วันเวลาปัจจุบัน 19 ก.ค. 2025, 04:14  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 131 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 5, 6, 7, 8, 9  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 พ.ย. 2011, 18:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 15 ก.ย. 2010, 21:59
โพสต์: 234

สิ่งที่ชื่นชอบ: ในตัวเอง
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


สวัสดีครับท่านหลับอยู่ เมื่อมีกาารตอบเกิดขึ้นแล้ว
ผมก็ขอร่วมอนุโมทนาสาธุครับ

s004


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 พ.ย. 2011, 19:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 9
สมาชิก ระดับ 9
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ก.พ. 2008, 10:00
โพสต์: 724

แนวปฏิบัติ: พอง-ยุบ
งานอดิเรก: ปฏิบัติวิปัสสนา
อายุ: 0
ที่อยู่: เกษตร-นวมินทร์ กรุงเทพฯ

 ข้อมูลส่วนตัว


หลับอยุ่ เขียน:
แสดงว่าพระองค์ไม่เจริญฌานใช่ไหมครับเพราะคุณกาม
บอกว่าไม่ใช่การหยุด

บาลีใหญ่กับบาลีเล็ก(สมัยนี้คนละความละเอียดกันครับ)มักง่ายครับไปตัดออกละออกไป


คุณหลับฯ

พระอุทานนี้ และการตีความพระอุทานนี้ ถ้าจะกล่าวถึงการปฏิบัติ จะมีส่วนที่กล่าววิธีไว้ 2 อย่าง คือ

๑.อาตาปิโน และ

๒.ฌายิโต

ได้แก่ เพียร และ เพ่ง

๒ คำนี้ ขยายคำว่าพรามณ์ หมายถึง พรามณ์มีความเพียรและเพ่ง ตรงนี้ครับที่บอกว่าฌาน

ส่วน ติฏฐติ เป็นกิริยาของพรามณ์ที่มีความเพียรและเพ่งแล้ว ซึ่งหมายถึง มีชีวิตดำรงอยู่โดยปราศ
จากอาสวะ

บาลีใหญ่หรือน้อย ถ้ามักง่าย ก็ทำเสียหายได้เท่ากัน ข้อแตกต่างของบาลี ๒ ประเภท แค่ เริ่มต้นมาคน
ละแบบ บาลีใหญ่มาจากส่วนต้นสุด บาลีปัจจุบันมาเรียนถัดจากส่วนต้น

สนใจบาลีใหญไหมครับ จะแนะนำที่ศึกษาให้

.....................................................
เอกายโน อยํ ภิกฺขเว มคฺโค สตฺตานํ วิสุทฺธิยา โสกปริเทวานํ สมติกฺกมาย
ทุกฺขโทมนสฺสานํ อตฺถงฺคมาย ญายสฺส อธิคมาย นิพฺพานสฺส สจฺฉิกิริยาย ยทิทํ
จตฺตาโร สติปฏฺฺฐานา ฯ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 พ.ย. 2011, 19:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 9
สมาชิก ระดับ 9
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ก.พ. 2008, 10:00
โพสต์: 724

แนวปฏิบัติ: พอง-ยุบ
งานอดิเรก: ปฏิบัติวิปัสสนา
อายุ: 0
ที่อยู่: เกษตร-นวมินทร์ กรุงเทพฯ

 ข้อมูลส่วนตัว


หลับอยุ่ เขียน:
และนั้นเป็นความคิดผิดของคุณกามนะครับ ที่กล่าวตู่พระองค์ว่าไม่ได้ไตรตรองในการปฏิบัติ

ปฏิจสมุทบาปาทธรรมไงครับที่พระองค์ อนุโลมปฏิโลม


คงต้องให้ดูอีกครั้ง

กามโภคี เขียน:
๓.ทรงอุทานหลังจากทรงไตร่ตรองถึงต้นสายปลายเหตุแห่งปฏิจจสมุปปบาท ซึ่งถ้าพิจารณาจากเรื่อง
และเนื้อหาสาระ ไม่ได้ทรงไตร่ตรองถึงวิธีการปฏิบัติซักนิดเลย

๔.ในพระอุทานนั้น แปลไทยดังนี้

เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลาย ปรากฎ แก่พรามณ์ ผู้มีความเพียร
เพ่งอยู่ เมื่อนั้น พรามณ์นั้น ย่อมกำจัดมารและเสนาแล้วดำรงอยู่
ดุจอาทิตย์ทำแสงสว่างในอากาศ ฉะนั้น ฯ.

แรกก่อนจะทรงเปล่งพระอุทานนี้ ทรงไตร่ตรองถึงสายของปฏิจจสมุปปบาท ฉะนั้น คำว่าธรรมทั้งหลาย
ในพระคาถานี้ น่าจะหมายถึงสายของปฏิจจสมุปปบาท ไม่ได้หมายถึง นิมิต หรือโอภาส หรือสภาวะ
ที่เกิดในระหว่างปฏิบัติเลย



ในมหาวรรคใช้คำว่า ทรงมนสิการปฏิจจสมุปปบาท ซึ่งสุดวิสัยที่ผมจะตีความว่าพระองค์ไตร่ตรองวิธีการปฏิบัติหรือไม่
ขอบเขตทางภาษาและเรื่องราวมีแค่นี้ ผมต้องพูดหรือมีความเห็นแค่นี้ จะไปเก่งกว่าพระองค์ท่านก็ไม่สามารถ

คำว่าทรงไตร่ตรองปฏิจจสมุปปบาท ใครจะตีความว่าพระองค์ไตร่ตรองวิธีปฏิบัติ อันนี้ก็สุดแท้แต่ผู้ตีความ ส่วนผม ขอตีความเท่าที่ปรากฎทางคัมภีร์ภาษาครับ

.....................................................
เอกายโน อยํ ภิกฺขเว มคฺโค สตฺตานํ วิสุทฺธิยา โสกปริเทวานํ สมติกฺกมาย
ทุกฺขโทมนสฺสานํ อตฺถงฺคมาย ญายสฺส อธิคมาย นิพฺพานสฺส สจฺฉิกิริยาย ยทิทํ
จตฺตาโร สติปฏฺฺฐานา ฯ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 พ.ย. 2011, 19:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 9
สมาชิก ระดับ 9
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ก.พ. 2008, 10:00
โพสต์: 724

แนวปฏิบัติ: พอง-ยุบ
งานอดิเรก: ปฏิบัติวิปัสสนา
อายุ: 0
ที่อยู่: เกษตร-นวมินทร์ กรุงเทพฯ

 ข้อมูลส่วนตัว


หลับอยุ่ เขียน:
อาตาปิโน ฌายโต พฺราหฺมณสฺส

โทษทีแต่นี่พรามหณ์ผู้มีเพียรเพ่งอยู่ครับ
ทรงอุทานมียืนยันทั้ง3คาถา


ใช่ครับ ตรงนี้บอกวิธีีปฏิบัติของพรามณ์

แต่ประเด็นที่เราสนทนากัน ตรงคำว่า ติฏฐติ ไม่ใช่หรือครับ

ปล. โพสสั้นๆ ช่วยรวมในโพสเดียวกันดีกว่าครับ ลดโลกร้อน

.....................................................
เอกายโน อยํ ภิกฺขเว มคฺโค สตฺตานํ วิสุทฺธิยา โสกปริเทวานํ สมติกฺกมาย
ทุกฺขโทมนสฺสานํ อตฺถงฺคมาย ญายสฺส อธิคมาย นิพฺพานสฺส สจฺฉิกิริยาย ยทิทํ
จตฺตาโร สติปฏฺฺฐานา ฯ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 พ.ย. 2011, 20:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 9
สมาชิก ระดับ 9
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ก.พ. 2008, 10:00
โพสต์: 724

แนวปฏิบัติ: พอง-ยุบ
งานอดิเรก: ปฏิบัติวิปัสสนา
อายุ: 0
ที่อยู่: เกษตร-นวมินทร์ กรุงเทพฯ

 ข้อมูลส่วนตัว


เพื่อความสมบูรณ์ของการสนทนา ขออธิบายเล็กน้อยสำหรับนักอ่านพระไตรปิฎก

รากศัพท์บางศัพท์ เมื่อประกอบตามหลักไวยากรณ์แล้ว แม้มีรากศัพท์อันเดียวกัน ความหมายจะต่างกัน

เช่น ฐา ธาตุ เป็นไปในความ ตั้ง หรือ ยืน หรือ ดำรง (เป็นต้น ในภาษาไทย ไวพจน์มากกว่านี้)

ถ้าเป็นกิริยาที่ดำรงอยู่ ดำเนินชีวิต หรือ ยืน มักจะใช้คำว่า ติฏฐติ ติฏฺฐนฺโต เป็นต้น

ส่วน ในกิริยาที่ หยุด หรือปักหลักมั่นไว้อย่างนั้น อยู่กับที่ อยู่กับสภาวะธรรมนั้น ในภาษาไทยเข้าใจคำนี้
หมายถึงหยุด

จะใช้ ฐา ธาตุเช่นเดียวกัน แต่ อุปสัคที่นำหน้ากิริยาเพื่อให้คำแปลหรือความหมายต่างกัน และแปลหรือมี
ความหมายที่ต่างกัน จะใช้ อว ศัพท์นำหน้า

คำว่า หยุด ในสภาวะฌาน ท่านใช้คำว่า อวฏฺฐิติ (การตั้งอยู่ลง = ปักหลัก , หยุดอยู่กับที่)

คำนี้ปรากฎในพระสูตร จูฬนิเทส ข้อ ๗๙๐ ผู้สนใจพึงตามตรวจดูได้ตามที่อ้างอิง

.....................................................
เอกายโน อยํ ภิกฺขเว มคฺโค สตฺตานํ วิสุทฺธิยา โสกปริเทวานํ สมติกฺกมาย
ทุกฺขโทมนสฺสานํ อตฺถงฺคมาย ญายสฺส อธิคมาย นิพฺพานสฺส สจฺฉิกิริยาย ยทิทํ
จตฺตาโร สติปฏฺฺฐานา ฯ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 พ.ย. 2011, 20:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


กามโภคี เขียน:
หลับอยุ่ เขียน:
คำอุทานสำคัญของพระพุทธองค์ โดนทำให้หายไป คือคำนี้ครับสำคัญมากติฏฺฐติ
ถ้าไม่มีหลวงพ่อวัดปากน้ำเราไม่รู้เลย
http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=7&t=29288&view=print


ก็มีปรากฎในพระไตรปิฎกนี่ครับ ไม่หายไปไหนเลย
บาลีหน่ะแปลไทยส่วนใหญ่ หาย
คำนี้น่าจะแปลว่า ตั้งอยู่ ดำรงอยู่ มากกว่าคำว่าหยุดอยู่
นั้นคุณกามน่าจะเดาเอาเองนะครับลองย้อนกลับไปดูพระสารีบุตรให้ความหมายครับ( ฐา ธาตุ ในความ ตั้ง , ดำรง , ยืน )

ในบาลีมีปรากฎแน่นอน คำแปลที่หายไปในภาษาไทยนั้น ท่านแปลแบบเอาความ และละคำนั้นเสีย
ซึ่งความหมายก็จะไม่ไกลกันมากนัก
อันนี้มักง่ายครับ

ประโยคนี้ วิธูปยํ ติฏฺฐติ มารเสนํ

น่าจะแปลว่า ย่อมกำจัดมารและเสนา(แห่งมาร)แล้วดำรงอยู่

หมายถึงบรรลุธรรมแล้ว มีชีวิตอยู่แบบกำจัดมารและเสนาได้ (กำจัดกิเลสได้)
หากแปลแบบนี้ตลกครับบทก้บอกแล้วว่าตรัสรู้แล้ว นมสิการอยู่พระองคืไม่มาอุทานอาลัยการมีชีวิตหรอกครับ
คงไม่ได้หมายความว่าให้หยุดสภาวะธรรมในขณะปฏิบัติเลย เพราะ

๑.ทรงบรรลุแล้ว ไม่ได้ปรินิพพานเลย ยังทรงพระชนม์อยู่ (สอดคล้องกับ ฐา ธาตุ ดำรง = มีชีวิต)
ตลกครับเหตุผลนี้
๒.ทรงอุทานหลังจากทรงบรรลุแล้ว ไม่ใช่ทรงอุทานในขณะที่พบกับสภาวะธรรมที่กำลังปฏิบัติอยู่
ตกลงยังไงกันแน่
๓.ทรงอุทานหลังจากทรงไตร่ตรองถึงต้นสายปลายเหตุแห่งปฏิจจสมุปปบาท ซึ่งถ้าพิจารณาจากเรื่อง
และเนื้อหาสาระ ไม่ได้ทรงไตร่ตรองถึงวิธีการปฏิบัติซักนิดเลย
ก้ใจหยุดอยู่แล้วไงครับ
๔.ในพระอุทานนั้น แปลไทยดังนี้

เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลาย ปรากฎ แก่พรามณ์ ผู้มีความเพียร
เพ่งอยู่ เมื่อนั้น พรามณ์นั้น ย่อมกำจัดมารและเสนาแล้วดำรงอยู่
ดุจอาทิตย์ทำแสงสว่างในอากาศ ฉะนั้น ฯ.

แรกก่อนจะทรงเปล่งพระอุทานนี้ ทรงไตร่ตรองถึงสายของปฏิจจสมุปปบาท ฉะนั้น คำว่าธรรมทั้งหลาย
ในพระคาถานี้ น่าจะหมายถึงสายของปฏิจจสมุปปบาท ไม่ได้หมายถึง นิมิต หรือโอภาส หรือสภาวะ
ที่เกิดในระหว่างปฏิบัติเลย
นั่นคุณกาม ตีความเอาเอง ธรรมทั้งหลายนั้นรวมเอาธรรมทั้งหมดครับพพุทธเจ้าตรัสรู้นะครับคำว่า ดุจอาทิตย์ทำแสงสว่างในอากาศ เป็นอุปมาเท่านั้น หาใช่เป็นเหตุการณ์จริงๆของเป้าหมายสูงสุด
ของการปฏิบัติ ฉะนั้น จะลำเอาคำนี้มาเป็นธงของปารปฏิบัติไม่ได้

ได้ครับทำไมจะไม่ได้เพราะพระองค์บรรลุแล้ววิชชาสามได้แล้วครับ

ด้วยความเคารพในหลวงพ่อสดอย่างสูง

ปล.การแปลบาลีของผมในโพสนี้ สามารถนำไปตรวจสอบตามสำนักบาลีต่างๆได้

ถ้าสำนักปริพาชกไม่เอาสมถะไม่เอาฌานหน่ะได้ครับ


แก้ไขล่าสุดโดย หลับอยุ่ เมื่อ 14 พ.ย. 2011, 22:14, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 พ.ย. 2011, 20:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
โพธิกถา ปฏิจจสมุปบาทมนสิการ
[๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า แรกตรัสรู้ ประทับอยู่ ณ ควงไม้โพธิพฤกษ์
ใกล้ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ในอุรุเวลาประเทศ. ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งด้วยบัลลังก์เดียว
เสวยวิมุตติสุข ณ ควงไม้โพธิพฤกษ์ตลอด ๗ วัน และทรงมนสิการปฏิจจสมุปบาทเป็นอนุโลม
และปฏิโลม ตลอดปฐมยามแห่งราตรี ว่าดังนี้:


Quote Tipitaka:
พุทธอุทานคาถาที่ ๓
เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลาย ปรากฏแก่พราหมณ์
ผู้มีเพียรเพ่งอยู่ เมื่อนั้น พราหมณ์นั้น ย่อม
กำจัดมารและเสนาเสียได้ ดุจพระอาทิตย์อุทัย
ทำอากาศให้สว่าง ฉะนั้น.
โพธิกถา จบ
-----------------------------------------------------
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ บรรทัดที่ ๑ - ๑๑๕. หน้าที่ ๑ - ๕.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka1/v ... agebreak=0


สำนักนี้เปล่าครับจะดำรงอยู่ในความหมายแบบที่มีชีวิตของคุณกามก้ไม่มี???แปลไทยรวบตัดคำออก สุดยอด :b6:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 พ.ย. 2011, 21:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


ขอบใจนะ แต่หากโรงเรียนบาลีใหญ่แปลประโยคนี้(อุทานนี้) หมายถึงการมีชีวิตอยู่ แบบที่คุณกามแปลผมไม่เอาครับ
Quote Tipitaka:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔
มหาวรรค ภาค ๑



อชปาลนิโครธกถา
เรื่องพราหมณ์หุหุกชาติ
[๔] ครั้นล่วง ๗ วัน พระผู้มีพระภาคทรงออกจากสมาธินั้น เสด็จจากควงไม้
โพธิพฤกษ์ เข้าไปยังต้นไม้อชปาลนิโครธ แล้วประทับนั่งด้วยบัลลังก์เดียว เสวยวิมุตติสุข ณ
ควงไม้อชปาลนิโครธตลอด ๗ วัน.


ชัดเจนครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ย. 2011, 11:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 9
สมาชิก ระดับ 9
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ก.พ. 2008, 10:00
โพสต์: 724

แนวปฏิบัติ: พอง-ยุบ
งานอดิเรก: ปฏิบัติวิปัสสนา
อายุ: 0
ที่อยู่: เกษตร-นวมินทร์ กรุงเทพฯ

 ข้อมูลส่วนตัว


คุณหลับฯ (ท่าจะมัวหลับจริงๆ)

ประเด็น คือ การแปลคำว่า ติฏฐติ

และประเด็นไม่มีบอกว่า จะต้องปฏิบัติฌานหรือไม่

โปรดอยู่ในประเด็น อย่าออกทะเล และ อย่าชักประเด็นอื่นเข้ามา

ที่คุณมาตอบ

ถ้าสำนักปริพาชกไม่เอาสมถะไม่เอาฌานหน่ะได้ครับ

ยังไม่เห็นเกี่ยวกับที่แปลคำว่า ติฎฐติ ตรงไหนเลย

และ

สำนักนี้เปล่าครับจะดำรงอยู่ในความหมายแบบที่มีชีวิตของคุณกามก้ไม่มี???แปลไทยรวบตัดคำออก สุดยอด

นี่ก็ไม่เกี่ยว และ

พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔
มหาวรรค ภาค ๑

อชปาลนิโครธกถา
เรื่องพราหมณ์หุหุกชาติ
[๔] ครั้นล่วง ๗ วัน พระผู้มีพระภาคทรงออกจากสมาธินั้น เสด็จจากควงไม้
โพธิพฤกษ์ เข้าไปยังต้นไม้อชปาลนิโครธ แล้วประทับนั่งด้วยบัลลังก์เดียว เสวยวิมุตติสุข ณ
ควงไม้อชปาลนิโครธตลอด ๗ วัน.

คำว่าทรงออกจากสมาธินั้น ก็บอกไม่ได้ว่าทรงพูดเรื่องวิธีปฏิบัติ เพราะหลายๆครั้ง เมื่อทรงออกจาก
สมาธิ ก็ไม่ได้จะตรัสถึงวิธีปฏิบัติเสมอไป โปรดศึกษาตามพระสูตรเถอะครับ

ผมอ้างทั้งหลักภาษา (ซึ่งจะเป็นตัวบังคับการแปล)
ผมอ้างทั้งสถานะการณ์ในพระสูตร

ไม่ได้อ้างเพราะนับถือพระอาจารย์ที่ไหน หรือรูปใดรูปหนึ่ง

อย่าชักออกไปถึงเอาสมาธิเอาฌานไหม เนื้อเรื่องไม่ได้ไปขนาดนั้น อย่าออกทะเลเลยครับ

.....................................................
เอกายโน อยํ ภิกฺขเว มคฺโค สตฺตานํ วิสุทฺธิยา โสกปริเทวานํ สมติกฺกมาย
ทุกฺขโทมนสฺสานํ อตฺถงฺคมาย ญายสฺส อธิคมาย นิพฺพานสฺส สจฺฉิกิริยาย ยทิทํ
จตฺตาโร สติปฏฺฺฐานา ฯ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ย. 2011, 11:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


ทรงสมาธิอยู่7วันเข้าใจเปล่า?
อย่าลงเหวสิ :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ย. 2011, 19:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
เมื่อเราไม่ประมาท มีความ
เพียร ส่งจิตไปอยู่ อวิชชาเรากำจัดเสียแล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว ความมืดเรากำจัดเสียแล้ว แสง
สว่างเกิดขึ้นแล้ว. แม้สุขเวทนาที่เกิดขึ้นแล้ว
เห็นปานนี้ ก็มิได้ครอบงำจิตเราตั้งอยู่ได้.
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ บรรทัดที่ ๗๘๓๗ - ๗๘๖๘. หน้าที่ ๓๒๑ - ๓๒๒.
http://www.84000.org/tipitaka/read/v.ph ... agebreak=0


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 131 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 5, 6, 7, 8, 9

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร