วันเวลาปัจจุบัน 21 ก.ค. 2025, 05:11  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 22 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ม.ค. 2012, 01:11 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ธ.ค. 2011, 21:40
โพสต์: 952


 ข้อมูลส่วนตัว


หัวข้อนี้ หรือบทความนี้ ไม่ใช่เพื่ออวดรู้ หรืออวดฉลาดใดๆ แต่เกิดจากการปฎิบัติ และเรียนรู้จากเทศนาของอ.ต่างๆและในการสนทนากับท่านทั้งหลาย จนได้ผลนี้มา จึงอย่างขอคำแนะนำจากท่านกัลยาณมิตรด้วย ครับ ผมยังโง่เขลานัก ขอบคุณครับ
วันนี้เดินจงกรมเสร็จแล้วนั่งสมาธิต่อ จนได้แผนปฎิบัติของตัวเอง ตาม แผนภาพที่เกิดขึ้นครั้งแรก คือ
***อนึ่ง จากรูปภาพ ขันธ์5 นั้น แสดง แค่รูป เท่านั้น เพราะ เป็นสิ่งที่เห็นและเข้าใจได้ง่าย เพราะทั่วไปเข้าใจว่า เรามีแค่จิต กับ กาย เท่านั้น
1.ต้องรักษา ศิล 5 ให้บริสุทธิ์ ซึ่งอยู่ใน มรรคมี องค์8 ด้วย ประกอบด้วย
1.ไม่ฆ่าสัตว์ -> ให้ชีวิตสัตว์ ปล่อยสัตว์
2.อาชีพชอบ คือ ไม่ลักขโมย ไม่ฉ้อโกง -> บริจาคทาน
3.ไม่ประพฤติในกาม ทั้งกาย วาจา ใจ เพื่อความบริสุทธิ์ -> ประพฤติพรหมจรรย์
4.วจีสุจริต 4 ประกอบด้วย 1.ไม่พูดเท็จ 2.ไม่พูดส่อเสียด 3.ไม่พูดหยาบ 4.ไม่พูดเพ้อเจ้อ -> พูดความจริง พูดจาสุภาพ
5.ไม่เสพของมึนเมา ซึ่งเป็นต้นเหตุนำมาซึ่ง ความหมดไปของศีลทั้ง 4 ข้อแรกนั้น
2.สติ ให้ตั้งอยู่ บน สติปัฏฐาน 4 ประกอบด้วย 1.การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย 2. การตั้งสติกำหนดพิจาณาเวทนา 3.การตั้งสติกำหนดพิจารณาจิต 4.การตั้งสติพิจารณาธรรม ซึ่งจะเห็นว่า สติปัฏฐาน ที่1-3 นั้น อยู่ในขันธ์5 คือรูปนาม ส่วน สติปัฏฐานที่ 4 นั้น คือธรรม ที่พระพุทธเจ้า ทรงสอนไว้สำหรับดับทุกข์ ที่จิตต้องนำมาพิจารณา.ในสมาธิด้วยปัญญา
3.สมาธิ ฝึกฝน จนไม่มีความคิดใดๆเกิดขึ้น หรือว่างเปล่า แล้ว จากนั้น สติปัฏฐานที่1-4 จึงบังเกิด
4.ปัญญา ใช้ในสติปัฏฐาน จนจบรอบธรรมนั้น ก็จะส่งผลให้จิตนั้น มีความเห็นชอบ หรือเข้าใจในบทธรรมนั้นๆ ซึ่งส่งผลให้จิต มีความคิดชอบและปฏิบัติชอบตามมา
5.การวนรอบการปฎิบัติ จาก สติ สมาธิ ปัญญา ต้องตั้งอยู่บนความเพียรอยู่เสมอ คือต้องเพียร ให้ขั้นตอนที่ 2 3 และ4 นั้นเกิดอยู่เสมอ
6.ฝึกฝนจนสามารถ กำหนดปริมาณ และความเร็ว ของความรู้สึกเมื่อ เกิด ผัสสะ ขึ้น จากอุเบกขา ไปสุข และ อุเบกขา ไป ทุกข์ จนกระทั้งเหลือแต่อุเบกขารมณ์ อย่างเดียว ที่เห็นเด่นชัด (เกิดการปล่อยวาง หรือไม่ยึดมั่นถือมั่น ต่อสิ่งใด แล้ว)
7.ส่วนเรื่อง จิตไม่ใช้เรา และ เรื่องนิพพาน นั้น ยังไปไม่ถึง ยังไม่เข้าใจ จนกว่าจะพบเอง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ม.ค. 2012, 23:34 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ม.ค. 2012, 16:35
โพสต์: 110


 ข้อมูลส่วนตัว


ลองดูบ้างน่ะ

ศีลสมาธิได้สติ----->สติได้ธรรม----->ทำธรรมให้ถึงอุเบกขา(อุเบกขาเป็นอารมณ์ของจิต)----

---->จิตที่วางขันธ์5แล้ว------->ไปนิพพาน

ส่วน สุข ทุกข์ ผัสสะ สังขาร ทั้ง 4 อยู่ในขันธ์5 เมื่อรู้ชัดแล้ววาง...

สุข ทุกข์ ผัสสะ สังขาร เป็นนามทั้ง4 อยู่ในขันธ์5 มีร่างกายเป็นรูป....เมื่อร่างกายหรือรูปสลาย สุข ทุกข์ ผัสสะและสังขาร ก็สลายไปตามรูป

ทำแผนผังไม่เป็นน่ะ s005 เลยทำแบบนี้แทน s005 s005


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ม.ค. 2012, 23:40 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ม.ค. 2012, 16:35
โพสต์: 110


 ข้อมูลส่วนตัว


ฝึกจิต เขียน:
หัวข้อนี้ หรือบทความนี้ ไม่ใช่เพื่ออวดรู้ หรืออวดฉลาดใดๆ แต่เกิดจากการปฎิบัติ และเรียนรู้จากเทศนาของอ.ต่างๆและในการสนทนากับท่านทั้งหลาย จนได้ผลนี้มา จึงอย่างขอคำแนะนำจากท่านกัลยาณมิตรด้วย ครับ ผมยังโง่เขลานัก ขอบคุณครับ
วันนี้เดินจงกรมเสร็จแล้วนั่งสมาธิต่อ จนได้แผนปฎิบัติของตัวเอง ตาม แผนภาพที่เกิดขึ้นครั้งแรก คือ
***อนึ่ง จากรูปภาพ ขันธ์5 นั้น แสดง แค่รูป เท่านั้น เพราะ เป็นสิ่งที่เห็นและเข้าใจได้ง่าย เพราะทั่วไปเข้าใจว่า เรามีแค่จิต กับ กาย เท่านั้น
1.ต้องรักษา ศิล 5 ให้บริสุทธิ์ ซึ่งอยู่ใน มรรคมี องค์8 ด้วย ประกอบด้วย
1.ไม่ฆ่าสัตว์ -> ให้ชีวิตสัตว์ ปล่อยสัตว์
2.อาชีพชอบ คือ ไม่ลักขโมย ไม่ฉ้อโกง -> บริจาคทาน
3.ไม่ประพฤติในกาม ทั้งกาย วาจา ใจ เพื่อความบริสุทธิ์ -> ประพฤติพรหมจรรย์
4.วจีสุจริต 4 ประกอบด้วย 1.ไม่พูดเท็จ 2.ไม่พูดส่อเสียด 3.ไม่พูดหยาบ 4.ไม่พูดเพ้อเจ้อ -> พูดความจริง พูดจาสุภาพ
5.ไม่เสพของมึนเมา ซึ่งเป็นต้นเหตุนำมาซึ่ง ความหมดไปของศีลทั้ง 4 ข้อแรกนั้น
2.สติ ให้ตั้งอยู่ บน สติปัฏฐาน 4 ประกอบด้วย 1.การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย 2. การตั้งสติกำหนดพิจาณาเวทนา 3.การตั้งสติกำหนดพิจารณาจิต 4.การตั้งสติพิจารณาธรรม ซึ่งจะเห็นว่า สติปัฏฐาน ที่1-3 นั้น อยู่ในขันธ์5 คือรูปนาม ส่วน สติปัฏฐานที่ 4 นั้น คือธรรม ที่พระพุทธเจ้า ทรงสอนไว้สำหรับดับทุกข์ ที่จิตต้องนำมาพิจารณา.ในสมาธิด้วยปัญญา
3.สมาธิ ฝึกฝน จนไม่มีความคิดใดๆเกิดขึ้น หรือว่างเปล่า แล้ว จากนั้น สติปัฏฐานที่1-4 จึงบังเกิด
4.ปัญญา ใช้ในสติปัฏฐาน จนจบรอบธรรมนั้น ก็จะส่งผลให้จิตนั้น มีความเห็นชอบ หรือเข้าใจในบทธรรมนั้นๆ ซึ่งส่งผลให้จิต มีความคิดชอบและปฏิบัติชอบตามมา
5.การวนรอบการปฎิบัติ จาก สติ สมาธิ ปัญญา ต้องตั้งอยู่บนความเพียรอยู่เสมอ คือต้องเพียร ให้ขั้นตอนที่ 2 3 และ4 นั้นเกิดอยู่เสมอ
6.ฝึกฝนจนสามารถ กำหนดปริมาณ และความเร็ว ของความรู้สึกเมื่อ เกิด ผัสสะ ขึ้น จากอุเบกขา ไปสุข และ อุเบกขา ไป ทุกข์ จนกระทั้งเหลือแต่อุเบกขารมณ์ อย่างเดียว ที่เห็นเด่นชัด (เกิดการปล่อยวาง หรือไม่ยึดมั่นถือมั่น ต่อสิ่งใด แล้ว)
7.ส่วนเรื่อง จิตไม่ใช้เรา และ เรื่องนิพพาน นั้น ยังไปไม่ถึง ยังไม่เข้าใจ จนกว่าจะพบเอง


:b8: :b8: :b8: โมทนาในความเพียรและการปฎิบัติของคุณด้วยน่ะ

แต่ยาวมากๆเลยอ่ะ เราทำไม่ได้และเพียรไม่ได้อย่างนั้นหรอก เราแค่คือศีล5และกรรมบท 10..ความเพียรเราใช้การทำสมาธิอย่างเดียว ..ที่เหลือมันมาเอง..เราทำแบบนี้..แบบนี้ยากมากเลย เราทำไม่ได้..เราทำอีก10 ปี คงไม่ได้เท่านี้แน่เลย cry cry ...โมทนาอีกครั้งด้วยน่ะ ขอเกาะบุญไปด้วยคนน้าา... Kiss Kiss


แก้ไขล่าสุดโดย ชาวโลก เมื่อ 29 ม.ค. 2012, 00:02, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ม.ค. 2012, 23:41 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ธ.ค. 2011, 21:40
โพสต์: 952


 ข้อมูลส่วนตัว


ชาวโลก เขียน:
ลองดูบ้างน่ะ

ศีลสมาธิได้สติ----->สติได้ธรรม----->ทำธรรมให้ถึงอุเบกขา(อุเบกขาเป็นอารมณ์ของจิต)----

---->จิตที่วางขันธ์5แล้ว------->ไปนิพพาน

ส่วน สุข ทุกข์ ผัสสะ สังขาร ทั้ง 4 อยู่ในขันธ์5 เมื่อรู้ชัดแล้ววาง...

สุข ทุกข์ ผัสสะ สังขาร เป็นนามทั้ง4 อยู่ในขันธ์5 มีร่างกายเป็นรูป....เมื่อร่างกายหรือรูปสลาย สุข ทุกข์ ผัสสะและสังขาร ก็สลายไปตามรูป

ทำแผนผังไม่เป็นน่ะ s005 เลยทำแบบนี้แทน s005 s005


มันเป็นขั้นตอนปฎิบัติ ตามที่ผมรู้ผมเห็น ตามที่ผมอธิบายด้านบนนะครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ม.ค. 2012, 23:51 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ม.ค. 2012, 16:35
โพสต์: 110


 ข้อมูลส่วนตัว


ฝึกจิต เขียน:
ชาวโลก เขียน:
ลองดูบ้างน่ะ

ศีลสมาธิได้สติ----->สติได้ธรรม----->ทำธรรมให้ถึงอุเบกขา(อุเบกขาเป็นอารมณ์ของจิต)----

---->จิตที่วางขันธ์5แล้ว------->ไปนิพพาน

ส่วน สุข ทุกข์ ผัสสะ สังขาร ทั้ง 4 อยู่ในขันธ์5 เมื่อรู้ชัดแล้ววาง...

สุข ทุกข์ ผัสสะ สังขาร เป็นนามทั้ง4 อยู่ในขันธ์5 มีร่างกายเป็นรูป....เมื่อร่างกายหรือรูปสลาย สุข ทุกข์ ผัสสะและสังขาร ก็สลายไปตามรูป

ทำแผนผังไม่เป็นน่ะ s005 เลยทำแบบนี้แทน s005 s005


มันเป็นขั้นตอนปฎิบัติ ตามที่ผมรู้ผมเห็น ตามที่ผมอธิบายด้านบนนะครับ


ขอโทษน่ะ เราเป็นพวกแพ้ตัวหนังสือ ยาวๆน่ะ เลยไม่ค่อยได้ตาม พอตามแล้วละเอียดสุดๆเลย เราเข้าใจเลยว่า การเดินทางธรรมเป็นเส้นทางเฉพาะตน เขาไม่เดินแบบเรา ไม่ได้หมายความว่าเขาผิด เช่นกัน เราไม่ได้เดินแบบเขา ไม่ได้หมายความว่าเราผิด..เพราะเราต่างดูที่ผลต่างหาก..เส้นทางเดินอย่างไร เดินแบบไหน ก็วัดกันที่ผล ..เราเข้าใจคำนี้มากเลย..ดูอย่างของคุณทำละเอียดละออยิบ แต่เราไม่ได้จับแบบคุณ เราจับที่ ความสกปรกของร่างกายเลย ดูกายเห็นเอ็น ข้อต่อ ข้อยึดต่างๆเลย เห็นมันทุกเวลาเวลาเราเดิน เราเห็นมันยึดมันหดเลย..เราไม่ได้ดูแบบคุณ มันเลยเข้าใจไงว่า ทางเดินเป็นเส้นทางเฉพาะตน ไม่มีใครเดินเหมือนใคร และไม่มีใครเดินทับเส้นทางเราได้..เราต่างคนต่างเดินเพื่อไปสอบไล่ตอนตายกันทุกคน...สาูธุๆในความเพียรของทุกๆท่านในที่นี้..โมทนากับบุญที่บังเกิด ณ.ที่นี้ด้วยน่ะ :b8: :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ม.ค. 2012, 23:58 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ธ.ค. 2011, 21:40
โพสต์: 952


 ข้อมูลส่วนตัว


ชาวโลก เขียน:
ฝึกจิต เขียน:
ชาวโลก เขียน:
ลองดูบ้างน่ะ

ศีลสมาธิได้สติ----->สติได้ธรรม----->ทำธรรมให้ถึงอุเบกขา(อุเบกขาเป็นอารมณ์ของจิต)----

---->จิตที่วางขันธ์5แล้ว------->ไปนิพพาน

ส่วน สุข ทุกข์ ผัสสะ สังขาร ทั้ง 4 อยู่ในขันธ์5 เมื่อรู้ชัดแล้ววาง...

สุข ทุกข์ ผัสสะ สังขาร เป็นนามทั้ง4 อยู่ในขันธ์5 มีร่างกายเป็นรูป....เมื่อร่างกายหรือรูปสลาย สุข ทุกข์ ผัสสะและสังขาร ก็สลายไปตามรูป

ทำแผนผังไม่เป็นน่ะ s005 เลยทำแบบนี้แทน s005 s005


มันเป็นขั้นตอนปฎิบัติ ตามที่ผมรู้ผมเห็น ตามที่ผมอธิบายด้านบนนะครับ


ขอโทษน่ะ เราเป็นพวกแพ้ตัวหนังสือ ยาวๆน่ะ เลยไม่ค่อยได้ตาม พอตามแล้วละเอียดสุดๆเลย เราเข้าใจเลยว่า การเดินทางธรรมเป็นเส้นทางเฉพาะตน เขาไม่เดินแบบเรา ไม่ได้หมายความว่าเขาผิด เช่นกัน เราไม่ได้เดินแบบเขา ไม่ได้หมายความว่าเราผิด..เพราะเราต่างดูที่ผลต่างหาก..เส้นทางเดินอย่างไร เดินแบบไหน ก็วัดกันที่ผล ..เราเข้าใจคำนี้มากเลย..ดูอย่างของคุณทำละเอียดละออยิบ แต่เราไม่ได้จับแบบคุณ เราจับที่ ความสกปรกของร่างกายเลย ดูกายเห็นเอ็น ข้อต่อ ข้อยึดต่างๆเลย เห็นมันทุกเวลาเวลาเราเดิน เราเห็นมันยึดมันหดเลย..เราไม่ได้ดูแบบคุณ มันเลยเข้าใจไงว่า ทางเดินเป็นเส้นทางเฉพาะตน ไม่มีใครเดินเหมือนใคร และไม่มีใครเดินทับเส้นทางเราได้..เราต่างคนต่างเดินเพื่อไปสอบไล่ตอนตายกันทุกคน...สาูธุๆในความเพียรของทุกๆท่านในที่นี้..โมทนากับบุญที่บังเกิด ณ.ที่นี้ด้วยน่ะ :b8: :b8: :b8:

:b8: :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ก.พ. 2012, 22:59 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 28 ธ.ค. 2011, 16:32
โพสต์: 324


 ข้อมูลส่วนตัว


ฝึกจิต เขียน:
ลูกพระป่า เขียน:
สวัสดีครับพี่ฝึกจิต :b8:
คำแนะนำของผมคือ อย่าส่งจิตออกนอก ให้รู้อยู่เฉพาะภายในคือกายและใจตน เพราะเมื่อไหร่จิตส่ายออกไปข้างนอกย่อมเกิดผัสสะ เกิดสังขาร เกิดอุปทาน เกิดเวทนา เกิดตัณหาฯลฯ เพราะฉะนั้นจึงแนะนำว่า อย่าส่งจิตออกนอก ให้รู้อยู่เฉพาะภายในคือกายและใจตนเองครับ
ขอบคุณครับ :b8:



ผัสสะ เกิดขึ้น ตลอดเวลา ใช้มั้ยครับ ลมพัด มาโดนกาย ร้อน เย็น ก็เกิดผัสสะ อยู่เฉย ใจยังสามารถเกิดผัสสะได้ การไม่ให้เกิดผัสสะได้นั้นย่อมไม่ได้
จึงต้องใช้ธรรม มาเติมในผัสสะนั้น เพื่อให้ได้ วิชชาผัสสะ
คำว่า อย่าส่งจิตออกนอกนั้น เป็นคำสอนใหญ่เรื่องหนึ้งของ หลวงปูดุลย์ เป็นรูปแบบการมี จิตผู้รู้ และจิตมีกิเลส เช่น เมื่อไหร จิตมีกิเลสเกิดผัสสะ แล้วนำมาปรุงแต่ง ก็ให้รู้ทัน ด้วยจิตผู้รู้ แล้วอย่าหลงไปคิดต่ออีก ก็เหมือนกับ วิชชาผัสสะนั้นเอง จนเกิดอีกคำที่ว่า จิตเห็นจิต คือ เห็นจิตที่เป็นทุกข์ คือสมุทัยอันเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ จึงควรเพียรที่จะ รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง(อุเบกขาจิต) เพราะเห็นแล้วว่าเป็นสภาพที่พ้นจากทุกข์ ผลอันเกิดจากจิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง เป็นนิโรธ
สรุปสุดท้าย จะเห็นว่าจิตเองก็ไม่เที่ยง จิตก็ทุกข์ จิตก็อนัตตา
ท่านลอง มองว่า มีมิเตอร์ สุข------อุเบกขา------ทุกข์ อยู่ข้างหน้าไว้เสมอ เมื่อไหร่ เราสุข จะมีเส้นแดงๆวิ่งมาที่สุข แสดง สุขเร็ว สุขนาน แล้ววิ่งเข้าอุเบกขา (เส้นแดงหาย)ทุกครั้ง ทุกข์ก็เช่นกัน ก็อยู่กับจิตผู้รู้นั้น ท่านจะเห็นว่า สุขทุกข์ เราบังคับได้ เมื่อเกิดผู้รู้ขึ้น แต่อย่าลืม อุเบกขารมณ์เท่านั้นที่จะทำให้พ้นทุกข์ได้(ก็ต้องพ้นสุขแบบโลกๆด้วย)
ใช่มั้ยใช่อย่างไรลองศึกษากันดูนะครับ แล้วสนทนาหาหนทางกันใหม่ ขอบคุณครับ

สวัสดีครับพี่ฝึกจิต :b8:
**ขอโทษครับที่ตอบช้าไปหน่อย ช่วงนี้งานเยอะขึ้นครับ ตามที่พี่กล่าวมานั้นผมเข้าใจและเห็นเป็นเช่นนั้นอยู่ด้วยเหมือนกัน แต่(ทำไมต้องมีแต่ด้วยเนี่ย^_^")เพราะเห็นแบบนั้นจึงรู้ว่าการที่ส่งจิตออกนอกนั้นมันย่อมเกิดเวทนาเป็นธรรมดา มากบ้างน้อยบ้างสลับกันไป และผมเองนั้นเห็นความสุขในความไม่มีทุกข์ ปรารถนาความสุขในความไม่มีทุกข์ ไม่ใช่ความสุขในเวทนา จึงพิจารณาลงไปตามธรรมที่พ่อแม่ครูอาจารย์ท่านได้แสดงไว้ เกี่ยวกับการกำหนดรู้อยู่ภายในไม่ส่งจิตออกนอก ก็เห็นจริงอย่างที่ท่านแสดงไว้ว่า จิตส่งออกนอกเมื่อไหร่ย่อมเกิดผัสสะคือการกระทบกันของอายตนะภายในกับอายตนะภายนอก ตามมาด้วยเกิดวิญญาณ นามรูป...และต่อมาเรื่อยๆจนเกิดเวทนา...ไปจนถึงเกิดเป็นอุปทานขึ้นมา ซึ่งถ้าเรามีสติรู้ตัวตอนไหนแน่นอนว่าเราย่อมดับมันได้ตอนนั้น ดังนั้นย่อมเป็นการดีกว่าที่เราไม่ส่งจิตออกนอกไปให้เกิดผัสสะ ทำเช่นนี้แล้วทุกข์ที่ยังไม่เกิดย่อมไม่เกิดขึ้น ทุกข์ที่เกิดขึ้นแล้วย่อมละได้ แล้วความสุขสงบมันก็เกิดขึ้นสวนกระแสของทุกข์นั่นเองครับ
ขอบคุณครับ :b8:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 22 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร