วันเวลาปัจจุบัน 18 ก.ค. 2025, 23:56  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 208 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13, 14  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2013, 16:04 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


Rotala เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:

กายคตาสตินั้นคือการเอาจิตอยู่กับกายนั้นเอง ต้องลงมือปฎิบัติอ่านเอาคิดเอาไม่ได้แน่นอนครับ


กายคตาสติ ไปสุดแค่ไหนพอรู้ไหมครับ


ดั่งที่ผมได้พบและเข้าใจและพระสูตรก็ว่าทำที่สุดแห่งทุกได้


อ้อ กายคตาสติ ทำไงครับ ถึงที่สุดแห่งทุกข์ได้ :b10: คือบอกวิธีทำกายคตาสติ เพื่อที่ผู้อื่นจะทำให้พ้นจากทุกข์บ้าง :b8:
พระองค์สรรเสริญ อานาปานสติไว้มาก ขอแนะนำวิธีนี้ก็แล้วกัน
ผมทำอย่างนี้นะครับ หายใจออกให้ยาวที่สุดหายใจเข้าให้ยาวที่สุดสักพัก แล้วสักพักเปลี่ยนมาหายใจออกหายใจเข้าให้สั้นที่สุดเท่าที่จะทำได้ทำให้ลมหายใจเข้าออกให้น้อยที่สุดจะช่วยท่านให้หยุดความคิดปรุงแต่ง จากนั้นจิตเริ่มละเอียดขึ้นทีนี้ให้เอาจิตไปดูกายสังขารทั่วร่างกายหายใจออก เอาจิตไปดูทั่วร่างกายหายใจเข้า ไปดูทั่วร่างกายคือตั้งหัวจรดเท้าหรือเท้าจรดหัวก็ได้หรืออะไรก็ได้ให้กำหนดจิตไปทั่วร่างกาย ร่างกายจะเบาสบายมีอาการขนลุก ต่อไปให้หยุดดูทั่วร่างกายให้หยุดอยู่ตรงจุดกลางระหว่างหัวคิ้วทั้งสองข้างเพ่งอยู่ตรงนั้นตลอดตรงนี้ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นไม่ต้องกังวลใดๆใช้บทอธิฐานความเพียรนั้นแหล่ะแล้วจะประสบความสำเร็จจนกายสังขารจิตสังขารระงับ


ลองทำตามคำแนะนำแล้วครับ อนุโมทนาครับ :b8: :b4:
สงสัยตรงหยุดอยู่ตรงจุดกลางระหว่างหัวคิ้วทั้งสองข้างเพ่งอยู่ตรงนั้นตลอด

ลักษณะการเพ่งเป็นแบบไหนนะครับ :b8: :b12:

-เหมือนเพ่งมองไปข้างหน้าไปที่ตรงจุดกลางระหว่างหัวคิ้ว(ทิศทางไปข้างหน้า)

-(ทิศทางไปด้านหลัง)เหมือนคนมองมาที่จุดกลางระหว่างคิ้วเราแต่เราใช้ความรู้สึกจากด้านหน้ามองมาจุดกลางระหว่างคิ้ว

-เพ่งลักษณะรวมรอบเข้ามาจุดกึ่งกลาง เหมือนรัศมีวงกลมที่แผ่ออกจากจุดกึ่งกลางแต่เหมือนใช้ทิศทางตรงกันข้ามคือย้อนกลับมารวมอยู่จุดกึ่งกลางแทน

-เพ่งลักษณะเฉพาะหน้าตรงจุดกึ่งกลาง เหมือนกำหนดตั้งไว้เบาๆที่จุดกึ่งกลาง(ทิศทางด้านหน้าแต่ลักษณะการพุ่งตรงไปข้างหน้าจะไม่มีเหมือนในแบบที่หนึ่ง)

-เพ่งลักษณะขยายออกจากจุดกึ่งกลางเหมือนแผ่เมตตา

-ลักษณะแบบอื่นๆแบบใดก็ได้ที่ทำให้จิตเป็นสมาธิตั้งมั่นอยู่ที่จุดกึ่งกลางอยู่ได้


เมื่อกำหนดจุดกึ่งกลางแล้วจะเป็นยังไงต่อรบกวนเล่าต่อได้ไหมครับ :b8: :b4:
จุดกลางระหว่างคิ้ว ที่นี้ขยับเข้าไปตรงกลางระหว่างด้านหน้าและด้านหลังของศีรษะ จุดกึ่งกลางพอดีทำแค่นี้ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น ถ้าอยากพักก็ให้เอาจิตไปทั่วกายตั้งแต่หัวจรดเท้า หรือจะทรงอารมณ์อยู่แค่ความรู้สึกแค่นั้นแล้วค่อยๆเพ่งต่อก็ได้ การเพ่งไม่ต้องกดนะครับเพียงกำหนดจิตอยู่ตรงนั้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2013, 16:17 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


Rotala เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:

กายคตาสตินั้นคือการเอาจิตอยู่กับกายนั้นเอง ต้องลงมือปฎิบัติอ่านเอาคิดเอาไม่ได้แน่นอนครับ


กายคตาสติ ไปสุดแค่ไหนพอรู้ไหมครับ




เมื่อกำหนดจุดกึ่งกลางแล้วจะเป็นยังไงต่อรบกวนเล่าต่อได้ไหมครับ :b8: :b4:
ที่สุดตรงนี้จะเข้าถึงรูปนามดับไปนั้นเอง สูงสุดแล้ว แต่การเข้าถึงขอบอกว่าต้องกล้าหน่อยนะครับอาจจะเจอเหมือนผมที่ต้องใช้คำว่าเนื้อหนังเอ็นกระดูกจะหืดหาย ตอนผมทำไม่มีใครบอกแต่กล้าที่จะไป


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2013, 20:11 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 1
สมาชิก ระดับ 1
ลงทะเบียนเมื่อ: 07 ก.ค. 2013, 17:07
โพสต์: 39

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:


นี่ก็เป็นการเข้าใจผิดอย่างยิ่งกับการเฝ้าดูมันอย่างเป็นธรรมชาติ ถ้าอย่างนั้นจะไม่มีทางข้ามความเป็นธรรมชาติของกิเลส และวัฎฎะได้เลย ก็ปล่อยมันไปอย่างนั้นจะไปสนใจมันทำไม ธรรมของพระพุทเจ้านอกจากเข้าใจธรรมชาติแล้วจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องฝืนธรรมชาติที่เป้นอยู่เพราะธรรมชาติที่เป็นอยู่ในปัจจุบันนั้นตกอยู่ภายใต้กิเลส ความเข้าใจจากการฟังการอ่านนันยังอยู่ไกลจากความจริงมาก มากจริงๆการเข้าไปเรียนรู้เรื่องลมหายใจที่มันมีส่วนทำให้สมาธิเกิดขึ้นได้และอานาปานสตินั้นเรา้เป็นผู้เข้าไปกระทำทังนั้น ตัวสมาธินั้นแหล่ะจะเป็นกำลังนำพาให้เราก้าวเข้าสู่อสังขตะธรรมหรือพระนิพพานนั้นเอง



ธรรมชาติมันก็มีก็เป็นของมันยังงั้นชั่วนาตาปี แต่เพราะมนุษย์ไม่รู้เข้าใจความจริง ก็จึงไม่พ้นจากทุกข์ได้ แต่เมื่อรู้ว่ามันเป็นยังงั้นๆ ก็อ๋อมันเป็นยังงี้เอง ก็ปล่อยวางได้ ไม่ยึดมั่นมัน

แต่นี่คุณไปทำให้มันเป็นตามที่ตัวเองอยากให้มันเป็น ก็จึงเห็นแต่สิ่งที่ตนทำให้มันเป็น (นี่แหละเขาเรียกว่าปรุงแต่งล่ะรู้ไว้ด้วย) ไม่ใช่เห็นธรรมะ :b1:
พระพุทธเจ้ากว่าจะค้นพบก่อนคืนวันตรัสรู้พระองค์ทรงอธิฐานแม้แต่เอ็นหนังกระดูกจะสลายไปจะไม่ยอมลุกออกจากที่แล้วพระองค์ก็บรรลุธรรม และบทอธฐานความเพียร ที่จะต้องใช้ความสติและเพียรอย่างแรงกล้า เพื่อจะบรรลุธรรม ถ้าเอาเพียงแต่ฟังเข้าใจ บทพยัญชนะเหล่านี้จะมีไม่ได้เลย ภวนามยปัญญาทำใหมีขึ้นทำให้เป็นขึ้น แค่คำว่าสมาธิระดับฌานนั้นยังต้องอาศัยความเพียรอย่างมาก การทำความเข้าใจได้มาซึ่งสมธิระดับฌานหรือเปล่าครับ



พระพุทธองค์เห็นทางแล้ว จึงอธิษฐานยังงั้นได้ อุปมาให้เห็นภาพเหมือนช่างไม้เจาะไม้ใกล้ทะลุแล้ว เพียงกดพรวดเดียวก็ทะลุ

ส่วนพวกเราในนี้ทั้งหมด ยังไม่รู้เลยว่าจะไปทางไหน ยังไม่รู้เหนือรู้ไต้ ขืนไปทำอย่างพระพุทธเจ้าคืนวันตรัสรู้ ได้ตาย 5 สมใจนึกบางพู หรือไม่ก็เข้าโรงบาลศรีธัญญาเดือดร้อนหมอ คิกๆๆ ใกล้แล้วๆ

จะเปรียบก็เหมือนช่างไม้ฝึกหัดเจาะไม้ ไม่ดูความหนาของไม้ กับดอกสว่านว่าสมดุลกันไหม ไม้หนาดอกสว่านเล็ก กดพรวดๆดอกสว่านหัก นอกจากงานไม่สำเร็จแล้ว ตนเองก็เหนื่อยเปล่า ฉันใดก็ฉันนั้น


อันนี้เราว่า ไม่จริง อย่างน้อยท่านกรัชกายต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจนแน่นอน ไม่เช่นนั้นคงไม่ทำแบบนี้หรอก......อนุโมทนาสาธุ :b9: :b9: :b9: ทั้งๆที่ท่านก็ละได้....แต่ท่านก็ไม่ทำ....(อิอิเดาเอา)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 31 ก.ค. 2013, 22:22 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:

รูปเสียงกลิ่นรสฯ มันก็มีอยู่ไม่เถึยงครับ...
แต่เราสามารถที่จะหยุดมันไม่ให้เชื่อมโยงเข้ามาในจิตใจเราปรุงแต่งสร้างวงล้อของการเกิดดับเกิดดับต่อไป อย่างไมรู้จบ การที่เรามีสติอยู่กับลมหายใจนี้เองคือการเข้าไปตัดวงจรของการเชื่อมโยงรูปและนาม ในขณะรูปนามแยกจากกันชั่วขณะนั้นความจริงก้ปรากฎกคือความไม่เกิดไม่ดับ ตรงนี้นี่เองที่จะกำจัดกิเลสได้เพราะเวทนาทั้งหมดดับลงตรงนี้ ตรงนี้เองเป็นตัวตัดวงจรของปฎิจสุปบาท ที่เป็นวงจรของวัฎฎะสงสารนั้นเอง

้้


สมถะ....ครับ
กำลังสมาธิแรงไป...ไม่เข้าจุดมัฌชิมา
เวทนาเลยดับไปเฉยๆ....ไม่มีเหตุผล


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ส.ค. 2013, 07:37 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:


นี่ก็เป็นการเข้าใจผิดอย่างยิ่งกับการเฝ้าดูมันอย่างเป็นธรรมชาติ ถ้าอย่างนั้นจะไม่มีทางข้ามความเป็นธรรมชาติของกิเลส และวัฎฎะได้เลย ก็ปล่อยมันไปอย่างนั้นจะไปสนใจมันทำไม ธรรมของพระพุทเจ้านอกจากเข้าใจธรรมชาติแล้วจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องฝืนธรรมชาติที่เป้นอยู่เพราะธรรมชาติที่เป็นอยู่ในปัจจุบันนั้นตกอยู่ภายใต้กิเลส ความเข้าใจจากการฟังการอ่านนันยังอยู่ไกลจากความจริงมาก มากจริงๆการเข้าไปเรียนรู้เรื่องลมหายใจที่มันมีส่วนทำให้สมาธิเกิดขึ้นได้และอานาปานสตินั้นเรา้เป็นผู้เข้าไปกระทำทังนั้น ตัวสมาธินั้นแหล่ะจะเป็นกำลังนำพาให้เราก้าวเข้าสู่อสังขตะธรรมหรือพระนิพพานนั้นเอง



ธรรมชาติมันก็มีก็เป็นของมันยังงั้นชั่วนาตาปี แต่เพราะมนุษย์ไม่รู้เข้าใจความจริง ก็จึงไม่พ้นจากทุกข์ได้ แต่เมื่อรู้ว่ามันเป็นยังงั้นๆ ก็อ๋อมันเป็นยังงี้เอง ก็ปล่อยวางได้ ไม่ยึดมั่นมัน

แต่นี่คุณไปทำให้มันเป็นตามที่ตัวเองอยากให้มันเป็น ก็จึงเห็นแต่สิ่งที่ตนทำให้มันเป็น (นี่แหละเขาเรียกว่าปรุงแต่งล่ะรู้ไว้ด้วย) ไม่ใช่เห็นธรรมะ :b1:
พระพุทธเจ้ากว่าจะค้นพบก่อนคืนวันตรัสรู้พระองค์ทรงอธิฐานแม้แต่เอ็นหนังกระดูกจะสลายไปจะไม่ยอมลุกออกจากที่แล้วพระองค์ก็บรรลุธรรม และบทอธฐานความเพียร ที่จะต้องใช้ความสติและเพียรอย่างแรงกล้า เพื่อจะบรรลุธรรม ถ้าเอาเพียงแต่ฟังเข้าใจ บทพยัญชนะเหล่านี้จะมีไม่ได้เลย ภวนามยปัญญาทำใหมีขึ้นทำให้เป็นขึ้น แค่คำว่าสมาธิระดับฌานนั้นยังต้องอาศัยความเพียรอย่างมาก การทำความเข้าใจได้มาซึ่งสมธิระดับฌานหรือเปล่าครับ



พระพุทธองค์เห็นทางแล้ว จึงอธิษฐานยังงั้นได้ อุปมาให้เห็นภาพเหมือนช่างไม้เจาะไม้ใกล้ทะลุแล้ว เพียงกดพรวดเดียวก็ทะลุ

ส่วนพวกเราในนี้ทั้งหมด ยังไม่รู้เลยว่าจะไปทางไหน ยังไม่รู้เหนือรู้ไต้ ขืนไปทำอย่างพระพุทธเจ้าคืนวันตรัสรู้ ได้ตาย 5 สมใจนึกบางพู หรือไม่ก็เข้าโรงบาลศรีธัญญาเดือดร้อนหมอ คิกๆๆ ใกล้แล้วๆ

จะเปรียบก็เหมือนช่างไม้ฝึกหัดเจาะไม้ ไม่ดูความหนาของไม้ กับดอกสว่านว่าสมดุลกันไหม ไม้หนาดอกสว่านเล็ก กดพรวดๆดอกสว่านหัก นอกจากงานไม่สำเร็จแล้ว ตนเองก็เหนื่อยเปล่า ฉันใดก็ฉันนั้น
การตั้งอยู่ในอรหัตตผล ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมกล่าวการตั้งอยู่ในอรหัตตผล ด้วยการไปครั้งแรกเท่านั้นหามิได้ แต่การตั้งอยู่ในอรหัตตผลนั้น ย่อมมีได้ ด้วยการศึกษาโดยลำดับ ด้วยการทำ
โดยลำดับ ด้วยความปฏิบัติโดยลำดับ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็การตั้งอยู่ ในอรหัตตผล ย่อมมีได้
ด้วยการศึกษาโดยลำดับ ด้วยการทำโดยลำดับ ด้วยความปฏิบัติโดยลำดับอย่างไร? ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย กุลบุตรในธรรมวินัยนี้ เกิดศรัทธาแล้วย่อมเข้าไปใกล้ เมื่อเข้าไปใกล้ย่อมนั่งใกล้
เมื่อนั่งใกล้ย่อมเงี่ยโสตลง เมื่อเงี่ยโสตลงแล้วย่อมฟังธรรม ครั้นฟังธรรมย่อมทรงธรรมไว้ย่อมพิจารณาเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงไว้แล้ว เมื่อพิจารณาเนื้อความอยู่ ธรรมทั้งหลายย่อมทน
ได้ซึ่งความพินิจ เมื่อธรรมทนความพินิจได้อยู่ ฉันทะย่อมเกิด เมื่อเกิดฉันทะแล้ว ย่อมอุตสาหะ
ครั้นอุตสาหะแล้ว ย่อมไตร่ตรอง ครั้นไตร่ตรองแล้ว ย่อมตั้งความเพียร เมื่อมีตนส่งไปแล้ว
ย่อมทำให้แจ้งชัดซึ่งบรมสัจจะด้วยกาย และย่อมแทงตลอดเห็นแจ้งบรมสัจจะนั้นด้วยปัญญา.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ศรัทธาก็ดี การเข้าไปใกล้ก็ดี การนั่งใกล้ก็ดี การเงี่ยโสตลงก็ดี การฟังธรรม
ก็ดี ความพิจารณาเนื้อความก็ดี ธรรมอันทนได้ซึ่งความพินิจก็ดี ฉันทะก็ดี อุตสาหะก็ดี
การไตร่ตรองก็ดี การตั้งความเพียรก็ดี นั้นๆ ไม่ได้มีแล้ว เธอทั้งหลายย่อมเป็นผู้ปฏิบัติพลาด
ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติผิด ดูกรภิกษุทั้งหลาย โมฆบุรุษเหล่านี้ ได้หลีกไปจากธรรมวินัยนี้ ไกลเพียงไร.
บท ๔
[๒๓๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย บทสี่อันยืนยันได้ที่เรายกขึ้นแสดงแล้ว อันวิญญูบุรุษ
จะพึงรู้เนื้อความได้ด้วยปัญญาไม่นานเลย มีอยู่ เราจักแสดงแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจักรู้
ทั่วถึงเนื้อความแห่งบทสี่อันยืนยันได้ ที่เรายกขึ้นแสดงแล้วนั้น.
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พวกไหนเป็นข้าพระองค์ทั้งหลาย และพวกไหนจะเป็นผู้รู้ทั่วถึง
ธรรมได้?
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ศาสดาใดเป็นผู้หนักในอามิส รับมรดกแต่ส่วนที่เป็นอามิส
ข้องอยู่ด้วยอามิส แม้ศาสดานั้นย่อมไม่มีคุณสมบัติเหมือนดังของตลาด ซึ่งมีราคาขึ้นๆ ลงๆ
เห็นปานนี้ว่า ก็เมื่อเหตุอย่างนี้พึงมีแก่เรา เราพึงทำเหตุนั้น ก็เมื่อเหตุอย่างนี้ไม่พึงมีแก่เรา
เราไม่พึงทำเหตุนั้น ดังนี้. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ทำไมเล่า ตถาคตจึงไม่ข้องด้วยอามิสโดยประการ
ทั้งปวงอยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สภาพนี้ย่อมมีแก่สาวก ผู้มีศรัทธา ผู้หยั่งลงในคำสอนของ
พระศาสดาแล้วประพฤติด้วยตั้งใจว่า
พระผู้มีพระภาคเป็นพระศาสดา เราเป็นสาวก พระผู้มี
พระภาคย่อมทรงรู้ เราไม่รู้. คำสอนของพระศาสดาย่อมงอกงามมีโอชาแก่สาวกผู้มีศรัทธา
ผู้หยั่งลงในคำสอนของพระศาสดาแล้วประพฤติ. สภาพนี้ ย่อมมีแก่สาวกผู้มีศรัทธาผู้หยั่งลงใน
คำสอนของพระศาสดาแล้วประพฤติ ด้วยตั้งใจว่า เนื้อและเลือดในสรีระของเราจงเหือดแห้ง
ไปจะเหลืออยู่แต่หนังเอ็นและกระดูกก็ตามที เมื่อเรายังไม่บรรลุถึงอิฐผลที่จะพึงบรรลุด้วยเรี่ยวแรงของบุรุษ ด้วยความเพียรของบุรุษ ด้วยความบากบั่นของบุรุษแล้ว จักคลายความเพียร
นั้นเสีย จักไม่มีเลย
. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผลสองอย่างคือ อรหัตตผลในปัจจุบัน หรือเมื่อ
ขันธบัญจกที่กรรมกิเลสเข้าไปยึดถือเป็นส่วนเหลือยังมีอยู่ ความเป็นพระอนาคามีอย่างใดอย่าง
หนึ่ง อันสาวกผู้มีศรัทธา ผู้หยั่งลงในคำสอนของพระศาสดาแล้วประพฤติ พึงหวังได้.
พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว. ภิกษุเหล่านั้นยินดีชื่นชมพระภาษิตของ
พระผู้มีพระภาค ดังนี้แล.


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ส.ค. 2013, 09:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ต้องแก้ปัญหาที่ของจริง ถ้าคุณแก้ปัญหาได้ผ่านไปหนึ่งเปลาะ


อ้างคำพูด:
วัสดีคับ ขอเข้าเรื่องเลยนะครับ ผมนั่งสมาธิแล้วประสบกับสภาวะดังนี้ครับ

นั่งสมาธิไป จนลมหายใจแผ่วลงๆ มากจนลมหายใจหายไป ในขณะเกือบไม่มีลมหายใจนั้น กลับมีสภาวะฟุ้งซ่านเกิดขึ้น

เอาจิตไปจับคำภาวนาก็ไม่ได้เพราะจับแปปเดียวมันก็ปล่อยอีก เอาไปจับลิ้นปี่ก็ไม่ได้เพราะมันไม่พองไม่ยุบแล้ว เอาไปจับปลายจมูกก้ไม่ได้เพราะแทบไม่รู้สึกถึงลม

แล้วแบบนี้พอลมหายใจผมหายไป ผมควรจะเอาจิตไปจับกับอะไรครับ

รายละเอียดการนั่งสมาธิ

นั่งแบบ ดูลมหายใจเข้าออก คำภาวนาคือพุทโธ



ดูเหมือนเคยบอกว่า ก่อนเข้าห้องปฏิบัติการทางจิต หรือปฏิบัติธรรม หรือปฏิบัติกรรมฐาน หรือจะชื่ออะไรก็ตั้งเอา ต้องวางหนังสือวางตำรา วางพระสูตร วางพระอภิธรรมไว้ที่หน้าประตูเสีย แล้วเดินเข้าห้องตัวเปล่าๆแล้วดูมัน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ส.ค. 2013, 10:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:


นี่ก็เป็นการเข้าใจผิดอย่างยิ่งกับการเฝ้าดูมันอย่างเป็นธรรมชาติ ถ้าอย่างนั้นจะไม่มีทางข้ามความเป็นธรรมชาติของกิเลส และวัฎฎะได้เลย ก็ปล่อยมันไปอย่างนั้นจะไปสนใจมันทำไม ธรรมของพระพุทเจ้านอกจากเข้าใจธรรมชาติแล้วจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องฝืนธรรมชาติที่เป้นอยู่เพราะธรรมชาติที่เป็นอยู่ในปัจจุบันนั้นตกอยู่ภายใต้กิเลส ความเข้าใจจากการฟังการอ่านนันยังอยู่ไกลจากความจริงมาก มากจริงๆการเข้าไปเรียนรู้เรื่องลมหายใจที่มันมีส่วนทำให้สมาธิเกิดขึ้นได้และอานาปานสตินั้นเรา้เป็นผู้เข้าไปกระทำทังนั้น ตัวสมาธินั้นแหล่ะจะเป็นกำลังนำพาให้เราก้าวเข้าสู่อสังขตะธรรมหรือพระนิพพานนั้นเอง



ธรรมชาติมันก็มีก็เป็นของมันยังงั้นชั่วนาตาปี แต่เพราะมนุษย์ไม่รู้เข้าใจความจริง ก็จึงไม่พ้นจากทุกข์ได้ แต่เมื่อรู้ว่ามันเป็นยังงั้นๆ ก็อ๋อมันเป็นยังงี้เอง ก็ปล่อยวางได้ ไม่ยึดมั่นมัน

แต่นี่คุณไปทำให้มันเป็นตามที่ตัวเองอยากให้มันเป็น ก็จึงเห็นแต่สิ่งที่ตนทำให้มันเป็น (นี่แหละเขาเรียกว่าปรุงแต่งล่ะรู้ไว้ด้วย) ไม่ใช่เห็นธรรมะ :b1:
พระพุทธเจ้ากว่าจะค้นพบก่อนคืนวันตรัสรู้พระองค์ทรงอธิฐานแม้แต่เอ็นหนังกระดูกจะสลายไปจะไม่ยอมลุกออกจากที่แล้วพระองค์ก็บรรลุธรรม และบทอธฐานความเพียร ที่จะต้องใช้ความสติและเพียรอย่างแรงกล้า เพื่อจะบรรลุธรรม ถ้าเอาเพียงแต่ฟังเข้าใจ บทพยัญชนะเหล่านี้จะมีไม่ได้เลย ภวนามยปัญญาทำใหมีขึ้นทำให้เป็นขึ้น แค่คำว่าสมาธิระดับฌานนั้นยังต้องอาศัยความเพียรอย่างมาก การทำความเข้าใจได้มาซึ่งสมธิระดับฌานหรือเปล่าครับ



พระพุทธองค์เห็นทางแล้ว จึงอธิษฐานยังงั้นได้ อุปมาให้เห็นภาพเหมือนช่างไม้เจาะไม้ใกล้ทะลุแล้ว เพียงกดพรวดเดียวก็ทะลุ

ส่วนพวกเราในนี้ทั้งหมด ยังไม่รู้เลยว่าจะไปทางไหน ยังไม่รู้เหนือรู้ไต้ ขืนไปทำอย่างพระพุทธเจ้าคืนวันตรัสรู้ ได้ตาย 5 สมใจนึกบางพู หรือไม่ก็เข้าโรงบาลศรีธัญญาเดือดร้อนหมอ คิกๆๆ ใกล้แล้วๆ

จะเปรียบก็เหมือนช่างไม้ฝึกหัดเจาะไม้ ไม่ดูความหนาของไม้ กับดอกสว่านว่าสมดุลกันไหม ไม้หนาดอกสว่านเล็ก กดพรวดๆดอกสว่านหัก นอกจากงานไม่สำเร็จแล้ว ตนเองก็เหนื่อยเปล่า ฉันใดก็ฉันนั้น
การตั้งอยู่ในอรหัตตผล ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมกล่าวการตั้งอยู่ในอรหัตตผล ด้วยการไปครั้งแรกเท่านั้นหามิได้ แต่การตั้งอยู่ในอรหัตตผลนั้น ย่อมมีได้ ด้วยการศึกษาโดยลำดับ ด้วยการทำ
โดยลำดับ ด้วยความปฏิบัติโดยลำดับ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็การตั้งอยู่ ในอรหัตตผล ย่อมมีได้
ด้วยการศึกษาโดยลำดับ ด้วยการทำโดยลำดับ ด้วยความปฏิบัติโดยลำดับอย่างไร? ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย กุลบุตรในธรรมวินัยนี้ เกิดศรัทธาแล้วย่อมเข้าไปใกล้ เมื่อเข้าไปใกล้ย่อมนั่งใกล้
เมื่อนั่งใกล้ย่อมเงี่ยโสตลง เมื่อเงี่ยโสตลงแล้วย่อมฟังธรรม ครั้นฟังธรรมย่อมทรงธรรมไว้ย่อมพิจารณาเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงไว้แล้ว เมื่อพิจารณาเนื้อความอยู่ ธรรมทั้งหลายย่อมทน
ได้ซึ่งความพินิจ เมื่อธรรมทนความพินิจได้อยู่ ฉันทะย่อมเกิด เมื่อเกิดฉันทะแล้ว ย่อมอุตสาหะ
ครั้นอุตสาหะแล้ว ย่อมไตร่ตรอง ครั้นไตร่ตรองแล้ว ย่อมตั้งความเพียร เมื่อมีตนส่งไปแล้ว
ย่อมทำให้แจ้งชัดซึ่งบรมสัจจะด้วยกาย และย่อมแทงตลอดเห็นแจ้งบรมสัจจะนั้นด้วยปัญญา.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ศรัทธาก็ดี การเข้าไปใกล้ก็ดี การนั่งใกล้ก็ดี การเงี่ยโสตลงก็ดี การฟังธรรม
ก็ดี ความพิจารณาเนื้อความก็ดี ธรรมอันทนได้ซึ่งความพินิจก็ดี ฉันทะก็ดี อุตสาหะก็ดี
การไตร่ตรองก็ดี การตั้งความเพียรก็ดี นั้นๆ ไม่ได้มีแล้ว เธอทั้งหลายย่อมเป็นผู้ปฏิบัติพลาด
ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติผิด ดูกรภิกษุทั้งหลาย โมฆบุรุษเหล่านี้ ได้หลีกไปจากธรรมวินัยนี้ ไกลเพียงไร.
บท ๔
[๒๓๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย บทสี่อันยืนยันได้ที่เรายกขึ้นแสดงแล้ว อันวิญญูบุรุษ
จะพึงรู้เนื้อความได้ด้วยปัญญาไม่นานเลย มีอยู่ เราจักแสดงแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจักรู้
ทั่วถึงเนื้อความแห่งบทสี่อันยืนยันได้ ที่เรายกขึ้นแสดงแล้วนั้น.
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พวกไหนเป็นข้าพระองค์ทั้งหลาย และพวกไหนจะเป็นผู้รู้ทั่วถึง
ธรรมได้?
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ศาสดาใดเป็นผู้หนักในอามิส รับมรดกแต่ส่วนที่เป็นอามิส
ข้องอยู่ด้วยอามิส แม้ศาสดานั้นย่อมไม่มีคุณสมบัติเหมือนดังของตลาด ซึ่งมีราคาขึ้นๆ ลงๆ
เห็นปานนี้ว่า ก็เมื่อเหตุอย่างนี้พึงมีแก่เรา เราพึงทำเหตุนั้น ก็เมื่อเหตุอย่างนี้ไม่พึงมีแก่เรา
เราไม่พึงทำเหตุนั้น ดังนี้. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ทำไมเล่า ตถาคตจึงไม่ข้องด้วยอามิสโดยประการ
ทั้งปวงอยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สภาพนี้ย่อมมีแก่สาวก ผู้มีศรัทธา ผู้หยั่งลงในคำสอนของ
พระศาสดาแล้วประพฤติด้วยตั้งใจว่า
พระผู้มีพระภาคเป็นพระศาสดา เราเป็นสาวก พระผู้มี
พระภาคย่อมทรงรู้ เราไม่รู้. คำสอนของพระศาสดาย่อมงอกงามมีโอชาแก่สาวกผู้มีศรัทธา
ผู้หยั่งลงในคำสอนของพระศาสดาแล้วประพฤติ. สภาพนี้ ย่อมมีแก่สาวกผู้มีศรัทธาผู้หยั่งลงใน
คำสอนของพระศาสดาแล้วประพฤติ ด้วยตั้งใจว่า เนื้อและเลือดในสรีระของเราจงเหือดแห้ง
ไปจะเหลืออยู่แต่หนังเอ็นและกระดูกก็ตามที เมื่อเรายังไม่บรรลุถึงอิฐผลที่จะพึงบรรลุด้วยเรี่ยวแรงของบุรุษ ด้วยความเพียรของบุรุษ ด้วยความบากบั่นของบุรุษแล้ว จักคลายความเพียร
นั้นเสีย จักไม่มีเลย
. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผลสองอย่างคือ อรหัตตผลในปัจจุบัน หรือเมื่อ
ขันธบัญจกที่กรรมกิเลสเข้าไปยึดถือเป็นส่วนเหลือยังมีอยู่ ความเป็นพระอนาคามีอย่างใดอย่าง
หนึ่ง อันสาวกผู้มีศรัทธา ผู้หยั่งลงในคำสอนของพระศาสดาแล้วประพฤติ พึงหวังได้.
พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว. ภิกษุเหล่านั้นยินดีชื่นชมพระภาษิตของ
พระผู้มีพระภาค ดังนี้แล.



ขออนุญาตพูดความจริงนะครับ เอาตรงๆ คงไม่เคืองกัน คุณน่าจะเป็นพระสกทาคามีพระสูตร คืออ่านๆเอาแล้วก็คิดเป็นเฉยๆ เลย เป็นกันซื่อๆงั้น (พูดเฉยๆนะ อยากเป็นอะไรก็เป็น)

ถ้าเขาไม่แปลเป็นภาษาไทยมาให้อ่าน คือยังเป็นภาษาุเดืมคือภาษาบาลีเค้า เราจะอ่านออกไหม อ่านพอรู้เรืองไหม นี่ถามจริงๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ส.ค. 2013, 10:29 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:


นี่ก็เป็นการเข้าใจผิดอย่างยิ่งกับการเฝ้าดูมันอย่างเป็นธรรมชาติ ถ้าอย่างนั้นจะไม่มีทางข้ามความเป็นธรรมชาติของกิเลส และวัฎฎะได้เลย ก็ปล่อยมันไปอย่างนั้นจะไปสนใจมันทำไม ธรรมของพระพุทเจ้านอกจากเข้าใจธรรมชาติแล้วจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องฝืนธรรมชาติที่เป้นอยู่เพราะธรรมชาติที่เป็นอยู่ในปัจจุบันนั้นตกอยู่ภายใต้กิเลส ความเข้าใจจากการฟังการอ่านนันยังอยู่ไกลจากความจริงมาก มากจริงๆการเข้าไปเรียนรู้เรื่องลมหายใจที่มันมีส่วนทำให้สมาธิเกิดขึ้นได้และอานาปานสตินั้นเรา้เป็นผู้เข้าไปกระทำทังนั้น ตัวสมาธินั้นแหล่ะจะเป็นกำลังนำพาให้เราก้าวเข้าสู่อสังขตะธรรมหรือพระนิพพานนั้นเอง



ธรรมชาติมันก็มีก็เป็นของมันยังงั้นชั่วนาตาปี แต่เพราะมนุษย์ไม่รู้เข้าใจความจริง ก็จึงไม่พ้นจากทุกข์ได้ แต่เมื่อรู้ว่ามันเป็นยังงั้นๆ ก็อ๋อมันเป็นยังงี้เอง ก็ปล่อยวางได้ ไม่ยึดมั่นมัน

แต่นี่คุณไปทำให้มันเป็นตามที่ตัวเองอยากให้มันเป็น ก็จึงเห็นแต่สิ่งที่ตนทำให้มันเป็น (นี่แหละเขาเรียกว่าปรุงแต่งล่ะรู้ไว้ด้วย) ไม่ใช่เห็นธรรมะ :b1:
พระพุทธเจ้ากว่าจะค้นพบก่อนคืนวันตรัสรู้พระองค์ทรงอธิฐานแม้แต่เอ็นหนังกระดูกจะสลายไปจะไม่ยอมลุกออกจากที่แล้วพระองค์ก็บรรลุธรรม และบทอธฐานความเพียร ที่จะต้องใช้ความสติและเพียรอย่างแรงกล้า เพื่อจะบรรลุธรรม ถ้าเอาเพียงแต่ฟังเข้าใจ บทพยัญชนะเหล่านี้จะมีไม่ได้เลย ภวนามยปัญญาทำใหมีขึ้นทำให้เป็นขึ้น แค่คำว่าสมาธิระดับฌานนั้นยังต้องอาศัยความเพียรอย่างมาก การทำความเข้าใจได้มาซึ่งสมธิระดับฌานหรือเปล่าครับ



พระพุทธองค์เห็นทางแล้ว จึงอธิษฐานยังงั้นได้ อุปมาให้เห็นภาพเหมือนช่างไม้เจาะไม้ใกล้ทะลุแล้ว เพียงกดพรวดเดียวก็ทะลุ

ส่วนพวกเราในนี้ทั้งหมด ยังไม่รู้เลยว่าจะไปทางไหน ยังไม่รู้เหนือรู้ไต้ ขืนไปทำอย่างพระพุทธเจ้าคืนวันตรัสรู้ ได้ตาย 5 สมใจนึกบางพู หรือไม่ก็เข้าโรงบาลศรีธัญญาเดือดร้อนหมอ คิกๆๆ ใกล้แล้วๆ

จะเปรียบก็เหมือนช่างไม้ฝึกหัดเจาะไม้ ไม่ดูความหนาของไม้ กับดอกสว่านว่าสมดุลกันไหม ไม้หนาดอกสว่านเล็ก กดพรวดๆดอกสว่านหัก นอกจากงานไม่สำเร็จแล้ว ตนเองก็เหนื่อยเปล่า ฉันใดก็ฉันนั้น
การตั้งอยู่ในอรหัตตผล ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมกล่าวการตั้งอยู่ในอรหัตตผล ด้วยการไปครั้งแรกเท่านั้นหามิได้ แต่การตั้งอยู่ในอรหัตตผลนั้น ย่อมมีได้ ด้วยการศึกษาโดยลำดับ ด้วยการทำ
โดยลำดับ ด้วยความปฏิบัติโดยลำดับ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็การตั้งอยู่ ในอรหัตตผล ย่อมมีได้
ด้วยการศึกษาโดยลำดับ ด้วยการทำโดยลำดับ ด้วยความปฏิบัติโดยลำดับอย่างไร? ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย กุลบุตรในธรรมวินัยนี้ เกิดศรัทธาแล้วย่อมเข้าไปใกล้ เมื่อเข้าไปใกล้ย่อมนั่งใกล้
เมื่อนั่งใกล้ย่อมเงี่ยโสตลง เมื่อเงี่ยโสตลงแล้วย่อมฟังธรรม ครั้นฟังธรรมย่อมทรงธรรมไว้ย่อมพิจารณาเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงไว้แล้ว เมื่อพิจารณาเนื้อความอยู่ ธรรมทั้งหลายย่อมทน
ได้ซึ่งความพินิจ เมื่อธรรมทนความพินิจได้อยู่ ฉันทะย่อมเกิด เมื่อเกิดฉันทะแล้ว ย่อมอุตสาหะ
ครั้นอุตสาหะแล้ว ย่อมไตร่ตรอง ครั้นไตร่ตรองแล้ว ย่อมตั้งความเพียร เมื่อมีตนส่งไปแล้ว
ย่อมทำให้แจ้งชัดซึ่งบรมสัจจะด้วยกาย และย่อมแทงตลอดเห็นแจ้งบรมสัจจะนั้นด้วยปัญญา.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ศรัทธาก็ดี การเข้าไปใกล้ก็ดี การนั่งใกล้ก็ดี การเงี่ยโสตลงก็ดี การฟังธรรม
ก็ดี ความพิจารณาเนื้อความก็ดี ธรรมอันทนได้ซึ่งความพินิจก็ดี ฉันทะก็ดี อุตสาหะก็ดี
การไตร่ตรองก็ดี การตั้งความเพียรก็ดี นั้นๆ ไม่ได้มีแล้ว เธอทั้งหลายย่อมเป็นผู้ปฏิบัติพลาด
ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติผิด ดูกรภิกษุทั้งหลาย โมฆบุรุษเหล่านี้ ได้หลีกไปจากธรรมวินัยนี้ ไกลเพียงไร.
บท ๔
[๒๓๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย บทสี่อันยืนยันได้ที่เรายกขึ้นแสดงแล้ว อันวิญญูบุรุษ
จะพึงรู้เนื้อความได้ด้วยปัญญาไม่นานเลย มีอยู่ เราจักแสดงแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจักรู้
ทั่วถึงเนื้อความแห่งบทสี่อันยืนยันได้ ที่เรายกขึ้นแสดงแล้วนั้น.
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พวกไหนเป็นข้าพระองค์ทั้งหลาย และพวกไหนจะเป็นผู้รู้ทั่วถึง
ธรรมได้?
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ศาสดาใดเป็นผู้หนักในอามิส รับมรดกแต่ส่วนที่เป็นอามิส
ข้องอยู่ด้วยอามิส แม้ศาสดานั้นย่อมไม่มีคุณสมบัติเหมือนดังของตลาด ซึ่งมีราคาขึ้นๆ ลงๆ
เห็นปานนี้ว่า ก็เมื่อเหตุอย่างนี้พึงมีแก่เรา เราพึงทำเหตุนั้น ก็เมื่อเหตุอย่างนี้ไม่พึงมีแก่เรา
เราไม่พึงทำเหตุนั้น ดังนี้. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ทำไมเล่า ตถาคตจึงไม่ข้องด้วยอามิสโดยประการ
ทั้งปวงอยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สภาพนี้ย่อมมีแก่สาวก ผู้มีศรัทธา ผู้หยั่งลงในคำสอนของ
พระศาสดาแล้วประพฤติด้วยตั้งใจว่า
พระผู้มีพระภาคเป็นพระศาสดา เราเป็นสาวก พระผู้มี
พระภาคย่อมทรงรู้ เราไม่รู้. คำสอนของพระศาสดาย่อมงอกงามมีโอชาแก่สาวกผู้มีศรัทธา
ผู้หยั่งลงในคำสอนของพระศาสดาแล้วประพฤติ. สภาพนี้ ย่อมมีแก่สาวกผู้มีศรัทธาผู้หยั่งลงใน
คำสอนของพระศาสดาแล้วประพฤติ ด้วยตั้งใจว่า เนื้อและเลือดในสรีระของเราจงเหือดแห้ง
ไปจะเหลืออยู่แต่หนังเอ็นและกระดูกก็ตามที เมื่อเรายังไม่บรรลุถึงอิฐผลที่จะพึงบรรลุด้วยเรี่ยวแรงของบุรุษ ด้วยความเพียรของบุรุษ ด้วยความบากบั่นของบุรุษแล้ว จักคลายความเพียร
นั้นเสีย จักไม่มีเลย
. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผลสองอย่างคือ อรหัตตผลในปัจจุบัน หรือเมื่อ
ขันธบัญจกที่กรรมกิเลสเข้าไปยึดถือเป็นส่วนเหลือยังมีอยู่ ความเป็นพระอนาคามีอย่างใดอย่าง
หนึ่ง อันสาวกผู้มีศรัทธา ผู้หยั่งลงในคำสอนของพระศาสดาแล้วประพฤติ พึงหวังได้.
พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว. ภิกษุเหล่านั้นยินดีชื่นชมพระภาษิตของ
พระผู้มีพระภาค ดังนี้แล.



ขออนุญาตพูดความจริงนะครับ เอาตรงๆ คงไม่เคืองกัน คุณน่าจะเป็นพระสกทาคามีพระสูตร คืออ่านๆเอาแล้วก็คิดเป็นเฉยๆ เลย เป็นกันซื่อๆงั้น (พูดเฉยๆนะ อยากเป็นอะไรก็เป็น)

ถ้าเขาไม่แปลเป็นภาษาไทยมาให้อ่าน คือยังเป็นภาษาุเดืมคือภาษาบาลีเค้า เราจะอ่านออกไหม อ่านพอรู้เรืองไหม นี่ถามจริงๆ
การศึกษาธรรมะ เราคงไม่ต้องไปนั่งเรียนบาลีให้แตกฉานกันหรอกครับ เพราะการสืบถอดจากสาวกของพระองค์ที่ได้ถ่ายทอดพระสูตร เกี่ยงกับการก้าวเข้าสู่อรหันต์นั้นมีมาเป็นลำดับ และนี่ก็เป้นพระสูตรการตั้งอยู่ในอรหัตถผล คือไม่มีใครผู้ที่มีปัญญาอยู่ๆจะมานั่งหลับหูหลับตาโดยไม่ทราบอะไรมาก่อน อาจจะมีบางก็พวกที่ท่านยกตัวอย่างมา กระผมเลยยกพระสูตรตามลำดับมาให้ดูว่ากว่าจะหยั่งลงมั่นจนมีจิตใจตั้งอยู่บนความเพียรอย่างไม่ยอมถอย เพื่อเป็นแนวทางแก่ผู้ที่หวังในอรหัตถผล ไม่ใช่นั่งนึกคิดเอาลมๆแล้งๆในระดับเชาว์ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ส.ค. 2013, 10:33 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ต้องแก้ปัญหาที่ของจริง ถ้าคุณแก้ปัญหาได้ผ่านไปหนึ่งเปลาะ


อ้างคำพูด:
วัสดีคับ ขอเข้าเรื่องเลยนะครับ ผมนั่งสมาธิแล้วประสบกับสภาวะดังนี้ครับ

นั่งสมาธิไป จนลมหายใจแผ่วลงๆ มากจนลมหายใจหายไป ในขณะเกือบไม่มีลมหายใจนั้น กลับมีสภาวะฟุ้งซ่านเกิดขึ้น

เอาจิตไปจับคำภาวนาก็ไม่ได้เพราะจับแปปเดียวมันก็ปล่อยอีก เอาไปจับลิ้นปี่ก็ไม่ได้เพราะมันไม่พองไม่ยุบแล้ว เอาไปจับปลายจมูกก้ไม่ได้เพราะแทบไม่รู้สึกถึงลม

แล้วแบบนี้พอลมหายใจผมหายไป ผมควรจะเอาจิตไปจับกับอะไรครับ

รายละเอียดการนั่งสมาธิ

นั่งแบบ ดูลมหายใจเข้าออก คำภาวนาคือพุทโธ



ดูเหมือนเคยบอกว่า ก่อนเข้าห้องปฏิบัติการทางจิต หรือปฏิบัติธรรม หรือปฏิบัติกรรมฐาน หรือจะชื่ออะไรก็ตั้งเอา ต้องวางหนังสือวางตำรา วางพระสูตร วางพระอภิธรรมไว้ที่หน้าประตูเสีย แล้วเดินเข้าห้องตัวเปล่าๆแล้วดูมัน
ประสบการณ์ย่อมมีคุณค่า ในดีก็มีเสีย ในเสียก็มีดี


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ส.ค. 2013, 13:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


พอรู้ก็หลุด ไม่รู้จึงติด



สมมติว่า มีห่อของอยู่ห่อหนึ่ง ห่อด้วยผ้าสีสวยงามเรียบร้อยเป็นอย่างดี วางไว้ในตู้กระจกที่ปิดใส่กุญแจไว้ ชายผู้หนึ่ง เชื่ออย่างสนิทใจว่าในห่อนั้นมีของมีค่า เขาอยากได้ ใจจดจ่ออยู่ แต่ยังเอาไม่ได้ เขาพะวักพะวงวุ่นอยู่กับการที่จะเอาของนั้น เสียเวลาเสียการเสียงานมาก

ต่อมามีคนที่เขานับถือมาบอกว่า ในห่อนั้นไม่มีของมีค่าอะไร ไม่น่าเอา และการที่เขาอยากได้อยากเอาพะวงวุ่นวายอยู่นั้นไม่ดีเลย ทำให้เกิดความเสียหายมาก
ใจหนึ่ง เขาอยากจะเชื่อคำบอกของคนที่นับถือ และเขาก็เห็นด้วยว่าการพะวงวุ่นวายอยู่นั้นไม่ดีมีโทษมาก แต่ลึกลงไปเขาก็ยังเชื่อว่า คงต้องมีของมีค่าเป็นแน่ เมื่อยังเชื่ออยู่ เขาก็ยังอยากได้ ยังเยื่อใย ยังตัดใจไม่ลง แต่เขาพยายามข่มใจเชื่อตามคนที่เขานับถือและแสดงให้คนอื่นๆ เห็นว่าเขาเชื่อตามเห็นตามคำของคนที่เขานับถือนั้นแล้ว เขาจึงแสดงอาการว่าเขาไม่อยากได้ เขาไม่ต้องการเอาของห่อนั้น

สำหรับคนผู้นี้ถึงเขาจะยืนตะโกน นั่งตะโกนอย่างไรๆ ว่า ฉันไม่เอาๆๆๆๆๆ ใจของเขาก็คงผูกพันเกาะเกี่ยวอยู่กับห่อของนั้นอยู่นั่นเอง และบางทีเพื่อแสดงตัวให้คนอื่นเห็นว่า เขาไม่ต้องการของนั้น เขาไม่อยากได้ เขาจะไม่เอาของนั้น เขาอาจแสดงกิริยาอาการที่แปลกๆ ที่เกินสมควร อันนับได้ว่ามากไป กลายเป็นพฤติกรรมวิปริตไปก็ได้ นี้เป็นตอนที่หนึ่ง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ส.ค. 2013, 13:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ต่อมา ชายผู้นั้น มีโอกาสได้เห็นของที่อยู่ในห่อและปรากฏว่าเป็นเพียงเศษผ้าเศษขยะจริงตามคำของคนที่เขานับถือเคยพูดไว้ ไม่มีอะไรมีค่าควรเอา เมื่อเขารู้แน่ประจักษ์กับตัวอย่างนี้แล้ว เขาจะหมดความอยากได้ทันที ใจจะไม่เกาะเกี่ยว ไม่คิดจะเอาอีกต่อไป คราวนี้ ถึงเขาจะพยายามบังคับใจของเขาให้อยากได้ ข่มฝืนให้อยากเอา ถึงจะเอาเชือกผูกติดกับของนั้น หรือหยิบของนั้นขึ้นมา ร้องตะโกนว่า ฉันนน อยากกกได้ ฉันนนจะเอา ใจก็จะไม่ยอมเอา
ต่อจากนี้ไปใจของเขาจะไม่มาวกเวียนติดข้องอยู่กับห่อของนั้นอีก ใจของเขาจะเปิดโล่งออกไป พร้อมที่จะมองจะคิดจะทำการอื่นๆ ได้อย่างเต็มที่สืบไป นี้เป็นตอนที่สอง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ส.ค. 2013, 13:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ความเทียบเคียงในตอนที่หนึ่ง เปรียบได้กับพฤติกรรมของปุถุชน ผู้ยังมีความอยาก และความยึดอยู่ด้วยตัณหาอุปาทาน เขาได้รับคำสั่งสอนทางธรรมว่า สิ่งทั้งหลายที่อยากได้มั่นหมายยึดเอานั้น มีสภาวะแท้จริงที่ไม่น่าอยากไม่น่ายึด และความอยากความยึดถือก็มีโทษมาก เขาเห็นด้วยโดยเหตุผลว่า ความอยากได้และความถือมั่นไว้มีโทษมาก และก็อยากจะเชื่อว่า สิ่งทั้งหลายที่อยากได้ ล้วนมีสภาวะซึ่งไม่น่าฝันใฝ่ใคร่เอา

แต่ก็ยังไม่มองเห็นเช่นนั้น ลึกลงไปในใจ ก็ยังมีความอยากความยึดอยู่นั่นเอง แต่เพราะอยากจะเชื่อ อยากจะปฏิบัติตาม หรืออยากแสดงให้เห็นว่า ได้ปฏิบัติตามคำแนะนำทางธรรมนั้น เขาจึงแสดงออกต่างๆ กระทำการต่างๆ ให้เห็นว่า เขาไม่อยากได้ไม่ยึดติด ไม่คิดจะเอาสิ่งทั้งหลายที่น่าใคร่น่าพึงใจเหล่านั้น ในกรณีนี้ ความไม่อยากได้ ไม่อยากเอา หรือไม่ยึดติดของเขา มิใช่ของแท้จริงที่เป็นไปเองตามธรรมชาติ เป็นเพียงสัญญาแห่งความไม่ยึดมั่น ที่เขาเอามายึดถือไว้ เขาเข้าใจความหมายของความไม่ยึดมั่นนั้นอย่างไร ก็พยายามปฏิบัติ หรือทำการต่างๆไปตามนั้น ความไม่ยึดมั่นของเขาจึงเป็นเพียงความยึดมั่นในความไม่ยึดมั่น และการกระทำของเขาก็เป็นการกระทำด้วยความยึดมั่นในความไม่ยึดมั่น การกระทำเช่นนี้ย่อมมีโทษคือ อาจกลายเป็นการกระทำอย่างเสแสร้ง หลอกตนเอง หรือเกินเลยของจริง ไม่สมเหตุสมผล อาจถึงกับเป็นพฤติกรรมวิปริตไปก็ได้

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ส.ค. 2013, 13:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ความเทียบเคียงในตอนที่สอง เปรียบได้กับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยถูกต้องตามธรรมดาแห่งกระบวนธรรม เป็นธรรมชาติ เป็นไปเองตามเหตุปัจจัย คือเกิดจากความรู้แจ้งประจักษ์ ตามหลักการที่ว่า เมื่อเหตุปัจจัยพร้อมแล้ว ผลก็เกิดเอง จำเป็นจะต้องเกิด ถึงฝืนก็ไม่อยู่ คือเมื่อรู้สภาวะของสังขารทั้งหลายแท้จริงแล้ว จิตก็หลุดพ้น หมดความยึดติดเอง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ส.ค. 2013, 14:54 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ความเทียบเคียงในตอนที่สอง เปรียบได้กับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยถูกต้องตามธรรมดาแห่งกระบวนธรรม เป็นธรรมชาติ เป็นไปเองตามเหตุปัจจัย คือเกิดจากความรู้แจ้งประจักษ์ ตามหลักการที่ว่า เมื่อเหตุปัจจัยพร้อมแล้ว ผลก็เกิดเอง จำเป็นจะต้องเกิด ถึงฝืนก็ไม่อยู่ คือเมื่อรู้สภาวะของสังขารทั้งหลายแท้จริงแล้ว จิตก็หลุดพ้น หมดความยึดติดเอง
สิ่งที่ท่านยกมามันเป็นเพียงขบวนการของความคิด ถามว่ามีประโยชน์มั้น ขอตอบมีประโยชน์อยู่มากในการดำเนินชีวิตที่เขาเรียกว่า ทุกเพราะคิดผิด แต่ในทางพุทธศาสนาขบวนการความคิดนันเป็นเพียงปัญญาระดับสองเท่านั้นถือว่าสำคัญไหม สำคัญมากขาดสิ่งเหล่านี้ไม่ได้เลย ถามว่าสามารถทำให้หลุดพ้นการเวียนว่านตายเิกิดได้หรือเปล่า ขอตอบว่ายังไม่ได้เพราะกิเลสที่อยู่ชั้นลึกลงไปของจิตทีมันนนอนเนื่องในอนุสัยนั้นยังไม่ถูกกำจัดเลย วิธีที่จะกำจัดอนุสัยนี้ขบวนการทางความคิดนี้กำจัดไม่ได้ครับ พระองค์ถึงให้เราใช้อานาปานสติเพื่อเข้าไปถึงส่วนที่ลึกที่สุดของจิต คือการทำสมาธิเพื่อให้จิตมีกำลังทะลุทะลวงเข้าสภาธรรมที่แท้จริงนั้นคือการไม่เกิดไม่ดับ เมื่อสภาวะจิตถึงตรงนั้นความรู้ทั้งที่เราสะสมมาทั้งหมดทั้ง
สุตตะ จินตะ ภวนา ผสมผสานกันทำลายกิเลสที่อยู่ในอนุสัยครับ ถ้าความรู้หรือขบวนการความคิดทำให้หลุดพ้นได้จริง พระใบลานเปล่าคงไม่เกิดในพระพุทธเจ้าถึง7พระองค์หรอกครับ ความรู้ที่มันมีประโยชน์กลับมาเป็นงูพิษมันให้โทษนานถึงเจ็ดพระองค์ มันนานขนาดไหนลองพิจารณาดูเอานะครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ส.ค. 2013, 17:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ความเทียบเคียงในตอนที่สอง เปรียบได้กับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยถูกต้องตามธรรมดาแห่งกระบวนธรรม เป็นธรรมชาติ เป็นไปเองตามเหตุปัจจัย คือเกิดจากความรู้แจ้งประจักษ์ ตามหลักการที่ว่า เมื่อเหตุปัจจัยพร้อมแล้ว ผลก็เกิดเอง จำเป็นจะต้องเกิด ถึงฝืนก็ไม่อยู่ คือเมื่อรู้สภาวะของสังขารทั้งหลายแท้จริงแล้ว จิตก็หลุดพ้น หมดความยึดติดเอง
สิ่งที่ท่านยกมามันเป็นเพียงขบวนการของความคิด ถามว่ามีประโยชน์มั้น ขอตอบมีประโยชน์อยู่มากในการดำเนินชีวิตที่เขาเรียกว่า ทุกเพราะคิดผิด แต่ในทางพุทธศาสนาขบวนการความคิดนันเป็นเพียงปัญญาระดับสองเท่านั้นถือว่าสำคัญไหม สำคัญมากขาดสิ่งเหล่านี้ไม่ได้เลย ถามว่าสามารถทำให้หลุดพ้นการเวียนว่านตายเิกิดได้หรือเปล่า ขอตอบว่ายังไม่ได้เพราะกิเลสที่อยู่ชั้นลึกลงไปของจิตทีมันนนอนเนื่องในอนุสัยนั้นยังไม่ถูกกำจัดเลย วิธีที่จะกำจัดอนุสัยนี้ขบวนการทางความคิดนี้กำจัดไม่ได้ครับ พระองค์ถึงให้เราใช้อานาปานสติเพื่อเข้าไปถึงส่วนที่ลึกที่สุดของจิต คือการทำสมาธิเพื่อให้จิตมีกำลังทะลุทะลวงเข้าสภาธรรมที่แท้จริงนั้นคือการไม่เกิดไม่ดับ เมื่อสภาวะจิตถึงตรงนั้นความรู้ทั้งที่เราสะสมมาทั้งหมดทั้ง
สุตตะ จินตะ ภวนา ผสมผสานกันทำลายกิเลสที่อยู่ในอนุสัยครับ ถ้าความรู้หรือขบวนการความคิดทำให้หลุดพ้นได้จริง พระใบลานเปล่าคงไม่เกิดในพระพุทธเจ้าถึง7พระองค์หรอกครับ ความรู้ที่มันมีประโยชน์กลับมาเป็นงูพิษมันให้โทษนานถึงเจ็ดพระองค์ มันนานขนาดไหนลองพิจารณาดูเอานะครับ




เกิดตายตอนไหนครับ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 208 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13, 14  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร