีจะพบ กู ที่ลุกขึ้นมาสู้ มาสั่งใจกรัชกายเองเลยเชียวนะ

ถ้ามีความสังเกตดีพอกรัชกายจะรู้ได้เดี๋ยวนี้เลยว่า
ทั้งกูพี่ (สักกายทิฏฐิ) และกูน้อง (มานะทิฏฐิ) ที่ครอบครองใจกรัชกายมาหลายกัปป์หลายกัลป์ มันลุกขึ้นมาตอบโต้ ยินดียินร้ายต่อข้อความที่กำลังอ่านอยู่เดี๋ยวนี้เลยทีเดียว แล้วเดี๋ยวมันก็จะสั่งกรัชกายให้ทำกรรมตอบโต้ไปด้วยอำนาจความยินดียินร้ายนั้น




แน่ๆๆ ทีนี้มา ทั้งกูพี่ กูน้อง rolleyes เลย ไปคิดว่ามันมีกู ก็เลยมีกู ทั้งๆที่กู (อัตตา) หามีไม่

คุณอโศกครับ พอรู้ความหมาย วิปัสสนา มั้ยครับ หมายถึงอะไร

wink
อัตตาหรือ กู โดยธรรม นั้นไม่มีอยู่จริง มันเป็นเพียงความผูกปมหรือยึดไว้ในจิตของปุถุชน

หรืออาจกล่าวได้ว่าถึง อัตตาหรือ กู ไม่มีอยูจิรง แต่ในจิตของปุถุชนมีความเห็นผิดว่าเป็นกูเป็นเราอยู่ทุกคน

ไม่เชื่อก็ลองพิสูจน์ดูง่ายๆจากการให้ใครมาด่าเจ็บๆแสบๆหรือสบประมาทแรงๆดู จะเห็นกูทั้งพี่ทั้งน้องโผล่ขึ้นมาตอบโต้ในจิตทันทีแทบทุกคน
:b12:
กรัชกายเอาแต่ถามแต่ไม่ยอมตอบอะไรบ้างถือว่าเอาเปรียบกันไม่ยุติธรรมนะ

วิปัสสนาภาวนา คืออะไร?......กรัชกายไปค้นตำราดูก็น่าจะรู้ได้
แต่ถ้าจะฟังความหมายแบบลูกทุ่งบ้านนอกก็ลองฟังดูก็ได้

วิ=วิเศษ....พิเศษ...สิ่งวิเศษในกายในจิต คือธรรม ...ธรรมรวมลงที่อนัตตา ใตรเห็นธรรมก็เห็นอนัตตา.....ใครเห็นอนัตตา คนนั้นก็เห็นธรรม

ปัสสนา......ทัศนา......ดู..เห็น...รู้(สัมมาทิฏฐิ)

ภาวนา.......เจริญ...?ในที่นี่ท่านให้เจริญความสังเกต พิจารณา(สัมมาสังกัปปะ)ที่ปัจจุบันอารมณ์

ไปรวมคำแปลเอาเองนะกรัชกาย อย่าให้ป้อนเสียทุกคำเป็นเด็กอมมือ ฝึกหัดทำเอาเอง กินด้วยตัวเอง ช่วยตัวเอง เสียบ้างนะ
:b4:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 925 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 20, 21, 22, 23, 24, 25, 26 ... 62  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร