วันเวลาปัจจุบัน 20 ก.ค. 2025, 06:19  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 91 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ก.พ. 2014, 22:43 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


เทศน์สายกลางก่อน.เพื่อให้ปัญจวัคคีปรับสภาพ....เพราะกำลังอยู่ในสภาพสุดโต้ง...คำสอนพระองค์จะไม่มีผล

แต่...เราจำมาใช้พูดกันพร่ำพรื่อ...ไม่เข้ากับสภาพธรรมของตน....สายกลางที่เราท่อง...มันก็ไม่มีผลกับเรานัก...นอกเสียจากว่าได้พูดเท่ๆ...ไป

เราผ่านจุดสุดโต้งรึไปเห็นจุดนี้ของตนเองแล้วรึยัง?

หาไม่แล้ว....สายกลางที่เราเข้าใจและกระทำอยู่...อาจเป็นใจกลางกิเลสก็เป็นได้.


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.พ. 2014, 01:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คุณอโศกมองข้ามที่กรัชกายถามได้ยังไงขอรับ ก็เห็นๆอยู่นั่นน่ะ :b1:

...ลองหลายทีรู้แล้วว่าไม่รู้ นั่นแหละครับ พื้นฐานของชีวิต หรือธรรมะหรือธรรมชาติ (ล้วนๆ) ถ้ายังจำได้ เคยว่าว่าชีวิตอุปมาเหมือนเหรียญมีสองด้าน ด้านหนึ่งสำหรับปฏิบัติต่อกัน อีกด้านหนึ่งสำหรับรู้เท่าทัน นั่นด้านสำหรับรู้เท่าทัน แล้วบอกต่อว่า "พึงรู้เห็นตามที่มันเป็น มิใช่รู้เห็นตามที่ตัวเองอยากให้มันเป็น"



ธรรมชาติของจิต ถ้าปล่อยให้มันคิดๆ มันก็คิดเพ้อๆฝันๆได้ทั้งวันทั้งคืน บางปัญหามันคิดจน (เจ้าของ) ปวดตับ พระพุทธเจ้า จึงแนะนำสาวกของพระองค์ว่า พึงฝึกอบรมจิตให้เชื่องฝึกให้เกิดปัญญา แล้วก็รับรองว่า จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ จิตที่ฝึกดีแล้ว นำสุขมาให้

พูดนะง่ายไม่ยาก นั่นๆนี่ๆโน่นๆฟุ้งไป แต่การลงมือทำเนี่ยะยากไม่ใช่เรื่องง่าย :b1:

:b12:
เพราะกรัชกายมัวฟุ้งอยู่กับความรู้แบบนักวิชาการ ไม่ตั้งใจจะลงมือปฏิบัติอย่างเอาจริงเอาจังอย่างต่อเนื่องกับความรู้ทางธรรมอะไรสักอย่างที่เลือกเฟ้นมาดีแล้วว่าเหมาะสม ตรงกับจริต นิสัย บุญ วาสนาบารมีของตนเองที่สุด

รู้ธรรมมากมายแต่ไม่ยอมลงมือปฏิบัติ พิสูจน์ธรรมอย่างจริงจังสักที จึงมีแต่ปัญหาที่แก้ไขด้วยตนเองไม่ได้ ชอบเอาไปถามคนโน้นคนนี้ไปทั่ว

กรัชกายรู้หรือเปล่าว่าตอนที่อโศกะศึกษาแลปฏิบัติธรรมอย่างเข้มข้นนั้นเป็นอย่างไรจะลองฟังดูไว้เป็นตัวอย่างสักสองสามเรื่องไหม

1.ถูกคุณพ่อพาไปฝึกนั่งพองหนอยุบหนอในสำนักวิปัสสนากรรมฐานตั้งแต่ตอนอายุ 8-9 ขวบ

2.สมัครเข้าปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาสายพองหนอยุบหนอตอนช่วงปิดเทอมปลาย 4-5 ครั้งๆละ 12-18 วัน

3.ตอนทำงาน ลาบวชแต่อยู่ปฏิบัติธรรมต่อเนื่องในห้องกรรมฐานเกือบ 3 เดือน ที่วัดน้ำบ่อหลวง อ.สันป่าตอง ปิดภาคปลายไปเข้าหลักสูตรระยะสั้นกับอาจารย์ทองวัดตะโปธาราม อีก 13 วัน

4.ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับพระอาจารย์รัตน รัตนญาโณ 2 ปี

5.ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับพระอาจารย์อริยวังโส(ไทยใหญ่)
2 ปี

6.ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับหลวงพ่อพุทธวาที พม่า 2 ปี

7.ศึกษา ปฏิบัติข้อวัตร สร้างวัดสาขาที่ 71 ของหลวงปู่ชา หนองป่าพง 8-10ปี

8.ศึกษาและปฏิบัติอย่างต่อเนื่อในสายท่านอาจารย์โกเอ็นก้า 2 ปีจนได้เข้าคอร์ส 20 วัน 1 ครั้ง

9.ศึกษา ปฏิบัติและช่วยงานสอนวิปัสสนาภาวนากับหลวงพ่อธี วิจิตตธัมโม 5 ปี

10.ตอนนี้พอแล้วและสรุปตนเองลงมาศึกษาและปฏิบัติตามคำสอนตรงจากหลวงพ่อพระสมณะโคดมพุทธเจ้า เอาอริยสัจ 4 มรค 8 อนัตตา โพธิปักขิยธรรม 37 ประการเป็นหลัก ที่พึ่งทางใจเจริญมรรค 8 หรือวิปัสสนาภาวนาไปดังที่ได้สรุปไว้เป็นหลักปฏิบัติประจำตัวแสดงไว้หลายกระทู้จะลองจำเอาไปทดลองทำดูก็ได้นะครับ

งานและหน้าที่ของชาวพุทธ

สำรวมกาย ใจ มานิ่งรู้ นิ่งสังเกตปัจจุบันอารมณ์ จนละความเห็นผิดว่ากาย ใจ นี้ เป็นอัตตา ตัวกู ของกู

พอกพูนความเห็นถูกต้องว่า กาย ใจ นี้ เป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวกู ของกู

ทุกว้ัน เวลา นาที วินาที ที่ระลึกได้และมีโอกาส

หัวใจวิปัสสนาภาวนา

ใจปัญญา อย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย
ถ้าสู้ได้ ทนได้ ไม่ตะบอย
กู จะถอย และตายดับ ไปจากใจ
onion

4.
อ่


อนุโมทนาครับ เทียบกันแล้ว ผมไม่เคยเข้าฝึกอบรมที่ไหนเลย มีครั้งเดียวในชีวิตที่บวช 7 วัน

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.พ. 2014, 05:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คุณอโศกมองข้ามที่กรัชกายถามได้ยังไงขอรับ ก็เห็นๆอยู่นั่นน่ะ :b1:

...ลองหลายทีรู้แล้วว่าไม่รู้ นั่นแหละครับ พื้นฐานของชีวิต หรือธรรมะหรือธรรมชาติ (ล้วนๆ) ถ้ายังจำได้ เคยว่าว่าชีวิตอุปมาเหมือนเหรียญมีสองด้าน ด้านหนึ่งสำหรับปฏิบัติต่อกัน อีกด้านหนึ่งสำหรับรู้เท่าทัน นั่นด้านสำหรับรู้เท่าทัน แล้วบอกต่อว่า "พึงรู้เห็นตามที่มันเป็น มิใช่รู้เห็นตามที่ตัวเองอยากให้มันเป็น"



ธรรมชาติของจิต ถ้าปล่อยให้มันคิดๆ มันก็คิดเพ้อๆฝันๆได้ทั้งวันทั้งคืน บางปัญหามันคิดจน (เจ้าของ) ปวดตับ พระพุทธเจ้า จึงแนะนำสาวกของพระองค์ว่า พึงฝึกอบรมจิตให้เชื่องฝึกให้เกิดปัญญา แล้วก็รับรองว่า จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ จิตที่ฝึกดีแล้ว นำสุขมาให้

พูดนะง่ายไม่ยาก นั่นๆนี่ๆโน่นๆฟุ้งไป แต่การลงมือทำเนี่ยะยากไม่ใช่เรื่องง่าย :b1:

:b12:
เพราะกรัชกายมัวฟุ้งอยู่กับความรู้แบบนักวิชาการ ไม่ตั้งใจจะลงมือปฏิบัติอย่างเอาจริงเอาจังอย่างต่อเนื่องกับความรู้ทางธรรมอะไรสักอย่างที่เลือกเฟ้นมาดีแล้วว่าเหมาะสม ตรงกับจริต นิสัย บุญ วาสนาบารมีของตนเองที่สุด

รู้ธรรมมากมายแต่ไม่ยอมลงมือปฏิบัติ พิสูจน์ธรรมอย่างจริงจังสักที จึงมีแต่ปัญหาที่แก้ไขด้วยตนเองไม่ได้ ชอบเอาไปถามคนโน้นคนนี้ไปทั่ว

กรัชกายรู้หรือเปล่าว่าตอนที่อโศกะศึกษาแลปฏิบัติธรรมอย่างเข้มข้นนั้นเป็นอย่างไรจะลองฟังดูไว้เป็นตัวอย่างสักสองสามเรื่องไหม

1.ถูกคุณพ่อพาไปฝึกนั่งพองหนอยุบหนอในสำนักวิปัสสนากรรมฐานตั้งแต่ตอนอายุ 8-9 ขวบ

2.สมัครเข้าปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาสายพองหนอยุบหนอตอนช่วงปิดเทอมปลาย 4-5 ครั้งๆละ 12-18 วัน

3.ตอนทำงาน ลาบวชแต่อยู่ปฏิบัติธรรมต่อเนื่องในห้องกรรมฐานเกือบ 3 เดือน ที่วัดน้ำบ่อหลวง อ.สันป่าตอง ปิดภาคปลายไปเข้าหลักสูตรระยะสั้นกับอาจารย์ทองวัดตะโปธาราม อีก 13 วัน

4.ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับพระอาจารย์รัตน รัตนญาโณ 2 ปี

5.ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับพระอาจารย์อริยวังโส(ไทยใหญ่)
2 ปี

6.ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับหลวงพ่อพุทธวาที พม่า 2 ปี

7.ศึกษา ปฏิบัติข้อวัตร สร้างวัดสาขาที่ 71 ของหลวงปู่ชา หนองป่าพง 8-10ปี

8.ศึกษาและปฏิบัติอย่างต่อเนื่อในสายท่านอาจารย์โกเอ็นก้า 2 ปีจนได้เข้าคอร์ส 20 วัน 1 ครั้ง

9.ศึกษา ปฏิบัติและช่วยงานสอนวิปัสสนาภาวนากับหลวงพ่อธี วิจิตตธัมโม 5 ปี

10.ตอนนี้พอแล้วและสรุปตนเองลงมาศึกษาและปฏิบัติตามคำสอนตรงจากหลวงพ่อพระสมณะโคดมพุทธเจ้า เอาอริยสัจ 4 มรค 8 อนัตตา โพธิปักขิยธรรม 37 ประการเป็นหลัก ที่พึ่งทางใจเจริญมรรค 8 หรือวิปัสสนาภาวนาไปดังที่ได้สรุปไว้เป็นหลักปฏิบัติประจำตัวแสดงไว้หลายกระทู้จะลองจำเอาไปทดลองทำดูก็ได้นะครับ

งานและหน้าที่ของชาวพุทธ

สำรวมกาย ใจ มานิ่งรู้ นิ่งสังเกตปัจจุบันอารมณ์ จนละความเห็นผิดว่ากาย ใจ นี้ เป็นอัตตา ตัวกู ของกู

พอกพูนความเห็นถูกต้องว่า กาย ใจ นี้ เป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวกู ของกู

ทุกว้ัน เวลา นาที วินาที ที่ระลึกได้และมีโอกาส

หัวใจวิปัสสนาภาวนา

ใจปัญญา อย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย
ถ้าสู้ได้ ทนได้ ไม่ตะบอย
กู จะถอย และตายดับ ไปจากใจ
onion

4.
อ่



จำเขามาพูดทั้งนั้นนะน่า เอานะ :b1:

อโศกพูดเองนะ คำพูดเหล่านี้ ถามแล้วยังไม่ตอบ ลองตอบดูนะ ดังๆชัดๆ :b1:

ธรรมะ ได้แก่ อะไร

สภาวะ ได้แก่ อะไร

กายใจ รูปนาม ขันธ์ 5 เหมือนกันหรือต่างกัีน ถ้าต่างกัน ต่างกันตรงไหน อธิบายพอเห็นเค้า ถ้าว่าเหมือนกัน ก็สงเคราะห์ให้ลงกันมาดู

ยังไปต้องไปถึงอนัตตงอนัตตานะ :b13:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.พ. 2014, 15:02 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คุณอโศกมองข้ามที่กรัชกายถามได้ยังไงขอรับ ก็เห็นๆอยู่นั่นน่ะ :b1:

...ลองหลายทีรู้แล้วว่าไม่รู้ นั่นแหละครับ พื้นฐานของชีวิต หรือธรรมะหรือธรรมชาติ (ล้วนๆ) ถ้ายังจำได้ เคยว่าว่าชีวิตอุปมาเหมือนเหรียญมีสองด้าน ด้านหนึ่งสำหรับปฏิบัติต่อกัน อีกด้านหนึ่งสำหรับรู้เท่าทัน นั่นด้านสำหรับรู้เท่าทัน แล้วบอกต่อว่า "พึงรู้เห็นตามที่มันเป็น มิใช่รู้เห็นตามที่ตัวเองอยากให้มันเป็น"



ธรรมชาติของจิต ถ้าปล่อยให้มันคิดๆ มันก็คิดเพ้อๆฝันๆได้ทั้งวันทั้งคืน บางปัญหามันคิดจน (เจ้าของ) ปวดตับ พระพุทธเจ้า จึงแนะนำสาวกของพระองค์ว่า พึงฝึกอบรมจิตให้เชื่องฝึกให้เกิดปัญญา แล้วก็รับรองว่า จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ จิตที่ฝึกดีแล้ว นำสุขมาให้

พูดนะง่ายไม่ยาก นั่นๆนี่ๆโน่นๆฟุ้งไป แต่การลงมือทำเนี่ยะยากไม่ใช่เรื่องง่าย :b1:

:b12:
เพราะกรัชกายมัวฟุ้งอยู่กับความรู้แบบนักวิชาการ ไม่ตั้งใจจะลงมือปฏิบัติอย่างเอาจริงเอาจังอย่างต่อเนื่องกับความรู้ทางธรรมอะไรสักอย่างที่เลือกเฟ้นมาดีแล้วว่าเหมาะสม ตรงกับจริต นิสัย บุญ วาสนาบารมีของตนเองที่สุด

รู้ธรรมมากมายแต่ไม่ยอมลงมือปฏิบัติ พิสูจน์ธรรมอย่างจริงจังสักที จึงมีแต่ปัญหาที่แก้ไขด้วยตนเองไม่ได้ ชอบเอาไปถามคนโน้นคนนี้ไปทั่ว

กรัชกายรู้หรือเปล่าว่าตอนที่อโศกะศึกษาแลปฏิบัติธรรมอย่างเข้มข้นนั้นเป็นอย่างไรจะลองฟังดูไว้เป็นตัวอย่างสักสองสามเรื่องไหม

1.ถูกคุณพ่อพาไปฝึกนั่งพองหนอยุบหนอในสำนักวิปัสสนากรรมฐานตั้งแต่ตอนอายุ 8-9 ขวบ

2.สมัครเข้าปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาสายพองหนอยุบหนอตอนช่วงปิดเทอมปลาย 4-5 ครั้งๆละ 12-18 วัน

3.ตอนทำงาน ลาบวชแต่อยู่ปฏิบัติธรรมต่อเนื่องในห้องกรรมฐานเกือบ 3 เดือน ที่วัดน้ำบ่อหลวง อ.สันป่าตอง ปิดภาคปลายไปเข้าหลักสูตรระยะสั้นกับอาจารย์ทองวัดตะโปธาราม อีก 13 วัน

4.ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับพระอาจารย์รัตน รัตนญาโณ 2 ปี

5.ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับพระอาจารย์อริยวังโส(ไทยใหญ่)
2 ปี

6.ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับหลวงพ่อพุทธวาที พม่า 2 ปี

7.ศึกษา ปฏิบัติข้อวัตร สร้างวัดสาขาที่ 71 ของหลวงปู่ชา หนองป่าพง 8-10ปี

8.ศึกษาและปฏิบัติอย่างต่อเนื่อในสายท่านอาจารย์โกเอ็นก้า 2 ปีจนได้เข้าคอร์ส 20 วัน 1 ครั้ง

9.ศึกษา ปฏิบัติและช่วยงานสอนวิปัสสนาภาวนากับหลวงพ่อธี วิจิตตธัมโม 5 ปี

10.ตอนนี้พอแล้วและสรุปตนเองลงมาศึกษาและปฏิบัติตามคำสอนตรงจากหลวงพ่อพระสมณะโคดมพุทธเจ้า เอาอริยสัจ 4 มรค 8 อนัตตา โพธิปักขิยธรรม 37 ประการเป็นหลัก ที่พึ่งทางใจเจริญมรรค 8 หรือวิปัสสนาภาวนาไปดังที่ได้สรุปไว้เป็นหลักปฏิบัติประจำตัวแสดงไว้หลายกระทู้จะลองจำเอาไปทดลองทำดูก็ได้นะครับ

งานและหน้าที่ของชาวพุทธ

สำรวมกาย ใจ มานิ่งรู้ นิ่งสังเกตปัจจุบันอารมณ์ จนละความเห็นผิดว่ากาย ใจ นี้ เป็นอัตตา ตัวกู ของกู

พอกพูนความเห็นถูกต้องว่า กาย ใจ นี้ เป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวกู ของกู

ทุกว้ัน เวลา นาที วินาที ที่ระลึกได้และมีโอกาส

หัวใจวิปัสสนาภาวนา

ใจปัญญา อย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย
ถ้าสู้ได้ ทนได้ ไม่ตะบอย
กู จะถอย และตายดับ ไปจากใจ
onion

4.
อ่



จำเขามาพูดทั้งนั้นนะน่า เอานะ :b1:

Asoka...ใครเป็นผู้จำเขามาพูด......asoka หรือกรัชกาย

อโศกพูดเองนะ คำพูดเหล่านี้ ถามแล้วยังไม่ตอบ ลองตอบดูนะ ดังๆชัดๆ :b1:

ธรรมะ ได้แก่ อะไร

Asoka......ธรรมะ....คือสิ่งที่ผู้มีความเห็นถูกต้อง จะเห็นและรู้ได้ด้วยตัวเอง

เห็นถูกต้องคือเห็นว่าทุกสิ่งทุกอย่างเป็นอนัตตา

สภาวะ ได้แก่ อะไร

Asoka....สภาวะ...คือสิ่งที่เกิดขึ้นและเป็นไปด้วยอำนาจของเหตุและปัจจัย

กายใจ รูปนาม ขันธ์ 5 เหมือนกันหรือต่างกัีน ถ้าต่างกัน ต่างกันตรงไหน อธิบายพอเห็นเค้า ถ้าว่าเหมือนกัน ก็สงเคราะห์ให้ลงกันมาดู

Asoka. ...กาย ใจ..เป็นชื่อรวมของขันธ์ 5

ขันธ์ 5 แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ รูป กับ นาม เป็นรูป 1 นาม 4ส่วนที่เป็นนามได้แก่ วิญญาณ....เวทนา.....สัญญา ......สังขาร

ยังไปต้องไปถึงอนัตตงอนัตตานะ

Asoka....ไม่มีใครสามารถห้ามการถึงอนัตตาของใครได้ ถ้าเหตุ ปัจจัยของคนๆนั้นครบ ถูกต้อง สมบูรณ์แล้ว
onion

:b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.พ. 2014, 15:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คุณอโศกมองข้ามที่กรัชกายถามได้ยังไงขอรับ ก็เห็นๆอยู่นั่นน่ะ :b1:

...ลองหลายทีรู้แล้วว่าไม่รู้ นั่นแหละครับ พื้นฐานของชีวิต หรือธรรมะหรือธรรมชาติ (ล้วนๆ) ถ้ายังจำได้ เคยว่าว่าชีวิตอุปมาเหมือนเหรียญมีสองด้าน ด้านหนึ่งสำหรับปฏิบัติต่อกัน อีกด้านหนึ่งสำหรับรู้เท่าทัน นั่นด้านสำหรับรู้เท่าทัน แล้วบอกต่อว่า "พึงรู้เห็นตามที่มันเป็น มิใช่รู้เห็นตามที่ตัวเองอยากให้มันเป็น"



ธรรมชาติของจิต ถ้าปล่อยให้มันคิดๆ มันก็คิดเพ้อๆฝันๆได้ทั้งวันทั้งคืน บางปัญหามันคิดจน (เจ้าของ) ปวดตับ พระพุทธเจ้า จึงแนะนำสาวกของพระองค์ว่า พึงฝึกอบรมจิตให้เชื่องฝึกให้เกิดปัญญา แล้วก็รับรองว่า จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ จิตที่ฝึกดีแล้ว นำสุขมาให้

พูดนะง่ายไม่ยาก นั่นๆนี่ๆโน่นๆฟุ้งไป แต่การลงมือทำเนี่ยะยากไม่ใช่เรื่องง่าย :b1:

:b12:
เพราะกรัชกายมัวฟุ้งอยู่กับความรู้แบบนักวิชาการ ไม่ตั้งใจจะลงมือปฏิบัติอย่างเอาจริงเอาจังอย่างต่อเนื่องกับความรู้ทางธรรมอะไรสักอย่างที่เลือกเฟ้นมาดีแล้วว่าเหมาะสม ตรงกับจริต นิสัย บุญ วาสนาบารมีของตนเองที่สุด

รู้ธรรมมากมายแต่ไม่ยอมลงมือปฏิบัติ พิสูจน์ธรรมอย่างจริงจังสักที จึงมีแต่ปัญหาที่แก้ไขด้วยตนเองไม่ได้ ชอบเอาไปถามคนโน้นคนนี้ไปทั่ว

กรัชกายรู้หรือเปล่าว่าตอนที่อโศกะศึกษาแลปฏิบัติธรรมอย่างเข้มข้นนั้นเป็นอย่างไรจะลองฟังดูไว้เป็นตัวอย่างสักสองสามเรื่องไหม

1.ถูกคุณพ่อพาไปฝึกนั่งพองหนอยุบหนอในสำนักวิปัสสนากรรมฐานตั้งแต่ตอนอายุ 8-9 ขวบ

2.สมัครเข้าปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาสายพองหนอยุบหนอตอนช่วงปิดเทอมปลาย 4-5 ครั้งๆละ 12-18 วัน

3.ตอนทำงาน ลาบวชแต่อยู่ปฏิบัติธรรมต่อเนื่องในห้องกรรมฐานเกือบ 3 เดือน ที่วัดน้ำบ่อหลวง อ.สันป่าตอง ปิดภาคปลายไปเข้าหลักสูตรระยะสั้นกับอาจารย์ทองวัดตะโปธาราม อีก 13 วัน

4.ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับพระอาจารย์รัตน รัตนญาโณ 2 ปี

5.ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับพระอาจารย์อริยวังโส(ไทยใหญ่)
2 ปี

6.ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับหลวงพ่อพุทธวาที พม่า 2 ปี

7.ศึกษา ปฏิบัติข้อวัตร สร้างวัดสาขาที่ 71 ของหลวงปู่ชา หนองป่าพง 8-10ปี

8.ศึกษาและปฏิบัติอย่างต่อเนื่อในสายท่านอาจารย์โกเอ็นก้า 2 ปีจนได้เข้าคอร์ส 20 วัน 1 ครั้ง

9.ศึกษา ปฏิบัติและช่วยงานสอนวิปัสสนาภาวนากับหลวงพ่อธี วิจิตตธัมโม 5 ปี

10.ตอนนี้พอแล้วและสรุปตนเองลงมาศึกษาและปฏิบัติตามคำสอนตรงจากหลวงพ่อพระสมณะโคดมพุทธเจ้า เอาอริยสัจ 4 มรค 8 อนัตตา โพธิปักขิยธรรม 37 ประการเป็นหลัก ที่พึ่งทางใจเจริญมรรค 8 หรือวิปัสสนาภาวนาไปดังที่ได้สรุปไว้เป็นหลักปฏิบัติประจำตัวแสดงไว้หลายกระทู้จะลองจำเอาไปทดลองทำดูก็ได้นะครับ

งานและหน้าที่ของชาวพุทธ

สำรวมกาย ใจ มานิ่งรู้ นิ่งสังเกตปัจจุบันอารมณ์ จนละความเห็นผิดว่ากาย ใจ นี้ เป็นอัตตา ตัวกู ของกู

พอกพูนความเห็นถูกต้องว่า กาย ใจ นี้ เป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวกู ของกู

ทุกว้ัน เวลา นาที วินาที ที่ระลึกได้และมีโอกาส

หัวใจวิปัสสนาภาวนา

ใจปัญญา อย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย
ถ้าสู้ได้ ทนได้ ไม่ตะบอย
กู จะถอย และตายดับ ไปจากใจ
onion

4.
อ่



จำเขามาพูดทั้งนั้นนะน่า เอานะ :b1:

Asoka...ใครเป็นผู้จำเขามาพูด......asoka หรือกรัชกาย

อโศกพูดเองนะ คำพูดเหล่านี้ ถามแล้วยังไม่ตอบ ลองตอบดูนะ ดังๆชัดๆ :b1:

ธรรมะ ได้แก่ อะไร

Asoka......ธรรมะ....คือสิ่งที่ผู้มีความเห็นถูกต้อง จะเห็นและรู้ได้ด้วยตัวเอง

เห็นถูกต้องคือเห็นว่าทุกสิ่งทุกอย่างเป็นอนัตตา

สภาวะ ได้แก่ อะไร

Asoka....สภาวะ...คือสิ่งที่เกิดขึ้นและเป็นไปด้วยอำนาจของเหตุและปัจจัย

กายใจ รูปนาม ขันธ์ 5 เหมือนกันหรือต่างกัีน ถ้าต่างกัน ต่างกันตรงไหน อธิบายพอเห็นเค้า ถ้าว่าเหมือนกัน ก็สงเคราะห์ให้ลงกันมาดู

Asoka. ...กาย ใจ..เป็นชื่อรวมของขันธ์ 5

ขันธ์ 5 แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ รูป กับ นาม เป็นรูป 1 นาม 4ส่วนที่เป็นนามได้แก่ วิญญาณ....เวทนา.....สัญญา ......สังขาร

ยังไปต้องไปถึงอนัตตงอนัตตานะ

Asoka....ไม่มีใครสามารถห้ามการถึงอนัตตาของใครได้ ถ้าเหตุ ปัจจัยของคนๆนั้นครบ ถูกต้อง สมบูรณ์แล้ว
onion

:b13:



แน่ะๆ จะไปให้ถึงอนัตตาให้ได้ งั้นถามหน่อย อนัตตาที่ว่า อยู่ที่ไหน จะไปหาที่ไหน ถึงว่าจะไปให้ถึงอนัตตา


ถามอีกหน่อย กาย หรือร่างกาย กับ รูป ที่..เหมือนกันหรือต่างกัน

-กายที่ กายานุปัสสนา (กาย+อนุปัสสนา)

-กายที จักขุ โสต ฆาน ชิวหา กาย มโน

-กายที่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ

-กายที่ กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม

และ

-รูปที่ รูปนาม กับ รูปที่ รูปารมณ์ เหมือนกันหรือต่างกัน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.พ. 2014, 23:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คุณอโศกมองข้ามที่กรัชกายถามได้ยังไงขอรับ ก็เห็นๆอยู่นั่นน่ะ :b1:

...ลองหลายทีรู้แล้วว่าไม่รู้ นั่นแหละครับ พื้นฐานของชีวิต หรือธรรมะหรือธรรมชาติ (ล้วนๆ) ถ้ายังจำได้ เคยว่าว่าชีวิตอุปมาเหมือนเหรียญมีสองด้าน ด้านหนึ่งสำหรับปฏิบัติต่อกัน อีกด้านหนึ่งสำหรับรู้เท่าทัน นั่นด้านสำหรับรู้เท่าทัน แล้วบอกต่อว่า "พึงรู้เห็นตามที่มันเป็น มิใช่รู้เห็นตามที่ตัวเองอยากให้มันเป็น"



ธรรมชาติของจิต ถ้าปล่อยให้มันคิดๆ มันก็คิดเพ้อๆฝันๆได้ทั้งวันทั้งคืน บางปัญหามันคิดจน (เจ้าของ) ปวดตับ พระพุทธเจ้า จึงแนะนำสาวกของพระองค์ว่า พึงฝึกอบรมจิตให้เชื่องฝึกให้เกิดปัญญา แล้วก็รับรองว่า จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ จิตที่ฝึกดีแล้ว นำสุขมาให้

พูดนะง่ายไม่ยาก นั่นๆนี่ๆโน่นๆฟุ้งไป แต่การลงมือทำเนี่ยะยากไม่ใช่เรื่องง่าย :b1:

:b12:
เพราะกรัชกายมัวฟุ้งอยู่กับความรู้แบบนักวิชาการ ไม่ตั้งใจจะลงมือปฏิบัติอย่างเอาจริงเอาจังอย่างต่อเนื่องกับความรู้ทางธรรมอะไรสักอย่างที่เลือกเฟ้นมาดีแล้วว่าเหมาะสม ตรงกับจริต นิสัย บุญ วาสนาบารมีของตนเองที่สุด

รู้ธรรมมากมายแต่ไม่ยอมลงมือปฏิบัติ พิสูจน์ธรรมอย่างจริงจังสักที จึงมีแต่ปัญหาที่แก้ไขด้วยตนเองไม่ได้ ชอบเอาไปถามคนโน้นคนนี้ไปทั่ว

กรัชกายรู้หรือเปล่าว่าตอนที่อโศกะศึกษาแลปฏิบัติธรรมอย่างเข้มข้นนั้นเป็นอย่างไรจะลองฟังดูไว้เป็นตัวอย่างสักสองสามเรื่องไหม

1.ถูกคุณพ่อพาไปฝึกนั่งพองหนอยุบหนอในสำนักวิปัสสนากรรมฐานตั้งแต่ตอนอายุ 8-9 ขวบ

2.สมัครเข้าปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาสายพองหนอยุบหนอตอนช่วงปิดเทอมปลาย 4-5 ครั้งๆละ 12-18 วัน

3.ตอนทำงาน ลาบวชแต่อยู่ปฏิบัติธรรมต่อเนื่องในห้องกรรมฐานเกือบ 3 เดือน ที่วัดน้ำบ่อหลวง อ.สันป่าตอง ปิดภาคปลายไปเข้าหลักสูตรระยะสั้นกับอาจารย์ทองวัดตะโปธาราม อีก 13 วัน

4.ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับพระอาจารย์รัตน รัตนญาโณ 2 ปี

5.ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับพระอาจารย์อริยวังโส(ไทยใหญ่)
2 ปี

6.ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับหลวงพ่อพุทธวาที พม่า 2 ปี

7.ศึกษา ปฏิบัติข้อวัตร สร้างวัดสาขาที่ 71 ของหลวงปู่ชา หนองป่าพง 8-10ปี

8.ศึกษาและปฏิบัติอย่างต่อเนื่อในสายท่านอาจารย์โกเอ็นก้า 2 ปีจนได้เข้าคอร์ส 20 วัน 1 ครั้ง

9.ศึกษา ปฏิบัติและช่วยงานสอนวิปัสสนาภาวนากับหลวงพ่อธี วิจิตตธัมโม 5 ปี

10.ตอนนี้พอแล้วและสรุปตนเองลงมาศึกษาและปฏิบัติตามคำสอนตรงจากหลวงพ่อพระสมณะโคดมพุทธเจ้า เอาอริยสัจ 4 มรค 8 อนัตตา โพธิปักขิยธรรม 37 ประการเป็นหลัก ที่พึ่งทางใจเจริญมรรค 8 หรือวิปัสสนาภาวนาไปดังที่ได้สรุปไว้เป็นหลักปฏิบัติประจำตัวแสดงไว้หลายกระทู้จะลองจำเอาไปทดลองทำดูก็ได้นะครับ

งานและหน้าที่ของชาวพุทธ

สำรวมกาย ใจ มานิ่งรู้ นิ่งสังเกตปัจจุบันอารมณ์ จนละความเห็นผิดว่ากาย ใจ นี้ เป็นอัตตา ตัวกู ของกู

พอกพูนความเห็นถูกต้องว่า กาย ใจ นี้ เป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวกู ของกู

ทุกว้ัน เวลา นาที วินาที ที่ระลึกได้และมีโอกาส

หัวใจวิปัสสนาภาวนา

ใจปัญญา อย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย
ถ้าสู้ได้ ทนได้ ไม่ตะบอย
กู จะถอย และตายดับ ไปจากใจ
onion

4.
อ่



จำเขามาพูดทั้งนั้นนะน่า เอานะ :b1:

Asoka...ใครเป็นผู้จำเขามาพูด......asoka หรือกรัชกาย

อโศกพูดเองนะ คำพูดเหล่านี้ ถามแล้วยังไม่ตอบ ลองตอบดูนะ ดังๆชัดๆ :b1:

ธรรมะ ได้แก่ อะไร

Asoka......ธรรมะ....คือสิ่งที่ผู้มีความเห็นถูกต้อง จะเห็นและรู้ได้ด้วยตัวเอง

เห็นถูกต้องคือเห็นว่าทุกสิ่งทุกอย่างเป็นอนัตตา

สภาวะ ได้แก่ อะไร

Asoka....สภาวะ...คือสิ่งที่เกิดขึ้นและเป็นไปด้วยอำนาจของเหตุและปัจจัย

กายใจ รูปนาม ขันธ์ 5 เหมือนกันหรือต่างกัีน ถ้าต่างกัน ต่างกันตรงไหน อธิบายพอเห็นเค้า ถ้าว่าเหมือนกัน ก็สงเคราะห์ให้ลงกันมาดู

Asoka. ...กาย ใจ..เป็นชื่อรวมของขันธ์ 5

ขันธ์ 5 แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ รูป กับ นาม เป็นรูป 1 นาม 4ส่วนที่เป็นนามได้แก่ วิญญาณ....เวทนา.....สัญญา ......สังขาร

ยังไปต้องไปถึงอนัตตงอนัตตานะ

Asoka....ไม่มีใครสามารถห้ามการถึงอนัตตาของใครได้ ถ้าเหตุ ปัจจัยของคนๆนั้นครบ ถูกต้อง สมบูรณ์แล้ว
onion

:b13:



แน่ะๆ จะไปให้ถึงอนัตตาให้ได้ งั้นถามหน่อย อนัตตาที่ว่า อยู่ที่ไหน จะไปหาที่ไหน ถึงว่าจะไปให้ถึงอนัตตา


ถามอีกหน่อย กาย หรือร่างกาย กับ รูป ที่..เหมือนกันหรือต่างกัน

-กายที่ กายานุปัสสนา (กาย+อนุปัสสนา)

-กายที จักขุ โสต ฆาน ชิวหา กาย มโน

-กายที่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ

-กายที่ กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม

และ

-รูปที่ รูปนาม กับ รูปที่ รูปารมณ์ เหมือนกันหรือต่างกัน


จริงๆ คุณกรัชกายถามคุณ asoka

คือเห็นเคยถามผมก็คิดว่า อยากตอบคำถามนี้

กายกับรูป เหมือนกันครับ แต่ต่างกันที่การปรากฎขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

กายที่ กายานุปัสสนาคือ ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา

กายที่ จักขุ โสต ฆาน ชิวหา มโน คือผัสสะที่เกิดจาก ปสาทรูป5 แต่มโนไม่ใช่กาย แต่อาศัยเพราะความตั้งอยู่ของขันธ์5

กายที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ คือรูป จากรูป 28 จาก มหาภูติรูป4 ดิน น้ำ ลม ไฟ ใจคือนามจากขันธ์5

กายที่ กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม คือ ปฎิจจสมุปบาทสายเกิด

แต่ก็เหมือนกันคือขันธ์5ครับ

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.พ. 2014, 23:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


หากตอบผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมาณ ที่แห่งนี้ครับผม

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ก.พ. 2014, 08:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
คุณอโศกมองข้ามที่กรัชกายถามได้ยังไงขอรับ ก็เห็นๆอยู่นั่นน่ะ :b1:

...ลองหลายทีรู้แล้วว่าไม่รู้ นั่นแหละครับ พื้นฐานของชีวิต หรือธรรมะหรือธรรมชาติ (ล้วนๆ) ถ้ายังจำได้ เคยว่าว่าชีวิตอุปมาเหมือนเหรียญมีสองด้าน ด้านหนึ่งสำหรับปฏิบัติต่อกัน อีกด้านหนึ่งสำหรับรู้เท่าทัน นั่นด้านสำหรับรู้เท่าทัน แล้วบอกต่อว่า "พึงรู้เห็นตามที่มันเป็น มิใช่รู้เห็นตามที่ตัวเองอยากให้มันเป็น"



ธรรมชาติของจิต ถ้าปล่อยให้มันคิดๆ มันก็คิดเพ้อๆฝันๆได้ทั้งวันทั้งคืน บางปัญหามันคิดจน (เจ้าของ) ปวดตับ พระพุทธเจ้า จึงแนะนำสาวกของพระองค์ว่า พึงฝึกอบรมจิตให้เชื่องฝึกให้เกิดปัญญา แล้วก็รับรองว่า จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ จิตที่ฝึกดีแล้ว นำสุขมาให้

พูดนะง่ายไม่ยาก นั่นๆนี่ๆโน่นๆฟุ้งไป แต่การลงมือทำเนี่ยะยากไม่ใช่เรื่องง่าย :b1:

:b12:
เพราะกรัชกายมัวฟุ้งอยู่กับความรู้แบบนักวิชาการ ไม่ตั้งใจจะลงมือปฏิบัติอย่างเอาจริงเอาจังอย่างต่อเนื่องกับความรู้ทางธรรมอะไรสักอย่างที่เลือกเฟ้นมาดีแล้วว่าเหมาะสม ตรงกับจริต นิสัย บุญ วาสนาบารมีของตนเองที่สุด

รู้ธรรมมากมายแต่ไม่ยอมลงมือปฏิบัติ พิสูจน์ธรรมอย่างจริงจังสักที จึงมีแต่ปัญหาที่แก้ไขด้วยตนเองไม่ได้ ชอบเอาไปถามคนโน้นคนนี้ไปทั่ว

กรัชกายรู้หรือเปล่าว่าตอนที่อโศกะศึกษาแลปฏิบัติธรรมอย่างเข้มข้นนั้นเป็นอย่างไรจะลองฟังดูไว้เป็นตัวอย่างสักสองสามเรื่องไหม

1.ถูกคุณพ่อพาไปฝึกนั่งพองหนอยุบหนอในสำนักวิปัสสนากรรมฐานตั้งแต่ตอนอายุ 8-9 ขวบ

2.สมัครเข้าปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาสายพองหนอยุบหนอตอนช่วงปิดเทอมปลาย 4-5 ครั้งๆละ 12-18 วัน

3.ตอนทำงาน ลาบวชแต่อยู่ปฏิบัติธรรมต่อเนื่องในห้องกรรมฐานเกือบ 3 เดือน ที่วัดน้ำบ่อหลวง อ.สันป่าตอง ปิดภาคปลายไปเข้าหลักสูตรระยะสั้นกับอาจารย์ทองวัดตะโปธาราม อีก 13 วัน

4.ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับพระอาจารย์รัตน รัตนญาโณ 2 ปี

5.ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับพระอาจารย์อริยวังโส(ไทยใหญ่)
2 ปี

6.ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับหลวงพ่อพุทธวาที พม่า 2 ปี

7.ศึกษา ปฏิบัติข้อวัตร สร้างวัดสาขาที่ 71 ของหลวงปู่ชา หนองป่าพง 8-10ปี

8.ศึกษาและปฏิบัติอย่างต่อเนื่อในสายท่านอาจารย์โกเอ็นก้า 2 ปีจนได้เข้าคอร์ส 20 วัน 1 ครั้ง

9.ศึกษา ปฏิบัติและช่วยงานสอนวิปัสสนาภาวนากับหลวงพ่อธี วิจิตตธัมโม 5 ปี

10.ตอนนี้พอแล้วและสรุปตนเองลงมาศึกษาและปฏิบัติตามคำสอนตรงจากหลวงพ่อพระสมณะโคดมพุทธเจ้า เอาอริยสัจ 4 มรค 8 อนัตตา โพธิปักขิยธรรม 37 ประการเป็นหลัก ที่พึ่งทางใจเจริญมรรค 8 หรือวิปัสสนาภาวนาไปดังที่ได้สรุปไว้เป็นหลักปฏิบัติประจำตัวแสดงไว้หลายกระทู้จะลองจำเอาไปทดลองทำดูก็ได้นะครับ

งานและหน้าที่ของชาวพุทธ

สำรวมกาย ใจ มานิ่งรู้ นิ่งสังเกตปัจจุบันอารมณ์ จนละความเห็นผิดว่ากาย ใจ นี้ เป็นอัตตา ตัวกู ของกู

พอกพูนความเห็นถูกต้องว่า กาย ใจ นี้ เป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวกู ของกู

ทุกว้ัน เวลา นาที วินาที ที่ระลึกได้และมีโอกาส

หัวใจวิปัสสนาภาวนา

ใจปัญญา อย่ายอมใจเป็นกู นิ่งดู นิ่งสังเกต พิจารณา
ด้วยวิริยะ อุตสาหะ ตบะ ขันติ มิยอมถอย
ถ้าสู้ได้ ทนได้ ไม่ตะบอย
กู จะถอย และตายดับ ไปจากใจ
onion

4.
อ่



จำเขามาพูดทั้งนั้นนะน่า เอานะ :b1:

Asoka...ใครเป็นผู้จำเขามาพูด......asoka หรือกรัชกาย

อโศกพูดเองนะ คำพูดเหล่านี้ ถามแล้วยังไม่ตอบ ลองตอบดูนะ ดังๆชัดๆ :b1:

ธรรมะ ได้แก่ อะไร

Asoka......ธรรมะ....คือสิ่งที่ผู้มีความเห็นถูกต้อง จะเห็นและรู้ได้ด้วยตัวเอง

เห็นถูกต้องคือเห็นว่าทุกสิ่งทุกอย่างเป็นอนัตตา

สภาวะ ได้แก่ อะไร

Asoka....สภาวะ...คือสิ่งที่เกิดขึ้นและเป็นไปด้วยอำนาจของเหตุและปัจจัย

กายใจ รูปนาม ขันธ์ 5 เหมือนกันหรือต่างกัีน ถ้าต่างกัน ต่างกันตรงไหน อธิบายพอเห็นเค้า ถ้าว่าเหมือนกัน ก็สงเคราะห์ให้ลงกันมาดู

Asoka. ...กาย ใจ..เป็นชื่อรวมของขันธ์ 5

ขันธ์ 5 แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ รูป กับ นาม เป็นรูป 1 นาม 4ส่วนที่เป็นนามได้แก่ วิญญาณ....เวทนา.....สัญญา ......สังขาร

ยังไปต้องไปถึงอนัตตงอนัตตานะ

Asoka....ไม่มีใครสามารถห้ามการถึงอนัตตาของใครได้ ถ้าเหตุ ปัจจัยของคนๆนั้นครบ ถูกต้อง สมบูรณ์แล้ว
onion

:b13:



แน่ะๆ จะไปให้ถึงอนัตตาให้ได้ งั้นถามหน่อย อนัตตาที่ว่า อยู่ที่ไหน จะไปหาที่ไหน ถึงว่าจะไปให้ถึงอนัตตา


ถามอีกหน่อย กาย หรือร่างกาย กับ รูป ที่..เหมือนกันหรือต่างกัน

-กายที่ กายานุปัสสนา (กาย+อนุปัสสนา)

-กายที จักขุ โสต ฆาน ชิวหา กาย มโน

-กายที่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ

-กายที่ กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม

และ

-รูปที่ รูปนาม กับ รูปที่ รูปารมณ์ เหมือนกันหรือต่างกัน



อโศกหายไปไหนอีกแล้ว ถามเป็นงานเป็นการทีไรหายทุกที คิกๆๆ

เสริมจากคำถามเดิมอีก เพิ่งนึกได้ กายที่ กายคตาสติ

กายที่เรียกกันว่า กาย ที่เห็นโด่ๆ อยู่นี่อยู่นั้น อยู่ในโลกนี้ เหมือนกับกายที่กล่าวมาทั้งหมดนั่นไหม

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ก.พ. 2014, 08:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
หากตอบผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่แห่งนี้ครับผม



เข้าใจถูกก็เป็นผลดี (สัมมาทิฏฐิ) ต่อชีวิตจิตใจผู้ตอบเอง ตอบผิดก็เป็นผลเสีย (มิจฉาทิฏฐิ) ต่อผู้ตอบเอง เหตุกับผลตรงไปตรงมา ไม่มีผู้ดลบันดาล

ถ้าตอบผิดเข้าใจ ก็แก้กรรมด้วยการไปศึกษา (ปริยัติ) เสียให้ถูก เมื่อเข้าใจถูกแล้ว แล้วนำความรู้ที่เป็นสัมมาทิฏฐินั้นไปปฏิบัติ การปฏิบัตินั้นๆก็เป็นสัมมาปฏิบัติ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ก.พ. 2014, 09:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
หากตอบผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่แห่งนี้ครับผม



เข้าใจถูกก็เป็นผลดี (สัมมาทิฏฐิ) ต่อชีวิตจิตใจผู้ตอบเอง ตอบผิดก็เป็นผลเสีย (มิจฉาทิฏฐิ) ต่อผู้ตอบเอง เหตุกับผลตรงไปตรงมา ไม่มีผู้ดลบันดาล

ถ้าตอบผิดเข้าใจ ก็แก้กรรมด้วยการไปศึกษา (ปริยัติ) เสียให้ถูก เมื่อเข้าใจถูกแล้ว แล้วนำความรู้ที่เป็นสัมมาทิฏฐินั้นไปปฏิบัติ การปฏิบัตินั้นๆก็เป็นสัมมาปฏิบัติ


ถ้าเป็นแนวทางปฏิปทาคุณคุณstudent แกก็มาถูกทางแล้ว เพียงมันค่อยเป็นค่อยไป
บางครั้งที่แกสับสน ไม่ใช่หมายความว่าแกไม่รู้
แต่เป็นเพราะคนถาม ถามด้วยความไม่รู้ ไปเอาสิ่งที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติมาถาม
พูดง่ายๆก็คือ กรัชกายไปเอาภาษาที่แต่งขึ้น ด้วยทิฐิของความเป็นโลกียะมาถาม

คุณstudent แกเอาบัญญัติที่ยังเป็นโลกียะ เพื่อไปสู่ความเป็นโลกุตตระ
แต่กรัชกาย ดันไปเอาบัญญัติที่กลางๆระหว่างโลกียะและโลกุตตระ พยายามดึงให้ต่ำ
จนเป็นโลกียะล้วนๆ บัญญัติของกรัชกายมันจึงมีหลายความหมาย ตามทิฐิของปุถุชน :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ก.พ. 2014, 09:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อโศกหายไปไหนอีกแล้ว ถามเป็นงานเป็นการทีไรหายทุกที คิกๆๆ

เสริมจากคำถามเดิมอีก เพิ่งนึกได้ กายที่ กายคตาสติ

กายที่เรียกกันว่า กาย ที่เห็นโด่ๆ อยู่นี่อยู่นั้น อยู่ในโลกนี้ เหมือนกับกายที่กล่าวมาทั้งหมดนั่นไหม


เอาตัวอย่างมาให้ดูว่า กรัชกายถามด้วยความไม่รู้ ด้วยความเข้าใจผิดในหลักของ...
ภาษาที่ใช้กันในสังคมปัจจุบันกับความหมายที่เป็นพุทธพจน์แท้ๆ

อย่างแรกที่จะบอกให้กรัชกายได้สำเหนียกก็คือ ......
การเอาพุทธพจน์มาผสมปนเปกับภาษาที่ใช้กันตามปกติ แล้วพยายามจะให้ความหมายใหม่

"กาย"เป็นพุทธพจน์ ดังนั้นจะต้องให้ความหมายตามพุทธพจน์
และความหมายตามพุทธพจน์ก็ไม่ใช่คำแปลภาษา


จากคำพูดที่บอกว่า...."กายที่เห็นโด่ๆ" มันเป็นความเข้าใจผิด นั้นก็คือการเอาพุทธพจน์
มาใช้ในลักษณะของภาษาที่ใช้ในสังคม

ซึ่งภาษาที่ใช้ในสังคมจะต้องใช้ว่า......ร่างกาย ไม่ใช่กาย
คำว่ากายในความเป็นพุทธพจน์ จะต้องกล่าวโดยลักษณะของความเป็นกรรมฐาน
นั้นก็คือ กายนั้นจะต้องประกอบด้วยอินทรีย์ห้าเป็นหลัก :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ก.พ. 2014, 12:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อโศกหายไปไหนอีกแล้ว ถามเป็นงานเป็นการทีไรหายทุกที คิกๆๆ

เสริมจากคำถามเดิมอีก เพิ่งนึกได้ กายที่ กายคตาสติ

กายที่เรียกกันว่า กาย ที่เห็นโด่ๆ อยู่นี่อยู่นั้น อยู่ในโลกนี้ เหมือนกับกายที่กล่าวมาทั้งหมดนั่นไหม


เอาตัวอย่างมาให้ดูว่า กรัชกายถามด้วยความไม่รู้ ด้วยความเข้าใจผิดในหลักของ...
ภาษาที่ใช้กันในสังคมปัจจุบันกับความหมายที่เป็นพุทธพจน์แท้ๆ

อย่างแรกที่จะบอกให้กรัชกายได้สำเหนียกก็คือ ......
การเอาพุทธพจน์มาผสมปนเปกับภาษาที่ใช้กันตามปกติ แล้วพยายามจะให้ความหมายใหม่

"กาย"เป็นพุทธพจน์ ดังนั้นจะต้องให้ความหมายตามพุทธพจน์
และความหมายตามพุทธพจน์ก็ไม่ใช่คำแปลภาษา


จากคำพูดที่บอกว่า...."กายที่เห็นโด่ๆ" มันเป็นความเข้าใจผิด นั้นก็คือการเอาพุทธพจน์
มาใช้ในลักษณะของภาษาที่ใช้ในสังคม

ซึ่งภาษาที่ใช้ในสังคมจะต้องใช้ว่า......ร่างกาย ไม่ใช่กาย
คำว่ากายในความเป็นพุทธพจน์ จะต้องกล่าวโดยลักษณะของความเป็นกรรมฐาน
นั้นก็คือ กายนั้นจะต้องประกอบด้วยอินทรีย์ห้าเป็นหลัก :b32:



อ้างคำพูด:
ซึ่งภาษาที่ใช้ในสังคมจะต้องใช้ว่า......ร่างกาย ไม่ใช่กาย


จะเรียกร่างกาย หรือกาย ก็อันเดียวกัน

พูดถึงโฮฮับ ก็ขยันค้นขยันอ่านพระสูตรดีอยู่หรอกนะ :b9: แต่อ่านแล้วคิดเตลิด คิดว่า พระพุทธเจ้าไม่ได้พูดเรื่องคน พูดเกี่ยวกับคน คิกๆ คือตัวแกคิดว่าธรรมะอยู่นอกจักรวาล ไม่เกี่ยวกับคนหรือมนุษย์ในสังคม เป็นเรืื่่องของภูิตผีปีศาจ :b1:


อ้างคำพูด:
กายนั้นจะต้องประกอบด้วยอินทรีย์ห้าเป็นหลัก


ไหนลองจัดอินทรีย์ห้าเข้าในกายหน่อยดีเอ้า :b1:

เอาอีกน่ะ จักขุ โสต ฆาน ชิวหา กาย มโน กายที่ไหนเอ้า

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ก.พ. 2014, 13:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ถามอีกนะ ถามสมาชิกทั้งบอร์ดนี่แหละเอ้า เข้ามารุมตุ้มมาตอบปัญหานี้กัน ที่ขีดเส้นใต้


อ้างคำพูด:
"ท่านทั้งหลาย จงดูรูปที่เขาทิ้งแล้ว เมื่อใด อายุ ไออุ่น และวิญญาณ ละกายนี้ เมื่อนั้น ร่างกายก็ถูกทิ้ง นอน ไร้จิตใจ กลายเป็นอาหารของสัตว์อื่น นี้แหละการสืบต่อ (ชีวิต) ก็อย่างนี้ มันเป็นมายาหลอกคนโง่ให้เพ้อ ได้บอกแล้วว่า เบญจขันธ์นี้เป็นผู้ล่าสังหารอยู่ในตัว จะหาแก่นสารในเบญจขันธ์ นี้ย่อมไม่มี"



ได้แก่อะไร ?

ถ้าหาคำตอบให้ตนเองไม่ได้ หาที่ลงไม่ได้ การศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวพุทธธรรมน่าจะเป็นหมันอ่ะนะ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ก.พ. 2014, 14:16 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b12: :b12: :b12:
อ้างคำพูด:
กรัชกาย .....แน่ะๆ จะไปให้ถึงอนัตตาให้ได้ งั้นถามหน่อย อนัตตาที่ว่า อยู่ที่ไหน จะไปหาที่ไหน ถึงว่าจะไปให้ถึงอนัตตา


ถามอีกหน่อย กาย หรือร่างกาย กับ รูป ที่..เหมือนกันหรือต่างกัน

-กายที่ กายานุปัสสนา (กาย+อนุปัสสนา)

-กายที จักขุ โสต ฆาน ชิวหา กาย มโน

-กายที่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ

-กายที่ กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม

และ

-รูปที่ รูปนาม กับ รูปที่ รูปารมณ์ เหมือนกันหรือต่างกัน



อโศกหายไปไหนอีกแล้ว ถามเป็นงานเป็นการทีไรหายทุกที คิกๆๆ

เสริมจากคำถามเดิมอีก เพิ่งนึกได้ กายที่ กายคตาสติ

กายที่เรียกกันว่า กาย ที่เห็นโด่ๆ อยู่นี่อยู่นั้น อยู่ในโลกนี้ เหมือนกับกายที่กล่าวมาทั้งหมดนั่นไหม

:b10: :b10: :b10:
อโศกะ....
อ้างคำพูด:
อนัตตาที่ว่า อยู่ที่ไหน จะไปหาที่ไหน ถึงว่าจะไปให้ถึงอนัตตา

s006
อนัตตา มีอยู่ทุกที่ที่มี ธรรม ดังคำพระบรมศาสดาตรัสสรุปไว้ว่า..."สัพเพธัมมา อนัตตา"

จะหาอนัตตาให้หาที่ธรรม

จะพบธรรม ให้หาในกาย ใจ ง่ายที่สุด

ทำความเห็นให้ถูกต้องแล้วย่อมพบธรรม

ความเห็นถูกต้องคือ เห็นว่าทุกสิ่งเป็นอนัตตา

onion onion onion
สำหรับคำถามที่เหลือนั้น student กับโฮฮับ ก็ตอบได้ดีแล้ว น่าจะพอใจได้แล้วมั้ง พ่อนักวิชาการใหญ่กรัชกาย

อโศกะ ไม่ถนัดนัก และไม่เก่งตำราวิชาการมากพอที่จะตอบให้กรัชกายพึงพอใจได้ ต้องขออภัย

ถ้าจะสนทนากันแบบลูกทุ่งคนบ้านนอกคอกนาภาษาชาวบ้านก็คงพอคุยได้เล็กๆน้อยๆนะครับ

ไอ้เรื่อง รูป นาม กาย ใจ ขันธ์ 5 อายตนะ 12 ผมก็พอรู้บ้าง งูๆ ปลาๆ พอแค่เอาตัวรอด เดินทางตามรอยเท้ารอยบาทของพุทธบิดาไปเท่านั้นเอง

กาย...ก็ร่างกาย อันประกอบด้วยธาตุ 4 ดิน น้ำ ลม ไฟ สัมผัส จับต้องและรู้สึกได้ ที่คนทั่วไปรู้เห็นนี่แหละครับ เรียก รูปกาย....ส่วนกายอีกอันหนึ่งที่เรียกว่านามกายนั้นผมไม่ถนัด ไม่จำไว้ ต้องค้นดูในตำรา

ใจ ...อันที่ 1 คือ หัวใจ หรือ หทัยวัตถุ อันเป็นที่ตั้งที่เกิด ของมโนวิญญาณธาตุ ประสาทรับรู้ของใจ เป็นที่เกิดสิ่งที่เรียกว่า "จิต" อันเป็นนามธรรม

ใจ...อันที่ 2 คือ จิตใจ......เป็นนามธรรม เกิดขึ้นเมื่อมีผัสสะของทวารทั้ง 6 ซึ่งการกระทบของทวารทั้ง 5 จะไปแล้วที่ทวารที่ 6 คือใจ หรือมโนวิญญาณธาตุ

รูป กับ นาม นี่เคยตอบไว้บ้างแล้วว่า

รูป คือสิ่งที่ถูกรู้.....ตำราบอกว่ารูปขันธ์ มี 28 นี่ก็ไม่จำว่ามีอะไรบ้าง ต้องค้นตำรามาอ่าน

นาม คือสิ่งที่ไปรู้รูป......ตำราบอกว่า นามธรรม นามขันธ์ มี 4 คือ วิญญาณ เวทนา สัญญา สังขาร.....ว่าโดยปรมัตถธรรม มี จิต เจตสิก นิพพาน

ส่วนกายคตาสติ.......การเจริญสติรู้อยู่กับกายและอาการของกายนั้นพอมีประสบการณ์ทางภาคปฏิบัติอยู่บ้างแต่ถ้าจะเอาตามตำรา ก็ไปหาอ่านเอาเองจากมหาสติปัฏฐานสูตร

อีกอันคือ รูปารมณ์.......อารมณ์ที่เกิดจากการที่ประสาทตากระทบรูป.......

รู้บัญญัติเพียงแค่ประมาณนี้แหละครับกรัชกาย....พอใจและสะใจหรือยังท่านนักวิชาการใหญ่
:b12: :b12: :b12: :b12: :b12:
อ้อ!.....สุดท้าย

อ้างคำพูด:
อโศกหายไปไหนอีกแล้ว ถามเป็นงานเป็นการทีไรหายทุกที คิกๆๆ


ที่ว่างเว้นไปบ้างวันสองวันก็เพราะภาระกิจ ไม่ได้หายเพราะกลัวคำถามของกรัชกาย..แล้วก็เคยเห็นแต่กรัชกายเลี่ยงบาลีไม่ตอบคำถามอโศกะบ่อยๆ เลยไม่ค่อยอยากจะตอบคำถาม ที่เป็นลักษณะลองภูมิ ่คำถามวิชาการที่ต้องค้นตำรามาตอบ

ถ้าเป็นคำถามที่เกี่ยวกับสภาวธรรมในใจเจ้าของผู้ถามก็อยากจะตอบอยู่ แต่ที่ไปเที่่ยวเก็บตัวอย่างอารมณ์คนโน้นคนนี้มาถามก็ไม่ค่อยอยากจะตอบ เพราะมันเป็นงานที่ทำไม่รู้จักแล้ว ดูเหมือนมีประโยชน์ แต่ไม่เกิดคุณค่าในการสนทนาเท่าที่ควร
:b16: :b16: :b1: :b1: s004 s004


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ก.พ. 2014, 15:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
:b12: :b12: :b12:
อ้างคำพูด:
กรัชกาย .....แน่ะๆ จะไปให้ถึงอนัตตาให้ได้ งั้นถามหน่อย อนัตตาที่ว่า อยู่ที่ไหน จะไปหาที่ไหน ถึงว่าจะไปให้ถึงอนัตตา


ถามอีกหน่อย กาย หรือร่างกาย กับ รูป ที่..เหมือนกันหรือต่างกัน

-กายที่ กายานุปัสสนา (กาย+อนุปัสสนา)

-กายที จักขุ โสต ฆาน ชิวหา กาย มโน

-กายที่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ

-กายที่ กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม

และ

-รูปที่ รูปนาม กับ รูปที่ รูปารมณ์ เหมือนกันหรือต่างกัน



อโศกหายไปไหนอีกแล้ว ถามเป็นงานเป็นการทีไรหายทุกที คิกๆๆ

เสริมจากคำถามเดิมอีก เพิ่งนึกได้ กายที่ กายคตาสติ

กายที่เรียกกันว่า กาย ที่เห็นโด่ๆ อยู่นี่อยู่นั้น อยู่ในโลกนี้ เหมือนกับกายที่กล่าวมาทั้งหมดนั่นไหม

:b10: :b10: :b10:
อโศกะ....
อ้างคำพูด:
อนัตตาที่ว่า อยู่ที่ไหน จะไปหาที่ไหน ถึงว่าจะไปให้ถึงอนัตตา

s006
อนัตตา มีอยู่ทุกที่ที่มี ธรรม ดังคำพระบรมศาสดาตรัสสรุปไว้ว่า..."สัพเพธัมมา อนัตตา"

จะหาอนัตตาให้หาที่ธรรม

จะพบธรรม ให้หาในกาย ใจ ง่ายที่สุด

ทำความเห็นให้ถูกต้องแล้วย่อมพบธรรม

ความเห็นถูกต้องคือ เห็นว่าทุกสิ่งเป็นอนัตตา

onion onion onion
สำหรับคำถามที่เหลือนั้น student กับโฮฮับ ก็ตอบได้ดีแล้ว น่าจะพอใจได้แล้วมั้ง พ่อนักวิชาการใหญ่กรัชกาย

อโศกะ ไม่ถนัดนัก และไม่เก่งตำราวิชาการมากพอที่จะตอบให้กรัชกายพึงพอใจได้ ต้องขออภัย

ถ้าจะสนทนากันแบบลูกทุ่งคนบ้านนอกคอกนาภาษาชาวบ้านก็คงพอคุยได้เล็กๆน้อยๆนะครับ

ไอ้เรื่อง รูป นาม กาย ใจ ขันธ์ 5 อายตนะ 12 ผมก็พอรู้บ้าง งูๆ ปลาๆ พอแค่เอาตัวรอด เดินทางตามรอยเท้ารอยบาทของพุทธบิดาไปเท่านั้นเอง

กาย...ก็ร่างกาย อันประกอบด้วยธาตุ 4 ดิน น้ำ ลม ไฟ สัมผัส จับต้องและรู้สึกได้ ที่คนทั่วไปรู้เห็นนี่แหละครับ เรียก รูปกาย....ส่วนกายอีกอันหนึ่งที่เรียกว่านามกายนั้นผมไม่ถนัด ไม่จำไว้ ต้องค้นดูในตำรา

ใจ ...อันที่ 1 คือ หัวใจ หรือ หทัยวัตถุ อันเป็นที่ตั้งที่เกิด ของมโนวิญญาณธาตุ ประสาทรับรู้ของใจ เป็นที่เกิดสิ่งที่เรียกว่า "จิต" อันเป็นนามธรรม

ใจ...อันที่ 2 คือ จิตใจ......เป็นนามธรรม เกิดขึ้นเมื่อมีผัสสะของทวารทั้ง 6 ซึ่งการกระทบของทวารทั้ง 5 จะไปแล้วที่ทวารที่ 6 คือใจ หรือมโนวิญญาณธาตุ

รูป กับ นาม นี่เคยตอบไว้บ้างแล้วว่า

รูป คือสิ่งที่ถูกรู้.....ตำราบอกว่ารูปขันธ์ มี 28 นี่ก็ไม่จำว่ามีอะไรบ้าง ต้องค้นตำรามาอ่าน

นาม คือสิ่งที่ไปรู้รูป......ตำราบอกว่า นามธรรม นามขันธ์ มี 4 คือ วิญญาณ เวทนา สัญญา สังขาร.....ว่าโดยปรมัตถธรรม มี จิต เจตสิก นิพพาน

ส่วนกายคตาสติ.......การเจริญสติรู้อยู่กับกายและอาการของกายนั้นพอมีประสบการณ์ทางภาคปฏิบัติอยู่บ้างแต่ถ้าจะเอาตามตำรา ก็ไปหาอ่านเอาเองจากมหาสติปัฏฐานสูตร

อีกอันคือ รูปารมณ์.......อารมณ์ที่เกิดจากการที่ประสาทตากระทบรูป.......

รู้บัญญัติเพียงแค่ประมาณนี้แหละครับกรัชกาย....พอใจและสะใจหรือยังท่านนักวิชาการใหญ่
:b12: :b12: :b12: :b12: :b12:
อ้อ!.....สุดท้าย

อ้างคำพูด:
อโศกหายไปไหนอีกแล้ว ถามเป็นงานเป็นการทีไรหายทุกที คิกๆๆ


ที่ว่างเว้นไปบ้างวันสองวันก็เพราะภาระกิจ ไม่ได้หายเพราะกลัวคำถามของกรัชกาย..แล้วก็เคยเห็นแต่กรัชกายเลี่ยงบาลีไม่ตอบคำถามอโศกะบ่อยๆ เลยไม่ค่อยอยากจะตอบคำถาม ที่เป็นลักษณะลองภูมิ ่คำถามวิชาการที่ต้องค้นตำรามาตอบ

ถ้าเป็นคำถามที่เกี่ยวกับสภาวธรรมในใจเจ้าของผู้ถามก็อยากจะตอบอยู่ แต่ที่ไปเที่่ยวเก็บตัวอย่างอารมณ์คนโน้นคนนี้มาถามก็ไม่ค่อยอยากจะตอบ เพราะมันเป็นงานที่ทำไม่รู้จักแล้ว ดูเหมือนมีประโยชน์ แต่ไม่เกิดคุณค่าในการสนทนาเท่าที่ควร
:b16: :b16: :b1: :b1: s004 s004




บอกให้ตอบดังๆชัดๆ ถามนิดเดียวแท้ๆ ตอบสะพันกันนุงนังยุ่งเป็นลิงแก้แห เลยไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไรไปอีก เหนื่อย คิกๆๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 91 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร