วันเวลาปัจจุบัน 22 ก.ค. 2025, 00:49  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 176 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10 ... 12  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสต์ เมื่อ: 04 ก.ค. 2013, 21:47 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
การสังเกตุธรรม เราสังเกตุธรรมช่วงไหนบ้าง เมื่อธรรมปรากฎเป็นชัด หรือไม่ชัด เมื่อไม่ชัดเรารู้ว่าไม่ชัดเพราะเหตุ หรือความยังไม่แน่วแน่ของสมาธิ เช่น เข้าไปกำหนดรู้แขน สภาวะรู้หรือวิญญาณขันธ์รู้ที่แขน ไม่ได้แผ่ไปที่อื่น ความปรากฎของทุกขัง อนิจจัง อนัตตาย่อมถูกปิดบัง

เมื่อสมาธิแน่วแน่ขึ้น ธรรมปรากฎถึงความชัดเจน และความละเอียดยิ่งขึ้น วิญญาณขันธ์จับที่แขน ธรรมแผ่ขยายออก ปรากฎถึงความรู้ทั่ว กินบริเวณ ชัดมาถึงลำตัว อาจจะทั้งตัวทั้งๆที่จิตจับอยู่ที่แขน

ความชัดไม่ชัดนั้นมีผลโดยตรงกับสังขารขันธ์ สังขารขันธ์คือความเห็นต่อสภาวะธรรมตรงหน้า ยิ่งเห็นชัดยิ่งสงบลงจากความปรุงแต่ง จนถึงความระงับ student สังเกตุตัวเองว่า ยิ่งเหนื่อย สมาธิจับสภาวะธรรมได้เลือนลาง หากได้พักบ้างสมาธิจับสภาวะธรรมได้ชัดขึ้นหรือมีกำลัง ตั้งแต่เริ่มฝึกมา ตอนเช้าตื่นขึ้นมาจะมีสมาธิที่แน่วแน่กว่า ความแน่วแน่เป็นผลทำให้สังขารขันธ์ปรุงแต่งธรรมได้ตามความเป็นจริงขึ้น

ธรรมที่ลึกซึ้ง ต้องอาศัยสมาธิที่ละเอียดลงยิ่งขึ้น ทำให้วิญญาณขันธ์เข้าไปเห็นสภาวะธรรมที่ลึกซึ้งลงไปอีก หรือ ที่ซ่อนอยู่ลึกๆ สภาวะธรรมคือเหตุ วิญญาณขันธ์ทำหน้าที่เข้าไปรู้เหตุ สังขารขันธ์นั้นทำหน้าที่ออกความเห็นเป็นผลออกมา

เหตุของธรรมปรากฎออกมาเพราะความเป็น ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา ความสืบต่อของเหตุเพราะความดำรงอยู่ของขันธ์5

ศีลที่บริสุทธิ์ปรากฎขึ้นที่ใด?

Student ตอบได้ตามความเห็น แต่ไม่แน่ใจว่าถูกหรือผิด หรือเป็นส่วน คือ เมื่อสังขารขันธ์ระงับลงสู่ความเห็นจริงของสภาวะธรรม สู่ความระงับลงของความปรุงแต่งธรรม นั่นคือความบริสุทธิ์ของศีลเกิดขึ้น ผิดอย่างไรก็ขออภัยนะครับ

ความบริสุทธิ์ของศีลจึงมีความสำคัญมากต่อการกำหนดรู้ธรรมชั้นต่อไป ซึ่งอย่างที่student เคยเขียนไว้กระทู้หนึ่งว่า สมาธิขั้น อัปปนาสมาธิ บวกกับ ศีลที่บริสุทธิ์จึงจะเข้าไปสานต่อวิปัสสนาภาวนาขั้นสูงยิ่งขึ้นครับผม
Student ก็ได้แค่นี้ ลึกไปกว่านี้student ไม่รู้


smiley smiley smiley

ยังประทับใจในความตั้งใจของคุณ student เสมอ


โพสต์ เมื่อ: 05 ก.ค. 2013, 02:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
รอท่านโกวิทเถอะ
นี่เป็นกระทู้ของท่านโกวิท...นะ
:b12:

แน่ะ! ความเห็นตัวเองดันโยนไปให้คุณโกวิท :b13:
มันก็แค่บอกสาเหตุ ที่เอกอนเอาอภิธรรมบทนี้มาโพส
ไม่เห็นด้วยกับพี่โฮตรงไหน
จะได้อธิบายกันไป :b13:


โพสต์ เมื่อ: 05 ก.ค. 2013, 10:12 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


เปล่า ...
หมายถึง เอกอนแสดงความเห็น...พอแล้ว ...
และกระทู้นี้ก็เป็นกระทู้ที่ท่านโกวิทตั้งขึ้นมาเพื่อสนทนาในหัวข้อ

"ท่านเห็นความงดงาม ในการสนทนาธรรม แล้วหรือยัง"

ซึ่งก็มีสมาชิกเข้ามาสนทนาในหัวข้อนี้อยู่
ดังนั้น ก็น่าจะกลับเข้าสู่การสนทนาในหัวข้อนั้น ๆ ...ได้แล้ว... น่ะ

สำหรับในส่วนที่เอกอนแสดงความเห็น
เอกอนไม่ได้สงสัยอะไร
ก็เพียงแค่ ความเห็นในเรื่อง เนวสัญญานาสัญญายตนะ
ที่ท่านเข้าใจ กับที่เอกอนเข้าใจนั้น...ไม่ตรงกัน
ท่านแสดงที่ท่านเข้าใจ ... ในทำนองว่า
อ้างคำพูด:
โฮฮับ เขียน:

ซึ่งสภาวะธรรมที่แท้ของบัญญัติทั้งสามนี้ก็คือ....เนวสัญญานาสัญญายตนะ

และ ท่านก็แสดง เนวสัญญานาสัญญา ออกเป็น สองแง่
แง่ เนวสัญญานาสัญญา ของ อุทกดาบส
กับ เนวสัญญานาสัญญา ของ พระพุทธเจ้า ที่เป็นปัจจัยใจการวิปัสสนา

แต่ เอกอนเห็นว่า เนวสัญญานาสัญญายตนะ ไม่ใช่ สภาวะที่แท้ของ บัญญัติทั้งสาม
เพราะหนึ่งเป็น ฌาณ-สมาบัติ อีกหนึ่งเป็น ฌาณ-วิปัสสนา
ซึ่งก็ได้ยกพระสูตรที่พอจะเทียบเคียงได้มาแสดง...แล้ว

ส่วน เนวสัญญานาสัญญา ก็ไม่อาจจะดำเนินสู่วิปัสสนาได้
ซึ่งเอกอนก็นำพระสูตรที่พอจะอ้างอิงได้ มาแสดง...แล้ว

ถ้าจะตอบคำถาม พระสูตรทำให้ เอกอนตอบตัวเองได้ ว่าเอกอนไม่ได้เห็นผิดไปจากพระสูตร ...
นั่นเพียงพอแล้วสำหรับเอกอน ...

:b1: :b1: :b1:

สำหรับกระทู้นี้ ... ที่จะโต้ตอบธรรมกับท่านโฮ จึงน่าจะพอเพียงเท่านี้...

:b8: :b8: :b8:


โพสต์ เมื่อ: 05 ก.ค. 2013, 10:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
เปล่า ...
หมายถึง เอกอนแสดงความเห็น...พอแล้ว ...
และกระทู้นี้ก็เป็นกระทู้ที่ท่านโกวิทตั้งขึ้นมาเพื่อสนทนาในหัวข้อ

"ท่านเห็นความงดงาม ในการสนทนาธรรม แล้วหรือยัง"

ซึ่งก็มีสมาชิกเข้ามาสนทนาในหัวข้อนี้อยู่
ดังนั้น ก็น่าจะกลับเข้าสู่การสนทนาในหัวข้อนั้น ๆ ...ได้แล้ว... น่ะ

คุณเอกอนขอทำความเข้าใจหน่อยครับ "ก็เพราะกระทู้นี้ชื่อ....
"ท่านเห็นความงดงาม ในการสนทนาธรรม แล้วหรือยัง"

อีกทั้งเราก็รู้นิสัยกันดี ผมเลยไม่อยากพูดจาที่เป็นบุคลิกประจำตัวของผม มันจะทำให้คุณโกรธ
แต่ที่ไหนได้ กลับทำให้คุณพูดจาไม่รู้เรื่อง สนทนาธรรมกับผมเหมือนคนที่เป็นใบ้เอามือไม้ชี้โบ้ชี้เบ้

ก็ความเห็นคุณแต่ละความเห็น ไม่ได้อธิบายความหรือพูดจาให้อีกฝ่ายเข้าใจเลย
ผมเห็นว่าชื่อกระทู้นี้เป็นกุศล เลยไม่อยากพูดจาที่จะเป็นการทดสอบกิเลส

ที่ไหนได้ ต้องให้ผมย่ำถามหลายครั้งว่า ความเห็นที่โพสหมายความว่าอะไร
และที่ถามไม่ได้จะยั่วยุ แค่ไม่เข้าใจว่าสื่ออะไร

กลับมาสรุปในตอนท้าย "ตัวเองแสดงความเห็นพอแล้ว"
ก็พิมพ์ลงไปให้รู้แต่แรก มันยากเย็นนักหรือครับ

คุณเอกอนครับ พูดกันตามจริงเลยครับ ผมว่าที่คุณพูดมา
มันไม่ใช่เหตุผลที่แท้จริงหรอกครับ มันก็แค่คุณกลัวผมจะซักไซร์ไล่เรียง
พระอภิธรรมที่คุณเอามาโพสมากกว่า คุณกลัวเพราะคุณก็ไม่เข้าใจสิ่งที่เอามาโพส
ที่โพสก็แค่เห็นว่ามันมีคำศัพท์คล้ายๆกันอยู่


โพสต์ เมื่อ: 05 ก.ค. 2013, 11:21 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


งั๊นท่านก็แสดง เนวสัญญานาสัญญา ในความเห็นท่านต่อไปสิ่...

:b12: :b12: :b12:


โพสต์ เมื่อ: 05 ก.ค. 2013, 11:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
สำหรับในส่วนที่เอกอนแสดงความเห็น
เอกอนไม่ได้สงสัยอะไร
ก็เพียงแค่ ความเห็นในเรื่อง เนวสัญญานาสัญญายตนะ
ที่ท่านเข้าใจ กับที่เอกอนเข้าใจนั้น...ไม่ตรงกัน
ท่านแสดงที่ท่านเข้าใจ ... ในทำนองว่า
อ้างคำพูด:
โฮฮับ เขียน:

ซึ่งสภาวะธรรมที่แท้ของบัญญัติทั้งสามนี้ก็คือ....เนวสัญญานาสัญญายตนะ

และ ท่านก็แสดง เนวสัญญานาสัญญา ออกเป็น สองแง่
แง่ เนวสัญญานาสัญญา ของ อุทกดาบส
กับ เนวสัญญานาสัญญา ของ พระพุทธเจ้า ที่เป็นปัจจัยใจการวิปัสสนา

แต่ เอกอนเห็นว่า เนวสัญญานาสัญญายตนะ ไม่ใช่ สภาวะที่แท้ของ บัญญัติทั้งสาม
เพราะหนึ่งเป็น ฌาณ-สมาบัติ อีกหนึ่งเป็น ฌาณ-วิปัสสนา
ซึ่งก็ได้ยกพระสูตรที่พอจะเทียบเคียงได้มาแสดง...แล้ว

ส่วน เนวสัญญานาสัญญา ก็ไม่อาจจะดำเนินสู่วิปัสสนาได้
ซึ่งเอกอนก็นำพระสูตรที่พอจะอ้างอิงได้ มาแสดง...แล้ว

ถ้าจะตอบคำถาม พระสูตรทำให้ เอกอนตอบตัวเองได้ ว่าเอกอนไม่ได้เห็นผิดไปจากพระสูตร ...
นั่นเพียงพอแล้วสำหรับเอกอน ...

:b1: :b1: :b1:

สำหรับกระทู้นี้ ... ที่จะโต้ตอบธรรมกับท่านโฮ จึงน่าจะพอเพียงเท่านี้...

:b8: :b8: :b8:

ถ้าในกระทู้นี้ไม่อยากคุยกับผม ผมก็ไม่เซ้าซี้ครับ
แตแค่อยากแนะนำ คุณเอกอนครับ บางทีมันอาจเป็นประโยชน์แก่คุณบ้าง
ไม่ทราบว่า คุณเข้าใจความแตกต่างของ พระสูตรกับพระอภิธรรมปิฎกมั้ย

อรรถของพระสูตรแตกต่างจาก การอธิบายความของพระอภิธรรมปิฎก
พระสูตรเป็นการพูดลักษณะของกระบวนการขันธ์ทั้งหมด
แต่พระอภิธรรมปิฏก เป็นการพูดลงลึกลงไปของสภาวะธรรมที่เป็นรายละเอียด
ของขันธ์แต่ละขันธ์ อาทิเช่นจิต เจตสิก รูปและนิพพานและในส่วนนี้ยังมีปลีกย่อยลงไปอีก

ในรายละเอียดต่างๆของจิตเจตสิก มันเป็นสาเหตุให้เกิดสภาวะธรรมที่ต่างกันได้
เช่นเจตสิกแต่ละตัวสามารถเป็นสาเหตุให้จิต มีสภาวะธรรมที่ต่างกัน
อย่างเช่น โทสะทำให้จิตเป็นอกุศล สติทำให้จิตเป็นกุศล เห็นมั้ยว่า
สังขารขันธ์เหมือนกันแต่ทำให้จิตแตกต่างกันได้


ที่พูดมาก็เพื่อให้รู้ว่า ที่เอามาโพส เป็นพระอภิธรรมไม่ใช่พระสูตร
พระสูตรกล่าวเรื่องกระบวนการขันธ์ห้า แต่พระอภิธรรมกล่าวถึงสภาวะธรรม


โพสต์ เมื่อ: 05 ก.ค. 2013, 11:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
งั๊นท่านก็แสดง เนวสัญญานาสัญญา ในความเห็นท่านต่อไปสิ่...

:b12: :b12: :b12:

ยินดีครับ แล้วว่างๆผมจะมาชี้แนะ พระอภิธรรมปิฎกที่คุณเอามาโพส
แต่ต้องใช้เวลาพิจารณาธรรมนานหน่อย สาเหตุก็เพราะ มันไม่ได้เป็นเหตุปัจจัย
หรือเกี่ยวข้องโดยตรงกับเรื่องที่เรากำลังคุยกัน

ในสมัยพุทธกาล พระพุทธองค์จะไม่ทรงแก้ปัญหาแบบนี้ให้ใคร
เพราะเห็นว่ามันเป็นเพียงบัญญัติที่เกิดจากการจินตนาการ

พระพุทธองค์จะทรงชี้ลงไปตรงๆเลยว่า บุคคลนั้นเป็นมิจฉาทิฐิ
ยังไม่ปัญญาเห็นธรรม มองธรรมด้วยวิจิกิจฉา :b13:

เรื่องที่พูดเป็นเพียงเรื่องเปรียบเทียบ :b32:


โพสต์ เมื่อ: 05 ก.ค. 2013, 11:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
งั๊นท่านก็แสดง เนวสัญญานาสัญญา ในความเห็นท่านต่อไปสิ่...

:b12: :b12: :b12:

ทำความเข้าใจอีกที่ บัญญัติที่คุณเรียกมันผิดนะครับ
ที่จริงมันต้องเป็น.......เนวสัญญานาสัญญายตนะ


เรียกบัญญัติผิดมันทำให้สภาวะธรรมในกระบวนการขันธ์มันผิดเพี้ยน เข้าใจมั้ย


โพสต์ เมื่อ: 05 ก.ค. 2013, 12:56 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
eragon_joe เขียน:
งั๊นท่านก็แสดง เนวสัญญานาสัญญา ในความเห็นท่านต่อไปสิ่...

:b12: :b12: :b12:

ยินดีครับ แล้วว่างๆผมจะมาชี้แนะ พระอภิธรรมปิฎกที่คุณเอามาโพส
แต่ต้องใช้เวลาพิจารณาธรรมนานหน่อย สาเหตุก็เพราะ มันไม่ได้เป็นเหตุปัจจัย
หรือเกี่ยวข้องโดยตรงกับเรื่องที่เรากำลังคุยกัน

ในสมัยพุทธกาล พระพุทธองค์จะไม่ทรงแก้ปัญหาแบบนี้ให้ใคร
เพราะเห็นว่ามันเป็นเพียงบัญญัติที่เกิดจากการจินตนาการ

พระพุทธองค์จะทรงชี้ลงไปตรงๆเลยว่า บุคคลนั้นเป็นมิจฉาทิฐิ
ยังไม่ปัญญาเห็นธรรม มองธรรมด้วยวิจิกิจฉา :b13:

เรื่องที่พูดเป็นเพียงเรื่องเปรียบเทียบ :b32:


งั๊นแสดงว่าเรายังไม่คุยเรื่องนี้กันตอนนี้ใช่มั๊ย ...

ก็ดีเหมือนกัน เพราะเอกอนก็ไม่อยากโดนซักไซร้ไล่เรียงน่ะ...

:b1: :b12: :b12: :b1:


โพสต์ เมื่อ: 05 ก.ค. 2013, 13:45 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


ถ้าเคย....เนวสัญญานาสัญญยาตนฌาน...พูดกับแป๊ปเดียวก็คงเข้าใจ..

ถ้าแปลตามรากศัพท์..คงไม่จบ...ง่าย...
:b13: :b13: :b13:


โพสต์ เมื่อ: 05 ก.ค. 2013, 14:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
อ้างคำพูด:
โฮฮับ เขียน:

ซึ่งสภาวะธรรมที่แท้ของบัญญัติทั้งสามนี้ก็คือ....เนวสัญญานาสัญญายตนะ

และ ท่านก็แสดง เนวสัญญานาสัญญา ออกเป็น สองแง่
แง่ เนวสัญญานาสัญญา ของ อุทกดาบส
กับ เนวสัญญานาสัญญา ของ พระพุทธเจ้า ที่เป็นปัจจัยใจการวิปัสสนา

แต่ เอกอนเห็นว่า เนวสัญญานาสัญญายตนะ ไม่ใช่ สภาวะที่แท้ของ บัญญัติทั้งสาม
เพราะหนึ่งเป็น ฌาณ-สมาบัติ อีกหนึ่งเป็น ฌาณ-วิปัสสนา
ซึ่งก็ได้ยกพระสูตรที่พอจะเทียบเคียงได้มาแสดง...แล้ว

ส่วน เนวสัญญานาสัญญา ก็ไม่อาจจะดำเนินสู่วิปัสสนาได้
ซึ่งเอกอนก็นำพระสูตรที่พอจะอ้างอิงได้ มาแสดง...แล้ว

ถ้าจะตอบคำถาม พระสูตรทำให้ เอกอนตอบตัวเองได้ ว่าเอกอนไม่ได้เห็นผิดไปจากพระสูตร ...
นั่นเพียงพอแล้วสำหรับเอกอน ...

คุณเอกอนครับ ความไม่รู้ไม่ได้หมายความไม่มีนะครับ
พระอภิธรรมที่คุณยกมาอ้างอิง มันเป็เรื่องของฌาน ท่านกล่าวเรื่องสัญญานาสัญญายตนะ
ที่เกี่ยวกับการทำณาน ซึ่งผมก็ได้กล่าวไว้ในตอนแรกแล้วว่า อุทกดาบสท่านอุทกดาบส
ทำณานจนได้สมาบัติ๘ มันไม่ใช่ญานที่มาจากวิปัสสนา.....ญาน

ผมอ่านความเห็นของคุณแล้ว คุณใช้บัญญัติที่สับสน มันทำให้สภาวะธรรมผิดเพี้ยนครับ
ตัวอย่างเช่นณานเขาใช้กับสมาบัติแต่คุณเอามาใช้กับวิปัสสนาด้วย
การทำวิปัสสนานั้นเขาใช้ญาน


อีกนั้นก็คือเนวสัญญานาสัญญายตนะก็เรียกผิดๆถูกๆ ทำให้สภาวะธรรมผิด

ความสำคัญของคำนี้มันอยู่ตรงที่...ยตนะ

ในกระบวนการขันธ์ ยตนะในที่นี้คือ อายตนะที่เรียกว่าที่เป็นธัมมายตนะ

ผมบอกคุณไว้ว่า ฌานไม่มีปัญญา การทำฌานเป็นเพียงการเพ่งความว่าง
ความว่างจึงเป็นสัญญานาสัญญายตนะ มันไม่มีปัญญาไปพิจารณาธรรม

ส่วนการทำวิปัสสนานั้นเราต้องอาศัยสัมมาทิฐิมาเป็นตัวนำ ในการพิจารณาธรรม
และสัมมาทิฐิที่ใช้ในการทำวิปัสสนาก็คือ ปัญญา หรือสภาวะธรรมแห่งไตรลักษณ์
ที่จิตไปรู้แล้วจำเอาไว้เป็นสัญญา
การเอาสัญญาที่เป็นปัญญามานำเป็นธัมมายตนะ เราเรียกรวมกันว่า สัญญานาสัญญายตนะ
ที่เรียกแบบนี้เป็นเพราะ สภาวะของปัญญาเป็นไตรลักษณ์ มันเป็นสภาะที่เป็นการดับการปรุงแต่ง
มันเป็นสัญญาที่ละสัญญา


สรุปก็คือ ผมบอกคุณไปอธิบายให้รู้เรื่อง สภาวะเนวสัญญานาสัญญาตนะ
ในลักษณะของสภาวะธรรมที่เป็นกระบวนการขันธ์ และได้แยกแยะให้รู้ว่า
เนวสัญญานาฯ เป็นอย่างไรในลักษณะของ...ฌาน และของ..ญาน


แต่คุณไปเอาอภิธรรมปิฎกที่พูดถึงการทำฌาน แล้วมาสรุปว่า ทำวิปัสสนาไม่ได้
มันตลกดีครับ ผมถึงได้บอกว่า สิ่งที่เรายังไม่รู้ไม่ใช่ไม่มี
ก็เขาพูดเรื่องเหตุปัจจัยแห่งฌาน แล้วจะให้เป็นญานได้อย่างไร มันคนละเรื่อง


โพสต์ เมื่อ: 05 ก.ค. 2013, 14:30 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


:b12: :b12: :b12:


โพสต์ เมื่อ: 05 ก.ค. 2013, 14:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
ถ้าเคย....เนวสัญญานาสัญญยาตนฌาน...พูดกับแป๊ปเดียวก็คงเข้าใจ..

ถ้าแปลตามรากศัพท์..คงไม่จบ...ง่าย...
:b13: :b13: :b13:

คนที่เห็นฌาน ไม่มีทางรู้จักเนวสัญญานาสัญญายตนะ
คนที่สามารถเห็นเนวสัญญานาสัญญายตนะได้ ต้องเป็นผู้มีปัญญาไตรลักษณ์
เป็นผู้เข้าใจสภาวะธรรมของขันธ์ รู้จักเหตุปัจจัยการเกิดกระบวนการขันธ์ห้า

ธรรมที่ผมพูดไม่ได้แปลตามรากศัพท์ ผมเอามาจากสภาวะธรรม
แต่ถ้าเป็นเอกอนชัวร์เลย เอาคำศัพท์ไปเสิทหาในกูเกิ้ล
ได้พระไตรปิฎกมาบทหนึ่ง ก็เอามาโพส มันถึงได้มีพระพระไตรปิฎก
ไม่มีคำอธิบายความเลยซักกาตัวหนึ่ง :b32:


โพสต์ เมื่อ: 05 ก.ค. 2013, 14:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


คุณเอกอนครับ.........

เอาข้อความเดิมมาให้อ่าน รู้สึกว่า เอกอนจะอ่านข้อสามไม่เกินสามบรรทัด
หรือเกินสามบรรทัดไม่อ่าน
กรุณาใชัความเพียรอ่าน แล้วอยากซักไซ้อะไรก็เชิญ
แต่ปัญหาว่าเอกอนจะอ่านเข้าใจหรือเปล่าเท่านั้น :b32:


โฮฮับ เขียน:

โฮฮับ เขียน:
ซึ่งสภาวะธรรมที่แท้ของบัญญัติทั้งสามนี้ก็คือ....เนวสัญญานาสัญญายตนะ


ท่านอุทกดาบส ท่านได้ฌาณ๘ ....เป็นอรูป ซึ่งพระพุทธเจ้าก็ทรงรู้
แต่พระพุทธองค์ทรงรู้ว่า มันไม่ใช่ธรรมแห่งการพ้นทุกข์ที่แท้จริง
ที่นี้จะอธิบายให้ฟังถึงความเหมือนความต่างของธรรม

ก่อนอื่นต้องรู้ก่อนว่า เนวสัญญานาสัญญาตนะของท่านอุทกดาบส....เป็นฌานเป็นความว่างจากสัญญา
พูดตามเหตปัจจัยก็คือ รู้แต่สัญญาที่เป็นความว่างที่สืบต่อจนเกิดสมาบัติ๘(ไม่ใช่นิพพาน)

ส่วนเนวสัญญานาสัญญาตนะที่เป็นญานเป็นปัญญา (เรียกตามเหตุปัจจัยของสภาวะ)
นั้นมีเหตุปัจจัยมาจาก สภาวะรู้ถึงการดับของสังขาร

สภาวะเนวสัญญานาสัญญาตนะของท่านอุทก เรียกว่า...ฌาน

สภาวะเนวสัญญานาสัญญาตนะของพระพุทธเจ้า เรียกว่า.....ญาน

เนวสัญญานาสัญญาตนะของท่านอุทกฯ เป็นเหตุปัจจัยให้เกิดเพียงอรูปพรหม
มันเป็นเพียงความว่าง ไม่ใช่ความดับ(นิพพาน)


เนวสัญญานาสัญญาตนะของพระพุทธองค์ เป็นเหตุปัจจัยแห่งความดับ(นิพพาน)


และเหตุที่เรียกบัญญัติเหมือนกัน เพราะทั้งฌานและญาน มีเหตุปัจจัยมาจาก..สัญญาเหมือนกัน
แต่การเอาสัญญาไปเป็นเหตุปัจจัยต่างกัน

สัญญานาสัญญาตนะที่เป็นญานเป็นการ ไประลึกรู้ปัญญาไตรลักษณ์มานำหน้า
เพื่อการวิปัสสนา เรียกว่า สติปัฏฐาน
ในที่นี้ไตรลัษณ์เป็นสัญญา แต่ด้วยเหตุที่ว่า สภาวะไตรลักษณ์เป็นลักษณะแห่งความดับ
มันจึงเป็นทั้งสัญญาและไม่ใช่สัญญา ตรงกับบัญญัติที่ว่า สัญญานาสัญญาตนะ

ส่วนสัญญานาสัญญาตนะที่เป็นฌาน เป็นการไปรู้สัญญาหรือการสืบต่อธรรม
และเนื่องด้วยสัญญาหรือธรรมที่สืบต่อ เป็นสภาวะของความว่าง สัญญาจึงเป็นเพียง
ความว่าง สภาวะนั้นจึงเป็นเหมือนสัญญาและไม่ใช่สัญญา


โพสต์ เมื่อ: 05 ก.ค. 2013, 16:28 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:

เนวสัญญานาสัญญาตนะของพระพุทธองค์ เป็นเหตุปัจจัยแห่งความดับ(นิพพาน)




งั๊นท่านช่วยแจกแจงตรงนี้ให้กระจ่างหน่อยเถอะ ว่า ยังไง...

:b12: :b12: :b12:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 176 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10 ... 12  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร