วันเวลาปัจจุบัน 05 พ.ค. 2025, 17:17  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 39 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2, 3  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 พ.ค. 2012, 21:49 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ธ.ค. 2011, 21:40
โพสต์: 952


 ข้อมูลส่วนตัว


จะมีใครให้คำตอบได้บ้างมั้นหนา s006


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 พ.ค. 2012, 21:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
อาสาสมัคร
อาสาสมัคร
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.ค. 2009, 23:02
โพสต์: 157

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ใช่ อย่างเดียวกันมีหลายชื่อ

.....................................................
มาตามหา เพื่อนร่วมทาง

ประโยชน์สูง-ประหยัดสุด > > ต้องทำให้ได้ คือแก้ไขตนเอง > > ฝึกหยุด-ไม่หยุดฝึก >
ไม่มีเวลาสำหรับความชั่วบาปอีกแล้ว. ." ทุกวินาทีเป็นวินาทีแห่งบุญ "
เราจะฝึกฝนตนเพื่อไปถึงจุดนั้นให้ได้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 พ.ค. 2012, 21:58 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ธ.ค. 2011, 21:40
โพสต์: 952


 ข้อมูลส่วนตัว


wic เขียน:
ใช่ อย่างเดียวกันมีหลายชื่อ

แล้วทำไมต้องมีหลายชื่อ และมีชื่อ อะไรบ้างครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 พ.ค. 2012, 22:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
อาสาสมัคร
อาสาสมัคร
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.ค. 2009, 23:02
โพสต์: 157

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ถามลึกซึ้งอย่างนี้ผมจนปัญญาตอบไม่ไหวครับ

.....................................................
มาตามหา เพื่อนร่วมทาง

ประโยชน์สูง-ประหยัดสุด > > ต้องทำให้ได้ คือแก้ไขตนเอง > > ฝึกหยุด-ไม่หยุดฝึก >
ไม่มีเวลาสำหรับความชั่วบาปอีกแล้ว. ." ทุกวินาทีเป็นวินาทีแห่งบุญ "
เราจะฝึกฝนตนเพื่อไปถึงจุดนั้นให้ได้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 พ.ค. 2012, 01:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 15 ก.ย. 2010, 21:59
โพสต์: 234

สิ่งที่ชื่นชอบ: ในตัวเอง
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


จิต มโน วิญญาณ บางครั้งพระพุทธองค์ก็ทรงเรียกรวบเอามาเป็นสิ่งเดียวกัน

บางกรณีการเรียกอย่างรวมๆก็เรียกอาการของนามธรรมทั้งหมดว่าจิต

แต่ถ้าต้องการแยก รายละเอียดให้เน้นชัด ก็จะถือเอา วิญญาณขันธ์คือจิต
สัญญา เวทนา สังขาร คือเจตสิกของจิต

cool


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 พ.ค. 2012, 01:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ก.พ. 2012, 12:27
โพสต์: 2372

แนวปฏิบัติ: ปฏิจจสมุปบาท และกรรมฐาน
งานอดิเรก: สวดมนต์รภาวนา
อายุ: 27

 ข้อมูลส่วนตัว


คุณน้องว่า จิตกับวิญญาณ คนละอย่างกันนะเจ้าค่ะ ไม่ใช่สิ่งเดียวกัน จิตมีหน้าที่รู้และอยู่เหนือวิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มีหน้าที่รับความรู้สึก รู้สึกร้อน รู้สึกหนาว รู้สึกเจ็บ เปรี้ยว เค็ม เผ็ด ส่วนจิตคือทำหน้าที่รู้ แยกออกจากกันเจ้าค่ะเพราะคนที่ทำวิปัสนาจะรู้ว่ากายกับจิตแยกออกจากกัน ส่วนจิตวิญญาณอีกอย่างหนึ่งที่เรียกว่า วิญญาณธาตุ มี 2 อย่าง คือจิตที่เจือด้วยอวิชชา วิญญาณนั้นจึงเวียนว่ายตายเกิด ไม่มีที่สิ้นสุด ส่วนจิตปภัสสร คือจิตบริสุทธิ์ จิตหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด อันนี้คือความรู้ที่ศึกษามานิดๆหน่อยๆไม่กว้างขวาง ผิดถูกเช่นไรโปรดพิจารณานะเจ้าค่ะ: :b41:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 พ.ค. 2012, 01:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


