วันเวลาปัจจุบัน 20 ก.ค. 2025, 04:37  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 11 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ม.ค. 2013, 20:32 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


ผู้ที่ประกาศคำตถาคต ได้ชื่อว่าเป็นบุคคลที่หาได้ยากในโลก หรือรัตน5ประการที่หาได้ยากในโลก เรามาช่วยกันประกาศคำตถาตคกันเถอะ พุทธวจน พุทธวจนสถาบัน : วัดนาป่าพง

ดูกรเจ้าลิจฉวี ความปรากฏขึ้นแห่งรัตนะ ๕ หาได้ยากในโลก รัตนะ ๕เป็นไฉน คือ
พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ๑
บุคคลผู้แสดงธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแล้ว ๑
บุคคลผู้รู้แจ้งธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแล้ว อันผู้อื่นแสดงแล้ว ๑
บุคคลผู้รู้แจ้งธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแล้ว อันผู้อื่นแสดงแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
กตัญญูกตเวทีบุคคล ๑
ดูกรเจ้าลิจฉวีทั้งหลาย ความปรากฏแห่งรัตนะ ๕ ประการนี้แล หาได้ยากในโลก ฯ
พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาไทย) เล่มที่ ๒๒
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔ อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
หน้าที่ ๒๑๓/๔๐๗หัวข้อที่ ๑๙๖


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ม.ค. 2013, 20:32 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


ลองพิจารณาพระสูตร ๑๐ พระสูตร จะรู้ว่าเราสมควรจะทำอะไรกับตัวเราเอง (กับตัวเราเอง)
ผานมา ๒,๕๐๐ กวาป
คําสอนทางพระพุทธศาสนาเกิดความหลากหลายมากขึ้น
มีสํานักตางๆ มากมาย ซึ่งแตละหมูคณะก็มีความเห็นของตน
หามาตรฐานไมได แมจะกลาวในเรื่องเดียวกัน
ทั้งนี้ไมใชเพราะคําสอนของพระพุทธเจาไมสมบูรณ
แลวเราควรเชื่อและปฏิบัติตามใคร ?
ลองพิจารณาหาคําตอบงายๆ ไดจาก ๑๐ พระสูตร
ซึ่งพระตถาคตทรงเตือนเอาไว
แลวตรัสบอกวิธีปองกันและแกไขเหตุเสื่อมแหงธรรมเหลานี้.
ขอเชิญมาตอบตัวเองกันเถอะวา ถึงเวลาแลวหรือยัง ?
ที่พุทธบริษัทจะมีมาตรฐานเพียงหนึ่งเดียว คือ “พุทธวจน” ธรรมวินัย
จากองคพระสังฆบิดา อันวิญูชนพึงปฏิบัติและรูตามไดเฉพาะตน ดังนี้.

๑. พระองคทรงสามารถกําหนดสมาธิ เมื่อจะพูด ทุกถอยคําจึงไมผิดพลาด
อัคคิเวสนะ ! เรานั้นหรือ, จําเดิมแตเริ่มแสดง กระทั่งคําสุดทายแหงการกลาว
เรื่องนั้นๆ ยอมตั้งไวซึ่งจิตในสมาธินิมิตอันเปนภายในโดยแท ใหจิตดํารงอยู
ใหจิตตั้งมั่นอยู กระทําใหมีจิตเปนเอก ดังเชนที่คนทั้งหลายเคยไดยินวาเรากระทํา
อยูเปนประจํา ดังนี้.
มู. ม. ๑๒/๔๕๘/๔๓๐.

๒. แตละคําพูดเปนอกาลิโก คือ ถูกตองตรงจริงไมจํากัดกาลเวลา
ภิกษุทั้งหลาย ! พวกเธอทั้งหลายเปนผูที่เรานําไปแลวดวยธรรมนี้ อันเปนธรรมที่
บุคคลจะพึงเห็นไดดวยตนเอง (สนฺทิฏิโก), เปนธรรมใหผลไมจํากัดกาล (อกาลิโก),
เปนธรรมที่ควรเรียกกันมาดู (เอหิปสฺสิโก), ควรนอมเขามาใสตัว (โอปนยิโก), อัน
วิญูชนจะพึงรูไดเฉพาะตน (ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิฺูหิ).
มู. ม. ๑๒/๔๘๕/๔๕๑.

๓. คําพูดที่พูดมาทั้งหมดนับแตวันตรัสรูนั้น สอดรับไมขัดแยงกัน
ภิกษุทั้งหลาย ! นับตั้งแตราตรี ที่ตถาคตไดตรัสรูอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ
จนกระทั่งถึงราตรีที่ตถาคตปรินิพพานดวยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ, ตลอดเวลาระหวางนั้น
ตถาคตไดกลาวสอน พร่ําสอน แสดงออก ซึ่งถอยคําใด ถอยคําเหลานั้นทั้งหมด
ยอมเขากันไดโดยประการเดียวทั้งสิ้น ไมแยงกันเปนประการอื่นเลย.
อิติวุ. ขุ. ๒๕/๓๒๑/๒๙๓.

๔. ทรงบอกเหตุแหงความอันตรธานของคําสอนเปรียบดวยกลองศึก
ภิกษุทั้งหลาย ! เรื่องนี้เคยมีมาแลว : กลองศึกของกษัตริยพวกทสารหะ เรียกวา
อานกะ มีอยู. เมื่อกลองอานกะนี้ มีแผลแตก หรือลิ, พวกกษัตริยทสารหะไดหาเนื้อไมอื่น
ทําเปนลิ่ม เสริมลงในรอยแตกของกลองนั้น (ทุกคราวไป). ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเชื่อมปะเขา
หลายครั้งหลายคราวเชนนั้นนานเขาก็ถึงสมัยหนึ่ง ซึ่งเนื้อไมเดิมของตัวกลองหมดสิ้นไป
เหลืออยูแตเนื้อไมที่ทําเสริมเขาใหมเทานั้น;
ภิกษุทั้งหลาย ! ฉันใดก็ฉันนั้น : ในกาลยืดยาวฝายอนาคต จักมีภิกษุทั้งหลาย,
สุตตันตะเหลาใด ที่เปนคําของตถาคต เปนขอความลึก มีความหมายซึ้ง เปนชั้นโลกุตตระ
วาเฉพาะดวยเรื่องสุญญตา, เมื่อมีผูนําสุตตันตะเหลานั้นมากลาวอยู; เธอจักไมฟงดวยดี
จักไมเงี่ยหูฟง จักไมตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และจักไมสําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน.
สวนสุตตันตะเหลาใด ที่นักกวีแตงขึ้นใหม เปนคํารอยกรองประเภทกาพยกลอน มีอักษร
สละสลวย มีพยัญชนะอันวิจิตร เปนเรื่องนอกแนว เปนคํากลาวของสาวก, เมื่อมีผูนํา
สุตตันตะที่นักกวีแตงขึ้นใหมเหลานั้นมากลาวอยู; เธอจักฟงดวยดี จักเงี่ยหูฟง จักตั้งจิต
เพื่อจะรูทั่วถึง และจักสําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียนไป.
ภิกษุทั้งหลาย ! ความอันตรธานของสุตตันตะเหลานั้น ที่เปนคําของตถาคต เปน
ขอความลึก มีความหมายซึ้ง เปนชั้นโลกุตตระ วาเฉพาะดวยเรื่องสุญญตา
จักมีไดดวยอาการอยางนี้ แล.
นิทาน. สํ. ๑๖/๓๑๑/๖๗๒-๓.

๕. ทรงกําชับใหศึกษาปฏิบัติเฉพาะจากคําของพระองคเทานั้น อยาฟงคนอื่น
ภิกษุทั้งหลาย ! พวกภิกษุบริษัทในกรณีนี้, สุตตันตะเหลาใด ที่กวีแตงขึ้นใหม
เปนคํารอยกรองประเภทกาพยกลอน มีอักษรสละสลวย มีพยัญชนะอันวิจิตร เปนเรื่อง
นอกแนว เปนคํากลาวของสาวก เมื่อมีผูนําสุตตันตะเหลานั้นมากลาวอยู เธอจักไมฟง
ดวยดี ไมเงี่ยหูฟง ไมตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และจักไมสําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษา
เลาเรียน.
ภิกษุทั้งหลาย ! สวนสุตตันตะเหลาใด ที่เปนคําของตถาคต เปนขอความลึก
มีความหมายซึ้ง เปนชั้นโลกุตตระ วาเฉพาะดวยเรื่องสุญญตา, เมื่อมีผูนําสุตตันตะ
เหลานั้นมากลาวอยู; เธอยอมฟงดวยดี ยอมเงี่ยหูฟง ยอมตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และยอม
สําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน จึงพากันเลาเรียน ไตถาม ทวนถามแกกันและกันอยู
วา “ขอนี้เปนอยางไร มีความหมายกี่นัย” ดังนี้. ดวยการทําดังนี้ เธอยอมเปดธรรม
ที่ถูกปดไวได. ธรรมที่ยังไมปรากฏ เธอก็ทําใหปรากฏได, ความสงสัยในธรรมหลายประการ
ที่นาสงสัย เธอก็บรรเทาลงได.
ทุก. อํ. ๒๐/๙๒/๒๙๒.
ภิกษุทั้งหลาย ! บริษัทชื่อ อุกกาจิตวินีตา ปริสา โน ปฏิปุจฉาวินีตา
เปนอยางไรเลา ?
ภิกษุทั้งหลาย ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุทั้งหลายในบริษัทใด, เมื่อสุตตันตะทั้งหลาย
อันเปนตถาคตภาษิต (ตถาคตภาสิตา) อันลึกซึ้ง (คมฺภีรา) มีอรรถอันลึกซึ้ง (คมฺภีรตฺถา)
เปนโลกุตตระ (โลกุตฺตรา) ประกอบดวยเรื่องสุญญตา (สุฺตปฏิสํยุตฺตา) อันบุคคลนํามากลาวอยู; ก็ไมฟงดวยดี ไมเงี่ยหูฟง ไมเขาไปตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และไมสําคัญวา
เปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน.
สวนสุตตันตะเหลาใด ที่กวีแตงขึ้นใหม เปนคํารอยกรองประเภทกาพยกลอน
มีอักษรสละสลวย มีพยัญชนะอันวิจิตร เปนเรื่องนอกแนว เปนคํากลาวของสาวก,
เมื่อมีผูนําสุตตันตะเหลานี้มากลาวอยู; พวกเธอยอมฟงดวยดี เงี่ยหูฟง ตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง
และสําคัญไปวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน. พวกเธอเลาเรียนธรรมอันกวีแตงใหมนั้นแลว
ก็ไมสอบถามซึ่งกันและกัน ไมทําใหเปดเผยแจมแจงออกมาวา ขอนี้พยัญชนะเปนอยางไร
อรรถเปนอยางไร ดังนี้. เธอเหลานั้น เปดเผยสิ่งที่ยังไมเปดเผยไมได ไมหงายของที่คว่ําอยู
ใหหงายขึ้นได ไมบรรเทาความสงสัยในธรรมทั้งหลายอันเปนที่ตั้งแหงความสงสัยมีอยาง
ตางๆ ได. ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เราเรียกวา อุกกาจิตวินีตา ปริสา โน ปฏิปุจฉาวินีตา.
ภิกษุทั้งหลาย ! บริษัทชื่อ ปฏิปุจฉาวินีตา ปริสา โน อุกกาจิตวินีตา
เปนอยางไรเลา ?
ภิกษุทั้งหลาย ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุทั้งหลายในบริษัทใด, เมื่อสุตตันตะทั้งหลาย
ที่กวีแตงขึ้นใหม เปนคํารอยกรองประเภทกาพยกลอน มีอักษรสละสลวย มีพยัญชนะอัน
วิจิตร เปนเรื่องนอกแนว เปนคํากลาวของสาวก อันบุคคลนํามากลาวอยู; ก็ไมฟงดวยดี
ไมเงี่ยหูฟง ไมเขาไปตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และไมสําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน.
สวน สุตตันตะเหลาใด อันเปนตถาคตภาษิต อันลึกซึ้ง มีอรรถอันลึกซึ้ง เปน
โลกุตตระ ประกอบดวยเรื่องสุญญตา, เมื่อมีผูนําสุตตันตะเหลานี้มากลาวอยู
พวกเธอยอมฟงดวยดี ยอมเงี่ยหูฟง ยอมเขาไปตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และยอม
สําคัญวาเปนสิ่งที่ควรศึกษาเลาเรียน. พวกเธอเลาเรียนธรรมที่เปนตถาคตภาษิตนั้นแลว
ก็สอบถามซึ่งกันและกัน ทําใหเปดเผยแจมแจงออกมาวา ขอนี้พยัญชนะเปนอยางไร
อรรถะเปนอยางไร ดังนี้. เธอเหลานั้น เปดเผยสิ่งที่ยังไมเปดเผยได หงายของที่คว่ําอยู
ใหหงายขึ้นได บรรเทาความสงสัยในธรรมทั้งหลายอันเปนที่ตั้งแหงความสงสัยมีอยาง
ตางๆ ได. ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เราเรียกวา ปฏิปุจฉาวินีตา ปริสา โน อุกกาจิตวินีตา.
ภิกษุทั้งหลาย ! เหลานี้แลบริษัท ๒ จําพวกนั้น. ภิกษุทั้งหลาย ! บริษัทที่เลิศ
ในบรรดาบริษัททั้งสองพวกนั้น คือ บริษัทปฏิปุจฉาวินีตา ปริสา โน อุกกาจิตวินีตา
(บริษัทที่อาศัยการสอบสวนทบทวนกันเอาเองเปนเครื่องนําไป :
ไมอาศัยความเชื่อจากบุคคลภายนอก เปนเครื่องนําไป) แล.
ทุก. อํ. ๒๐/๙๑/๒๙๒

๖. ทรงหามบัญญัติเพิ่มหรือตัดทอนสิ่งที่บัญญัติไว
ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุทั้งหลาย จักไมบัญญัติสิ่งที่ไมเคยบัญญัติ จักไมเพิกถอน
สิ่งที่บัญญัติไวแลว, จักสมาทานศึกษาในสิกขาบทที่บัญญัติไวแลวอยางเครงครัด
อยูเพียงใด, ความเจริญก็เปนสิ่งที่ภิกษุทั้งหลายหวังได
ไมมีความเสื่อมเลย อยูเพียงนั้น.
มหา. ที. ๑๐/๙๐/๗๐.

๗. สํานึกเสมอวาตนเองเปนเพียงผูเดินตามพระองคเทานั้น
ถึงแมจะเปนอรหันตผูเลิศทางปญญาก็ตาม
ภิกษุทั้งหลาย ! ตถาคตผูอรหันตสัมมาสัมพุทธะ ไดทํามรรคที่ยังไมเกิดให
เกิดขึ้น ไดทํามรรคที่ยังไมมีใครรูใหมีคนรู ไดทํามรรคที่ยังไมมีใครกลาวใหเปนมรรค
ที่กลาวกันแลว ตถาคตเปนผูรูมรรค (มคฺคฺู) เปนผูรูแจงมรรค (มคฺควิทู) เปน
ผูฉลาดในมรรค (มคฺคโกวิโท). ภิกษุทั้งหลาย ! สวนสาวกทั้งหลายในกาลนี้ เปน
ผูเดินตามมรรค (มคฺคานุคา) เปนผูตามมาในภายหลัง.
ภิกษุทั้งหลาย ! นี้แล เปนความผิดแผกแตกตางกัน เปนความมุงหมายที่แตกตางกัน
เปนเครื่องกระทําใหแตกตางกัน ระหวางตถาคตผูอรหันตสัมมาสัมพุทธะ
กับภิกษุ ผูปญญาวิมุตติ.
ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๒/๑๒๖.

๘. ตรัสไววาใหทรงจําบทพยัญชนะและคําอธิบายอยางถูกตอง
พรอมขยันถายทอดบอกสอนกันตอไป
ภิกษุทั้งหลาย ! พวกภิกษุในธรรมวินัยนี้ เลาเรียนสูตรอันถือกันมาถูก ดวยบท
พยัญชนะที่ใชกันถูก ความหมายแหงบทพยัญชนะที่ใชกันก็ถูก ยอมมีนัยอันถูกตอง
เชนนั้น. ภิกษุทั้งหลาย ! นี่เปน มูลกรณีที่หนึ่ง ซึ่งทําใหพระสัทธรรมตั้งอยูได
ไมเลอะเลือนจนเสื่อมสูญไป...
ภิกษุทั้งหลาย ! พวกภิกษุเหลาใด เปนพหุสูต คลองแคลว ในหลักพระพุทธวจน
ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา (แมบท) พวกภิกษุเหลานั้น เอาใจใส บอกสอน
เนื้อความแหงสูตรทั้งหลายแกคนอื่นๆ, เมื่อทานเหลานั้นลวงลับไป สูตรทั้งหลาย
ก็ไมขาดผูเปนมูลราก (อาจารย) มีที่อาศัยสืบกันไป. ภิกษุทั้งหลาย ! นี่เปน มูลกรณี
ที่สาม ซึ่งทําใหพระสัทธรรมตั้งอยูไดไมเลอะเลือนจนเสื่อมสูญไป...
*** ในที่นี้ยกมา ๒ นัยยะ จาก ๔ นัยยะ ของมูลเหตุสี่ประการ
ที่ทําใหพระสัทธรรมตั้งอยูไดไมเลอะเลือนจนเสื่อมสูญไป
จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๙๗/๑๖๐.

๙. ทรงบอกวิธีแกไขความผิดเพี้ยนในคําสอน
๑. (หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กลาวอยางนี้วา ผูมีอายุ ! ขาพเจาไดสดับรับมาเฉพาะ
พระพักตรพระผูมีพระภาควา “นี้เปนธรรม นี้เปนวินัย นี้เปนคําสอนของพระศาสดา”...
๒. (หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กลาวอยางนี้วา ในอาวาสชื่อโนนมีสงฆอยูพรอมดวย
พระเถระ พรอมดวยปาโมกข ขาพเจาไดสดับมาเฉพาะหนาสงฆนั้นวา “นี้เปนธรรม
นี้เปนวินัย นี้เปนคําสอนของพระศาสดา”...
๓. (หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กลาวอยางนี้วา ในอาวาสชื่อโนนมีภิกษุผูเปนเถระอยู
จํานวนมาก เปนพหุสูต เรียนคัมภีร ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา ขาพเจาไดสดับมา
เฉพาะหนาพระเถระเหลานั้นวา “นี้เปนธรรม นี้เปนวินัย นี้เปนคําสอนของพระศาสดา”...
๔. (หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กลาวอยางนี้วา ในอาวาสชื่อโนนมีภิกษุผูเปนเถระอยู
รูปหนึ่ง เปนพหุสูต เรียนคัมภีร ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา ขาพเจาไดสดับมา
เฉพาะหนาพระเถระรูปนั้นวา “นี้เปนธรรม นี้เปนวินัย นี้เปนคําสอนของพระศาสดา”...
เธอทั้งหลายยังไมพึงชื่นชม ยังไมพึงคัดคานคํากลาวของผูนั้น พึงเรียนบทและ
พยัญชนะเหลานั้นใหดี แลวพึงสอบสวนลงในพระสูตร เทียบเคียงดูในวินัย
ถาบทและพยัญชนะเหลานั้น สอบลงในสูตรก็ไมได เทียบเขาในวินัยก็ไมได
พึงลงสันนิษฐานวา “นี้มิใชพระดํารัสของพระผูมีพระภาคพระองคนั้นแนนอน และ
ภิกษุนี้รับมาผิด” เธอทั้งหลาย พึงทิ้งคํานั้นเสีย
ถาบทและพยัญชนะเหลานั้น สอบลงในสูตรก็ได เทียบเขาในวินัยก็ได พึงลง
สันนิษฐานวา “นี้เปนพระดํารัส ของพระผูมีพระภาคพระองคนั้นแนนอน และ
ภิกษุนั้นรับมาดวยดี” เธอทั้งหลาย พึงจํามหาปเทส... นี้ไว.
มหา. ที. ๑๐/๑๔๔/๑๑๓-๖

๑๐. ทรงตรัสแกพระอานนท ใหใชธรรมวินัยที่ตรัสไวเปนศาสดาแทนตอไป
อานนท ! ความคิดอาจมีแกพวกเธออยางนี้วา ‘ธรรมวินัยของพวกเรามีพระศาสดา
ลวงลับไปเสียแลว พวกเราไมมีพระศาสดา’ ดังนี้. อานนท ! พวกเธออยาคิดอยางนั้น.
อานนท ! ธรรมก็ดี วินัยก็ดี ที่เราแสดงแลว บัญญัติแลว แกพวกเธอทั้งหลาย
ธรรมวินัยนั้น จักเปนศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย โดยกาลลวงไปแหงเรา.
อานนท ! ในกาลบัดนี้ก็ดี ในกาลลวงไปแหงเราก็ดี ใครก็ตาม จักตองมีตนเปน
ประทีป มีตนเปนสรณะ ไมเอาสิ่งอื่นเปนสรณะ; มีธรรมเปนประทีป มีธรรมเปนสรณะ ไม
เอาสิ่งอื่นเปนสรณะ เปนอยู. อานนท ! ภิกษุพวกใด เปนผูใครในสิกขา, ภิกษุพวก
นั้น จักเปนผูอยูในสถานะอันเลิศที่สุดแล.
อานนท ! ความขาดสูญแหงกัลยาณวัตรนี้ มีในยุคแหงบุรุษใด บุรุษนั้นชื่อวา
เปนบุรุษคนสุดทายแหงบุรุษทั้งหลาย.... เราขอกลาวย้ํากะเธอวา... เธอทั้งหลายอยา
เปนบุรุษพวกสุดทายของเราเลย.
มหา. ที. ๑๐/๑๗๘/๑๔๑.
มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๑๗/๗๔๐.
ม. ม. ๑๓/๔๒๗/๔๖๓.


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ม.ค. 2013, 21:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 9
สมาชิก ระดับ 9
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.ค. 2011, 22:53
โพสต์: 705

แนวปฏิบัติ: รู้สึกตัว
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:

.....................................................
"ธรรมะเป็นปัจจัตตัง ต้องทำเอง รู้เอง เห็นเอง เข้าใจเอง"


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ม.ค. 2013, 23:08 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


สมดุลย์..3.

ปริยัติ....ปฏิบัติ.....ปฏิเวท

:b8: :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ม.ค. 2013, 12:18 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


เป็นที่น่าอัศจรรย์ หัวข้อนี้เป็นหัวข้อธรรมที่ 44444 เปรียบดั่่ง อริยสัจ4


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.พ. 2013, 13:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 23 ส.ค. 2012, 11:26
โพสต์: 56


 ข้อมูลส่วนตัว


นี่คือ 10 พระสูตรที่ให้มาศึกษาเฉพาะคำของพระศาสดาแท้ๆ...

.....................................................
ภิกษุทั้งหลาย จักไม่บัญญัติสิ่งที่ไม่เคยบัญญัติ...จักไม่เพิกถอนสิ่งที่บัญญัติ
ไว้แล้ว...
จักสมาทานศึกษาในสิกขาบทที่บัญญัติไว้แล้วอย่างเคร่งครัด


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 มี.ค. 2013, 17:09 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


พุทธวจน กายคตาสติอันชนเหล่าใดไม่หลงลืมอมตะชื่อว่าอันชนเหล่านั้น ไม่หลงลืม


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2013, 02:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


อนุโมทนาครับ

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ต.ค. 2013, 17:41 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


กระทู้นี้สวยจังกระทู้ที่44444


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ต.ค. 2013, 17:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


จะเอาทำนองนี้ก็พอไ้ด้ โหลดมาแปะๆไว้ ไว้อ่านเพื่อความสดชื่นรืี่่นใจ สร้างศรัทธา :b8: :b18: ขั้นเริ่มต้นแห่งการศึกษา ต้องไปอีกครับ ไปให้ถึงปัญญา ยกตัวอย่างที่อเมสซึ่งนำมาบ่อยๆ ศรัทธา ศีล สุต จาคะ และปัญญา เป็นคำศัพท์ หากต้องการรู้ความหมายก็ศึกษาซ้ำอีกว่าแต่ละอย่างๆ มีความหมายอย่างไร มิใช่ท่องจำไ้ด้และกิเลสอะไรต่ออะไรจะหมดสิ้นเหมือนในหนังสือนะ่

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ต.ค. 2013, 11:07 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
จะเอาทำนองนี้ก็พอไ้ด้ โหลดมาแปะๆไว้ ไว้อ่านเพื่อความสดชื่นรืี่่นใจ สร้างศรัทธา :b8: :b18: ขั้นเริ่มต้นแห่งการศึกษา ต้องไปอีกครับ ไปให้ถึงปัญญา ยกตัวอย่างที่อเมสซึ่งนำมาบ่อยๆ ศรัทธา ศีล สุต จาคะ และปัญญา เป็นคำศัพท์ หากต้องการรู้ความหมายก็ศึกษาซ้ำอีกว่าแต่ละอย่างๆ มีความหมายอย่างไร มิใช่ท่องจำไ้ด้และกิเลสอะไรต่ออะไรจะหมดสิ้นเหมือนในหนังสือนะ่

กรัชกายปัญญาของกรัชกายคิดว่าถูกทางมั้ย


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 11 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร


cron