วิญญาณ ตัวรู้ จิต ใจจดจ่อ นาม ขันธ์ ธาตุรู้ ในความเข้าใจว่าเป็นอย่างเดียวกัน

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 พ.ค. 2012, 01:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ก.พ. 2012, 12:27
โพสต์: 2372

แนวปฏิบัติ: ปฏิจจสมุปบาท และกรรมฐาน
งานอดิเรก: สวดมนต์รภาวนา
อายุ: 27

 ข้อมูลส่วนตัว


คุนน้องสงสัยว่า ถ้าบอกว่า จิตกับวิญญาณอย่างเดียวกัน แล้วทำไมเราต้องพิจารณา ขันธ์5 ว่า องค์ประกอบของขันธ์5 รูป เวทนา สังขาร สัญญา วิญญาณ นั่นไม่ใช่เราไม่มีเราในขันธ์5 จิต คือผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน เราไม่ควรยึดมั่นถือมั่นว่าเรามีเรา แล้วขันธ์5ก็ประกอบไปด้วยกิเลศที่เรียกว่าสังโยชน์10 แล้วเราจะละขันธ์5ไปเพื่ออะไร ถ้ายังมีวิญญาณอยู่ ก็ไอ้ตัววิญญาณไม่ใช่หรือเจ้าค่ะที่เป็นตัว ยึดมั่นถือมั่นในขันธ์5ทั้งปวง คุนน้องว่าจิตกับวิญญาณไม่ใช่อย่างเดียวกันเจ้าค่ะ มาตอบคำถามให้คุนน้องหายสงสัยด้วยเจ้าค่ะ ว่าคุนน้องเข้าใจผิดถูกประการใด ผู้อาวุโสท่านใดที่เมตตา อนุโมทนาเจ้าค่ะ :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 พ.ค. 2012, 06:30 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ธ.ค. 2011, 21:40
โพสต์: 952


 ข้อมูลส่วนตัว


จางบาง เขียน:
จิต มโน วิญญาณ บางครั้งพระพุทธองค์ก็ทรงเรียกรวบเอามาเป็นสิ่งเดียวกัน

บางกรณีการเรียกอย่างรวมๆก็เรียกอาการของนามธรรมทั้งหมดว่าจิต

แต่ถ้าต้องการแยก รายละเอียดให้เน้นชัด ก็จะถือเอา วิญญาณขันธ์คือจิต
สัญญา เวทนา สังขาร คือเจตสิกของจิต

cool


แล้วท่านคิดว่า ทำไมจึงต้องเรียกต่างกัน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 พ.ค. 2012, 06:39 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ธ.ค. 2011, 21:40
โพสต์: 952


 ข้อมูลส่วนตัว


nongkong เขียน:
คุนน้องสงสัยว่า ถ้าบอกว่า จิตกับวิญญาณอย่างเดียวกัน แล้วทำไมเราต้องพิจารณา ขันธ์5 ว่า องค์ประกอบของขันธ์5 รูป เวทนา สังขาร สัญญา วิญญาณ นั่นไม่ใช่เราไม่มีเราในขันธ์5 จิต คือผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน เราไม่ควรยึดมั่นถือมั่นว่าเรามีเรา แล้วขันธ์5ก็ประกอบไปด้วยกิเลศที่เรียกว่าสังโยชน์10 แล้วเราจะละขันธ์5ไปเพื่ออะไร ถ้ายังมีวิญญาณอยู่ ก็ไอ้ตัววิญญาณไม่ใช่หรือเจ้าค่ะที่เป็นตัว ยึดมั่นถือมั่นในขันธ์5ทั้งปวง คุนน้องว่าจิตกับวิญญาณไม่ใช่อย่างเดียวกันเจ้าค่ะ มาตอบคำถามให้คุนน้องหายสงสัยด้วยเจ้าค่ะ ว่าคุนน้องเข้าใจผิดถูกประการใด ผู้อาวุโสท่านใดที่เมตตา อนุโมทนาเจ้าค่ะ :b8:


ออกความคิดเห็นนิดนึงนะครับ ว่า
แสดงว่า คุณน้อง อยากปฏิบัติเพื่อ ให้มีคุณน้อง ไปอยู่ในนิพพาน ชั้ยมั้ยครับ
แล้วที่สติปัฏฐานสี่ ให้วิปัสสนาที่ จิต ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ อนัตตา นั้น คุณน้อง คิดว่าอย่างไร ละครับ

:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 พ.ค. 2012, 07:14 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


ปรมัตถธรรมมี 4 คือ จิต.....เจตสิก.....รูป.....นิพพาน ของจริงมีเท่านี้นะครับ
:b42:
ทีนี้ จิต กับวิญญาณ เป็นอย่างไร
:b48:
จิตเปรียบเหมือนชื่อจริง
วิญญาณ เปรียบเหมือน ชื่อเล่น (นิกเนม)
นี่นัยยะหนึ่ง

:b38:
อีกนัยยะหนึ่งคือ การเรียกชื่อตามลักษณะการทำงาน
จิต คือธรรมชาติ "รู้" เกิดขึ้น จากเหตุและปัจจัยกระทบกัน
วิญญาณ คือ ผู้รับรู้ อาศัยทวารทั้ง 6 เป็นที่เกิด

:b55:
วิจารณ์กันต่อในนัยยะอื่นอีกนะครับ
เจริญธรรมกันทุกคนครับ
:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 พ.ค. 2012, 07:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 20 มี.ค. 2010, 19:57
โพสต์: 1014

โฮมเพจ: http://www.vitwong.blogspot.com
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว www


[๓๑๙] ชื่อว่า ใจ ในคำว่า คิดถึงทิฏฐิทั้งหลายด้วยใจ ความว่า ใจ คือ จิต ใจ
มานัส หทัย ปัณฑระ มนะ มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณ
ธาตุที่เกิดแต่ผัสสะเป็นต้นนั้น. ท่านคิดนึกถึงทิฏฐิทั้งหลายด้วยจิตว่า โลกเที่ยงบ้าง โลกไม่
เที่ยงบ้าง ฯลฯ สัตว์เบื้องหน้าแต่ตายแล้ว ย่อมเป็นอีกก็หามิได้ ย่อมไม่เป็นอีกก็หามิได้ เพราะ
ฉะนั้น จึงชื่อว่า คิดถึงทิฏฐิทั้งหลายด้วยใจ.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... 568&Z=4022

[๖๓๐] .........ฯลฯ....... จิต ใจ มนัส หทัย จิตขาว มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์
มโนวิญญาณธาตุอันเกิดแต่วิญญาณขันธ์ ปรารภถึงพระผู้มีพระภาค ชื่อว่า มโน.

[๖๓๘] จิต ใจ มนัส หทัย จิตขาว มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุอันเกิดแต่วิญญาณขันธ์นั้น ชื่อว่า มนะ ในอุเทศว่า มโน หิ
เม พฺราหฺมณ เตน ยุตฺโต ดังนี้.
คำว่า ท่านพราหมณ์ ... ประกอบแล้วด้วยทิศาภาคที่ประทับนั้น ความว่า ใจของ
อาตมาประกอบ ประกอบดีแล้วด้วยทิศที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่นั้น เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า
ท่านพราหมณ์ ใจของอาตมานี่แหละประกอบแล้วด้วยทิศาภาคที่ประทับนั้น. เพราะเหตุนั้น พระ-
*ปิงคิยเถระจึงกล่าวว่า
กายของอาตมาผู้แก่แล้ว มีเรี่ยวแรงทุรพล ย่อมไม่ได้ไปใน
สำนักที่พระพุทธเจ้าประทับนั้นนั่นแล. แต่อาตมาย่อมถึงเป็น
นิตย์ด้วยความดำริถึง. ท่านพราหมณ์ ใจของอาตมานี่แหละ
ประกอบแล้วด้วยทิศาภาคที่ประทับอยู่นั้น.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... 120&Z=6138


[๙๖] จิต มนะ มานัส หทัย ธรรมชาติขาวผ่อง อายตนะคือใจ อินทรีย์คือใจ
วิญญาณ วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุ ชื่อว่า ใจ ในอุเทศว่า "มนสานาวิโล สิยา".
จิต เป็นธรรมชาติขุ่นมัว ยุ่งไป เป็นไป สืบต่อ หวั่นไหว หนุนไป ไม่สงบ เพราะกายทุจริต
วจีทุจริต มโนทุจริต ราคะ โทสะ โมหะ โกธะ อุปนาหะ มักขะ ปลาสะ อิสสา มัจฉริยะ
มายา สาเฐยยะ ถัมภะ สารัมภะ มานะ อติมานะ มทะ ปมาทะ จิต เป็นธรรมชาติขุ่นมัว
ยุ่งไป เป็นไป สืบต่อไป หวั่นไหว หนุนไป ไม่สงบ เพราะกิเลสทั้งปวง ทุจริตทั้งปวง
ความกระวนกระวายทั้งปวง ความเร่าร้อนทั้งปวง ความเดือดร้อนทั้งปวง อกุสลาภิสังขารทั้งปวง.
คำว่า พึงเป็นผู้มีใจไม่ขุ่นมัว ความว่า พึงเป็นผู้ไม่ขุ่นมัว คือ ไม่ยุ่งไป ไม่เป็นไป
ไม่สืบต่อไป ไม่หวั่นไหว ไม่หนุนไป สงบแล้วด้วยจิต คือ พึงละ สละ บรรเทา กระทำให้มี
ในที่สุด ให้ถึงความไม่มีซึ่งกิเลสทั้งหลายอันทำความขุ่นมัว พึงเป็นผู้งด เว้น เว้นขาด ออกไป
สลัด สงบ ระงับ หลุดพ้น ไม่เกี่ยวข้องกับกิเลสทั้งหลายอันทำความขุ่นมัว พึงเป็นผู้มีใจปราศจาก
เขตแดนอยู่ เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า พึงเป็นผู้มีใจไม่ขุ่นมัวอยู่.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... =170&Z=643

.....................................................
ยังงมงาย...
เมื่อเห็นว่าพระไตรปิฏก มีส่วนถูก มีส่วนจริงแค่ 20 ถึง 30 เปอร์เซนต์ เท่านั้น

เลิกงมงาย..
เมื่อเห็นว่า พระไตรปิฏก มีส่วนถูก ส่วนจริง เกินกว่า 80 ถึง กว่า 90 เปอร์เซนต์

http://www.youtube.com/user/govit2554#g/u


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 พ.ค. 2012, 07:29 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ธ.ค. 2011, 21:40
โพสต์: 952


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
ปรมัตถธรรมมี 4 คือ จิต.....เจตสิก.....รูป.....นิพพาน ของจริงมีเท่านี้นะครับ
:b42:
ทีนี้ จิต กับวิญญาณ เป็นอย่างไร
:b48:
จิตเปรียบเหมือนชื่อจริง
วิญญาณ เปรียบเหมือน ชื่อเล่น (นิกเนม)
นี่นัยยะหนึ่ง

:b38:
อีกนัยยะหนึ่งคือ การเรียกชื่อตามลักษณะการทำงาน
จิต คือธรรมชาติ "รู้" เกิดขึ้น จากเหตุและปัจจัยกระทบกัน
วิญญาณ คือ ผู้รับรู้ อาศัยทวารทั้ง 6 เป็นที่เกิด

:b55:
วิจารณ์กันต่อในนัยยะอื่นอีกนะครับ
เจริญธรรมกันทุกคนครับ
:b8:


:b12: พระพุทธองค์คงไม่ต้องตั้ง ชื่อเล่น ชื่อจริง หรอกกระมั่งท่าน
ท่านเป็นผู้ ปริยัติ มาเยอะ ลองดูใหม่ได้ไหมครับ แอบผิดหวังเล็กน้อย นะนี้
:b12: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 พ.ค. 2012, 07:33 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ธ.ค. 2011, 21:40
โพสต์: 952


 ข้อมูลส่วนตัว


govit2552 เขียน:
[๓๑๙] ชื่อว่า ใจ ในคำว่า คิดถึงทิฏฐิทั้งหลายด้วยใจ ความว่า ใจ คือ จิต ใจ
มานัส หทัย ปัณฑระ มนะ มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณ
ธาตุที่เกิดแต่ผัสสะเป็นต้นนั้น. ท่านคิดนึกถึงทิฏฐิทั้งหลายด้วยจิตว่า โลกเที่ยงบ้าง โลกไม่
เที่ยงบ้าง ฯลฯ สัตว์เบื้องหน้าแต่ตายแล้ว ย่อมเป็นอีกก็หามิได้ ย่อมไม่เป็นอีกก็หามิได้ เพราะ
ฉะนั้น จึงชื่อว่า คิดถึงทิฏฐิทั้งหลายด้วยใจ.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... 568&Z=4022

[๖๓๐] .........ฯลฯ....... จิต ใจ มนัส หทัย จิตขาว มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์
มโนวิญญาณธาตุอันเกิดแต่วิญญาณขันธ์ ปรารภถึงพระผู้มีพระภาค ชื่อว่า มโน.

[๖๓๘] จิต ใจ มนัส หทัย จิตขาว มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุอันเกิดแต่วิญญาณขันธ์นั้น ชื่อว่า มนะ ในอุเทศว่า มโน หิ
เม พฺราหฺมณ เตน ยุตฺโต ดังนี้.
คำว่า ท่านพราหมณ์ ... ประกอบแล้วด้วยทิศาภาคที่ประทับนั้น ความว่า ใจของ
อาตมาประกอบ ประกอบดีแล้วด้วยทิศที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่นั้น เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า
ท่านพราหมณ์ ใจของอาตมานี่แหละประกอบแล้วด้วยทิศาภาคที่ประทับนั้น. เพราะเหตุนั้น พระ-
*ปิงคิยเถระจึงกล่าวว่า
กายของอาตมาผู้แก่แล้ว มีเรี่ยวแรงทุรพล ย่อมไม่ได้ไปใน
สำนักที่พระพุทธเจ้าประทับนั้นนั่นแล. แต่อาตมาย่อมถึงเป็น
นิตย์ด้วยความดำริถึง. ท่านพราหมณ์ ใจของอาตมานี่แหละ
ประกอบแล้วด้วยทิศาภาคที่ประทับอยู่นั้น.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... 120&Z=6138


[๙๖] จิต มนะ มานัส หทัย ธรรมชาติขาวผ่อง อายตนะคือใจ อินทรีย์คือใจ
วิญญาณ วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุ ชื่อว่า ใจ ในอุเทศว่า "มนสานาวิโล สิยา".
จิต เป็นธรรมชาติขุ่นมัว ยุ่งไป เป็นไป สืบต่อ หวั่นไหว หนุนไป ไม่สงบ เพราะกายทุจริต
วจีทุจริต มโนทุจริต ราคะ โทสะ โมหะ โกธะ อุปนาหะ มักขะ ปลาสะ อิสสา มัจฉริยะ
มายา สาเฐยยะ ถัมภะ สารัมภะ มานะ อติมานะ มทะ ปมาทะ จิต เป็นธรรมชาติขุ่นมัว
ยุ่งไป เป็นไป สืบต่อไป หวั่นไหว หนุนไป ไม่สงบ เพราะกิเลสทั้งปวง ทุจริตทั้งปวง
ความกระวนกระวายทั้งปวง ความเร่าร้อนทั้งปวง ความเดือดร้อนทั้งปวง อกุสลาภิสังขารทั้งปวง.
คำว่า พึงเป็นผู้มีใจไม่ขุ่นมัว ความว่า พึงเป็นผู้ไม่ขุ่นมัว คือ ไม่ยุ่งไป ไม่เป็นไป
ไม่สืบต่อไป ไม่หวั่นไหว ไม่หนุนไป สงบแล้วด้วยจิต คือ พึงละ สละ บรรเทา กระทำให้มี
ในที่สุด ให้ถึงความไม่มีซึ่งกิเลสทั้งหลายอันทำความขุ่นมัว พึงเป็นผู้งด เว้น เว้นขาด ออกไป
สลัด สงบ ระงับ หลุดพ้น ไม่เกี่ยวข้องกับกิเลสทั้งหลายอันทำความขุ่นมัว พึงเป็นผู้มีใจปราศจาก
เขตแดนอยู่ เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า พึงเป็นผู้มีใจไม่ขุ่นมัวอยู่.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... =170&Z=643


ท่านช่วยสรุป ให้ลงปฏิบัติ ให้หน่อยนะครับ ขอบคุณครับ ลงในขันธ์5 และ ปฏิจจสมุปบาท ด้วยยิ่งดีครับ
:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 พ.ค. 2012, 07:43 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


ฝึกจิต เขียน:
govit2552 เขียน:
[๓๑๙] ชื่อว่า ใจ ในคำว่า คิดถึงทิฏฐิทั้งหลายด้วยใจ ความว่า ใจ คือ จิต ใจ
มานัส หทัย ปัณฑระ มนะ มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณ
ธาตุที่เกิดแต่ผัสสะเป็นต้นนั้น. ท่านคิดนึกถึงทิฏฐิทั้งหลายด้วยจิตว่า โลกเที่ยงบ้าง โลกไม่
เที่ยงบ้าง ฯลฯ สัตว์เบื้องหน้าแต่ตายแล้ว ย่อมเป็นอีกก็หามิได้ ย่อมไม่เป็นอีกก็หามิได้ เพราะ
ฉะนั้น จึงชื่อว่า คิดถึงทิฏฐิทั้งหลายด้วยใจ.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... 568&Z=4022

[๖๓๐] .........ฯลฯ....... จิต ใจ มนัส หทัย จิตขาว มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์
มโนวิญญาณธาตุอันเกิดแต่วิญญาณขันธ์ ปรารภถึงพระผู้มีพระภาค ชื่อว่า มโน.

[๖๓๘] จิต ใจ มนัส หทัย จิตขาว มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ
วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุอันเกิดแต่วิญญาณขันธ์นั้น ชื่อว่า มนะ ในอุเทศว่า มโน หิ
เม พฺราหฺมณ เตน ยุตฺโต ดังนี้.
คำว่า ท่านพราหมณ์ ... ประกอบแล้วด้วยทิศาภาคที่ประทับนั้น ความว่า ใจของ
อาตมาประกอบ ประกอบดีแล้วด้วยทิศที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่นั้น เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า
ท่านพราหมณ์ ใจของอาตมานี่แหละประกอบแล้วด้วยทิศาภาคที่ประทับนั้น. เพราะเหตุนั้น พระ-
*ปิงคิยเถระจึงกล่าวว่า
กายของอาตมาผู้แก่แล้ว มีเรี่ยวแรงทุรพล ย่อมไม่ได้ไปใน
สำนักที่พระพุทธเจ้าประทับนั้นนั่นแล. แต่อาตมาย่อมถึงเป็น
นิตย์ด้วยความดำริถึง. ท่านพราหมณ์ ใจของอาตมานี่แหละ
ประกอบแล้วด้วยทิศาภาคที่ประทับอยู่นั้น.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... 120&Z=6138


[๙๖] จิต มนะ มานัส หทัย ธรรมชาติขาวผ่อง อายตนะคือใจ อินทรีย์คือใจ
วิญญาณ วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุ ชื่อว่า ใจ ในอุเทศว่า "มนสานาวิโล สิยา".
จิต เป็นธรรมชาติขุ่นมัว ยุ่งไป เป็นไป สืบต่อ หวั่นไหว หนุนไป ไม่สงบ เพราะกายทุจริต
วจีทุจริต มโนทุจริต ราคะ โทสะ โมหะ โกธะ อุปนาหะ มักขะ ปลาสะ อิสสา มัจฉริยะ
มายา สาเฐยยะ ถัมภะ สารัมภะ มานะ อติมานะ มทะ ปมาทะ จิต เป็นธรรมชาติขุ่นมัว
ยุ่งไป เป็นไป สืบต่อไป หวั่นไหว หนุนไป ไม่สงบ เพราะกิเลสทั้งปวง ทุจริตทั้งปวง
ความกระวนกระวายทั้งปวง ความเร่าร้อนทั้งปวง ความเดือดร้อนทั้งปวง อกุสลาภิสังขารทั้งปวง.
คำว่า พึงเป็นผู้มีใจไม่ขุ่นมัว ความว่า พึงเป็นผู้ไม่ขุ่นมัว คือ ไม่ยุ่งไป ไม่เป็นไป
ไม่สืบต่อไป ไม่หวั่นไหว ไม่หนุนไป สงบแล้วด้วยจิต คือ พึงละ สละ บรรเทา กระทำให้มี
ในที่สุด ให้ถึงความไม่มีซึ่งกิเลสทั้งหลายอันทำความขุ่นมัว พึงเป็นผู้งด เว้น เว้นขาด ออกไป
สลัด สงบ ระงับ หลุดพ้น ไม่เกี่ยวข้องกับกิเลสทั้งหลายอันทำความขุ่นมัว พึงเป็นผู้มีใจปราศจาก
เขตแดนอยู่ เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า พึงเป็นผู้มีใจไม่ขุ่นมัวอยู่.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... =170&Z=643


ท่านช่วยสรุป ให้ลงปฏิบัติ ให้หน่อยนะครับ ขอบคุณครับ ลงในขันธ์5 และ ปฏิจจสมุปบาท ด้วยยิ่งดีครับ
:b8:

:b10:
อืม! อ่านปริยัติมาเยอะ จึงเห็นเป็นเช่นนี้ ต้องกลับไปอ่านทบทวนดูดีๆอีกหลายๆทีนะครับ จึงจะเข้าใจคำตอบแบบลูกทุ่งนะครับ ไปศึกษาเรื่องอุปมาอุปมัยด้วยครับ
:b8:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 39 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2, 3  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร