วันเวลาปัจจุบัน 22 ก.ค. 2025, 00:43  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 133 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 เม.ย. 2011, 06:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 มิ.ย. 2007, 21:13
โพสต์: 2631

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


เอาอย่างนี้

คุณเช่นนั้นยกพระสูตรที่แสดงว่า

เอกัคคตา ไม่น่าใช่ตัวสมาธิมาแสดงเลยครับ

ส่วนพระสูตรที่แสดงว่าเอกัคคตาจิตเป็นสมาธิผมแสดงไว้แล้วที่กระทู้นี้

เช่นนั้นคงอ่านผ่านไม่เห็น

ไม่เป็นไร

มีเยอะมากเดี๋ยวจะยกมาเป็นหลักฐานอีก

ดีครับจะได้มีเรื่องสนทนา

แล้วอย่างอนอีกหละตัวเอง

.....................................................
นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 เม.ย. 2011, 07:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เอกัคคตา แปลว่า อะไรครับ พอแยกศัพท์ได้ไหม ช่วยกันแยกสิครับ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 เม.ย. 2011, 08:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ก.พ. 2011, 19:56
โพสต์: 1798


 ข้อมูลส่วนตัว


จูฬเวทัลลสูตร
พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ เล่มที่ ๑๒


................................
วิ. ข้าแต่พระแม่เจ้า ก็ธรรมอย่างไร เป็นสมาธิ ธรรมเหล่าใด เป็นนิมิตของสมาธิ

ธรรมเหล่าใด เป็นเครื่องอุดหนุนสมาธิ การทำให้สมาธิเจริญ เป็นอย่างไร?

ธ. ดูกรวิสาขะผู้มีอายุ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นอย่างเดียว เป็นสมาธิ

สติปัฏฐาน ๔ เป็นนิมิตของสมาธิ

สัมมัปปธาน ๔ เป็นเครื่องอุดหนุนสมาธิ

ความเสพคุ้น ความเจริญ ความทำให้มากซึ่งธรรมเหล่านั้นแหละ เป็นการทำให้สมาธิเจริญ.
................................

เมื่อวิสาขาอุบาสกกราบทูลอย่างนี้แล้ว พระผู้มีพระภาค จึงตรัสว่า

ดูกรวิสาขะ ธรรมทินนาภิกษุณีเป็นบัณฑิต มีปัญญามาก แม้หากท่านพึงสอบถามเนื้อความนั้นกะเรา

แม้เราก็พึงพยากรณ์เนื้อความนั้น เหมือนที่ธรรมทินนาภิกษุณี พยากรณ์แล้ว

เนื้อความแห่งพยากรณ์นั้น เป็นดังนั้นนั่นแล ท่านพึงจำทรงไว้อย่างนั้นเถิด.

พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพจน์นี้แล้ว วิสาขอุบาสก ชื่นชม ยินดี พระภาษิตของ พระผู้มีพระภาคแล้ว ฉะนั้นแล.


http://nkgen.com/422.htm

สรุปแล้วจากพระสูตรนี้ ท่านว่า สมาธิคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอย่างเดียว มีสติปัฎฐานสี่เป็นนิมิต และสัมมัปปธานสี่เป็นเครื่องอุดหนุน

สัมมาสมาธิคือความที่จิตมีอารมณ์เดียวประกอบด้วยองค์มรรคทั้ง 7
มิจฉาสมาธิก็มีอันนี้คุณหลับอยู่เคยมาโพสแล้วเกี่ยวกับฌาณที่พระพุทธเจ้าไม่สรรเสริญ
ในกระทู้ เรื่องขณิก.........ไม่มีในพุทธวจนะ

ผมตอบแค่นี้แหละกลัวโดนลูกหลง smiley


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 เม.ย. 2011, 10:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 มิ.ย. 2007, 21:13
โพสต์: 2631

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓
ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค



[๙๒] ปัญญาในการสำรวมแล้วตั้งไว้ด้วยดี เป็นสมาธิภาวนามยญาณ
อย่างไร สมาธิอย่างหนึ่ง คือ เอกัคคตาจิต สมาธิ ๒ คือ โลกิยสมาธิ ๑
โลกุตรสมาธิ ๑ สมาธิ ๓ คือ สมาธิมีวิตกและวิจาร ๑ สมาธิไม่มีวิตกมีแต่
วิจาร ๑ สมาธิไม่มีวิตกไม่มีวิจาร ๑ สมาธิ ๔ คือ สมาธิมีส่วนเสื่อม ๑
สมาธิเป็นส่วนตั้งอยู่ ๑ สมาธิเป็นส่วนวิเศษ ๑ สมาธิเป็นส่วนชำแรกกิเลส ๑
สมาธิ ๕ คือ สมาธิมีปีติแผ่ไป ๑ สมาธิมีสุขแผ่ไป ๑ สมาธิมีจิตแผ่ไป ๑
สมาธิมีแสงสว่างแผ่ไป ๑ สมาธิมีการพิจารณาเป็นนิมิต ๑ สมาธิ ๖ คือ
สมาธิคือเอกัคคตาจิตมิได้ฟุ้งซ่านด้วยสามารถพุทธานุสสติ ๑ ธรรมานุสสติ ๑
สังฆานุสสติ ๑ สีลานุสสติ ๑ จาคานุสสติ ๑ เทวตานุสสติ ๑ สมาธิ ๗ คือ
ความเป็นผู้ฉลาดในสมาธิ ๑ ความเป็นผู้ฉลาดในการเข้าสมาธิ ๑ ความเป็นผู้
ฉลาดในการตั้งสมาธิ ๑ ความเป็นผู้ฉลาดในการออกจากสมาธิ ๑ ความเป็นผู้
ฉลาดในความงามแห่งสมาธิ ๑ ความเป็นผู้ฉลาดในโคจรแห่งสมาธิ ๑ ความ
เป็นผู้ฉลาดในการน้อมไปแห่งสมาธิ ๑ สมาธิ ๘ คือ สมาธิ คือเอกัคคตาจิต
มิได้ฟุ้งซ่าน
ด้วยสามารถปฐวีกสิณ ๑ อาโปกสิณ ๑ เตโชกสิณ ๑ วาโยกสิณ ๑
นีลกสิณ ๑ ปีตกสิณ ๑ โลหิตกสิณ ๑ โอทาตกสิณ ๑ สมาธิ ๙ คือ
รูปาวจรสมาธิส่วนเลว ๑ ส่วนปานกลาง ๑ ส่วนประณีต ๑ อรูปาวจรส่วนเลว
๑ ส่วนปานกลาง ๑ ส่วนประณีต ๑ สุญญตสมาธิ ๑ อนิมิตตสมาธิ ๑
อัปปณิหิตสมาธิ ๑ สมาธิ ๑๐ คือ สมาธิคือเอกัคคตาจิตมิได้ฟุ้งซ่าน ด้วย
สามารถอัทธุมาตกสัญญา ๑ วินีลกสัญญา ๑ วิปุพพกสัญญา ๑ วิฉิททก
สัญญา ๑ วิกขายิตกสัญญา ๑ วิกขิตตกสัญญา ๑ หตวิกขายิตกสัญญา ๑
โลหิตกสัญญา ๑ ปุฬุวกสัญญา ๑ อัฏฐิกสัญญา ๑ สมาธิเหล่านี้รวมเป็น
๕๐ ฯ
[๙๓] อีกอย่างหนึ่ง สภาพในความเป็นสมาธิแห่งสมาธิ ๒๕ ประการ
คือ สมาธิเพราะอรรถว่าอันสัทธินทรีย์เป็นต้นกำหนดถือเอา ๑ เพราะอรรถว่า
อินทรีย์เป็นบริวารแห่งกันและกัน ๑ เพราะอรรถว่าสัทธินทรีย์เป็นต้นบริบูรณ์
เพราะอรรถว่ามีอารมณ์เป็นอันเดียว ๑ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ่าน ๑ เพราะ
อรรถว่าไม่แส่ไป ๑ เพราะอรรถว่าไม่ขุ่นมัว ๑ เพราะอรรถว่าไม่หวั่นไหว ๑
เพราะอรรถว่าหลุดพ้นจากกิเลส ๑ เพราะความที่จิตตั้งอยู่ด้วยสามารถความตั้งมั่น
ในความเป็นจิตมีอารมณ์เดียว ๑ เพราะอรรถว่าแสวงหาความสงบ ๑ เพราะ
อรรถว่าไม่แสวงหาธรรมอันเป็นข้าศึกแก่ความสงบ ๑ เพราะแสวงหาความ
สงบแล้ว ๑ เพราะไม่แสวงหาธรรมอันเป็นข้าศึกแก่ความสงบแล้ว ๑ เพราะ
อรรถว่ายึดมั่นความสงบ ๑ เพราะอรรถว่าไม่ยึดมั่นธรรมอันเป็นข้าศึกแก่ความ
สงบ ๑ เพราะยึดมั่นความสงบแล้ว ๑ เพราะไม่ยึดมั่นธรรมอันเป็นข้าศึก
แก่ความสงบแล้ว ๑ เพราะอรรถว่าปฏิบัติสงบ ๑ เพราะอรรถว่าไม่ปฏิบัติไม่
สงบ ๑ เพราะปฏิบัติสงบแล้ว ๑ เพราะไม่ปฏิบัติไม่สงบแล้ว ๑ เพราะ
อรรถว่าเพ่งความสงบ ๑ เพราะอรรถว่าเผาธรรมอันเป็นข้าศึกแก่ความสงบ ๑
เพราะเพ่งความสงบแล้ว ๑ เพราะเผาธรรมอันเป็นข้าศึกแก่ความสงบแล้ว ๑
เพราะอรรถว่าเป็นธรรมสงบ เป็นสภาพเกื้อกูลและนำสุขมาให้ ๑ สภาพใน
ความเป็นสมาธิแห่งสมาธิเหล่านี้รวมเป็น ๒๕ ฯ
ชื่อว่าญาณ เพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้น ชื่อว่าปัญญา เพราะอรรถว่า
รู้ชัด เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาในการสำรวมแล้วตั้งไว้ดี เป็น
สมาธิภาวนามยญาณ ฯ
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๑ บรรทัดที่ ๑๐๘๘ - ๑๑๒๙. หน้าที่ ๔๕ - ๔๖.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v ... agebreak=0

.....................................................
นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 เม.ย. 2011, 10:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 มิ.ย. 2007, 21:13
โพสต์: 2631

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
เอกัคคตา ความมีอารมณ์เป็นอันเดียว คือ ความมีจิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์อันเดียว ได้แก่สมาธิ
(พจนานุกรมเขียน เอกัคตา);
ดู ฌาน




พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์
http://www.84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=เอกัคคตา
http://www.84000.org/tipitaka/dic/v_see ... 4%A4%B5%D2

.....................................................
นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 เม.ย. 2011, 10:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 มิ.ย. 2007, 21:13
โพสต์: 2631

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
เอกัคตา
เอกัคตา : ดู เอก, เอก. เอกัคตา : [เอกักคะ] น. ความมีอารมณ์เป็นอันเดียว หมายถึงความมีจิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์อันเดียว. (ป. เอกคฺคตา).
source : ราชบัณฑิตยสถาน

.....................................................
นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 เม.ย. 2011, 10:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 มิ.ย. 2007, 21:13
โพสต์: 2631

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


[Quote-Tipitakaพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๕
อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต



เอกัคคตาจิตประกอบด้วยองค์ ๗ ประการนี้ เรียกว่าอริยสมาธิ ที่เป็นไปกับ
ด้วยอุปนิสัยก็มี ที่เป็นไปกับด้วยบริขารก็มี ฯ
จบสูตรที่ ๒
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๓ บรรทัดที่ ๙๗๑ - ๙๗๓. หน้าที่ ๔๔.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... agebreak=0

][/Quote-Tipitaka]

.....................................................
นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 เม.ย. 2011, 10:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 มิ.ย. 2007, 21:13
โพสต์: 2631

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
พระอรหันต์ 500 รูป ที่มีคุณสมบัติเป็นเลิศ
ทำการสังคยนาพระธรรมและพระวินัย ด้วยความประณีต
ถ่ายทอดเป็นนิรุติ ด้วยปฎิภาณอันเฉียบแหลม เพื่อให้ชนรุ่นหลังได้เรียนรู้ถึงสภาวะอันละเอียดอ่อน
สุขุม คัมภีรภาพ

หากเทียบ กับพุทธธรรม ที่เรียบเรียงขึ้นในภายหลังโดยพระเถระผู้ใหญ่รูปหนึ่ง
แล้วลูกศิษย์ผู้มีความเลื่อมใสในตัวพระเถระผู้นั้นออกมากล่าวว่า สิ่งที่พระเถระผู้ใหญ่นั้นเรียบเรียงนั้นถูกต้องทุกประการ

เช่นนั้น ถามท่านคำเดียว
ที่ท่านแสดงว่า เอกัคคตา คือตัวสมาธิ
มีพระสูตร หรือพระอภิธรรม ไหนชี้ชัดว่า เอกัคคตาคือตัวสมาธิ


ท่านเก่งกว่าพระอรหันตเจ้า 500 รูป นั้นกระมัง จึงได้ แสดงว่า เอกัคคตา และ สมาธิ คือสิ่งเดียวกัน
พระอรหันตเจ้า จำแนกสภาวะธรรม ไม่ทับซ้อนกัน จึงได้แยกออกมาให้ชนรุ่นหลังได้รู้จัก

คุณ mes อย่าดันทุรัง ขัดแย้งกับพระไตรปิฏก โดยยกเอาตำราพุทธธรรม มายัน

เมื่อท่านไม่รู้จัก สภาวะเอกัคคตา ท่านก็ควรศึกษา และนำไปพิจารณา แล้วปฏิบัติทำความรู้จักกับสภาวะธรรมที่พระอรหันตเจ้า ได้จำแนกไว้ ....


อ้างคำพูด:
ที่ท่านแสดงว่า เอกัคคตา คือตัวสมาธิ
มีพระสูตร หรือพระอภิธรรม ไหนชี้ชัดว่า เอกัคคตาคือตัวสมาธิ


ยกพระสูตรมาแสดงแล้วข้างต้นว่าเอกัคคตาเป็นสมาธิ เช่นนั้นกว่าพระอรหันต์หรือถึงดันทุรังบอกไม่ใช่สนองทิฏฐิสำนักตน

อ้างคำพูด:
หากเทียบ กับพุทธธรรม ที่เรียบเรียงขึ้นในภายหลังโดยพระเถระผู้ใหญ่รูปหนึ่ง
แล้วลูกศิษย์ผู้มีความเลื่อมใสในตัวพระเถระผู้นั้นออกมากล่าวว่า สิ่งที่พระเถระผู้ใหญ่นั้นเรียบเรียงนั้นถูกต้องทุกประการ


ด้วยความเคารพ ผมไม่แอนตี้พระอภิธรรม :b8:

แต่ต้องพูดถึงด้วยความเป็นธรรม

เพื่อแฉหลายมาตรฐานของเช่นนั้น ปากว่าคนใส่ร้ายคนอื่นเก่งนัก

หระอภิธรรมก็รจนาขึ้นภายหลังพระพุทธกาลเช่นกัน

ใครเขียนก็ไม่ทราบ ใช่พระอรหันต์เป็นผู้บันทึกหรือไม่ก็ไม่มีหลักฐานยืนยัน

แล้วทำไมเช่นนั้นถึงยกขึ้นมาอ้างอิงได้สนิทใจ

.....................................................
นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 เม.ย. 2011, 10:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 มิ.ย. 2007, 21:13
โพสต์: 2631

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เอกัคคตา แปลว่า อะไรครับ พอแยกศัพท์ได้ไหม ช่วยกันแยกสิครับ :b1:


ท่านกรัชกายช่วยหน่อยครับ

.....................................................
นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 เม.ย. 2011, 11:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 มิ.ย. 2007, 21:13
โพสต์: 2631

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
mes เขียน:
วันนั้นน้ำเค็มกราบประทานโทษที่เอ๋ยนาม

บอกให้ผมอ้างพระไตรปิฏกมาว่าตรงไหนที่มีหลัำฐานอ้างว่า

ธรรมะ คือ ธรรมทชาติ


วันนี้ เช่นนั้นมาอีกแล้ว

ถามว่าทีพวกคุณพยายามสร้างสำนักพิษณุโลกเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนา

มีใครเอากับพวกคุณไหม

เฉลยก็ไดเวปที่ผมกล่าวถึงคือเวปธรรมะไทย

เวปทีผมไดพบกับท่านกรัชกาย ที่ผมนับถือเป็นอาจารย์จนทุกวันนี้เพราะไม่ยอมอ่อนข้อกับสิ่งที่ไม่ถูก

จากวันนั้นเวปธรรมไทยก็รัาง ด้วยข้อวิวาทะของท่านกรัชกายกับน้ำเค็มเช่นนั้นที่เถี่นงข้างๆคูๆ


จุดประสงค์ที่ออกมาเปลืองตัว เพราะไม่ต้องการให้เกิดความสับสน


แทนที่จะสำนึก

กับสานต่อลัทธิสมมุติธรรม






อ้อ กรัชกายสวม หัวไว้นี่เอง ไปนับถือคำสอนผิดผู้ผิดคน ที่ยัดไส้คำสอน
ไม่พิจารณา บท พยัญชนะ และอรรถ ในพระไตรปิฏก ให้ดี

คุณ mes ผิดพลาดมามากแล้ว ที่ไปเห็นคำสอนของปุถุชน ว่าเป็นคำสอนที่ถูกต้อง

การแสดงความเห็นในครั้งนี้
ทำให้เช่นนั้น ระลึกถึงความสำคัญในการคัดเลือกพระอรหันต์ ในคราปฐมสังคยานาจริงๆ
ว่าต้อง มีคุณสมบัติที่เข้มงวด

และที่ขาดไม่ได้คือ ปฏิสัมภิทา 4

ความละเอียดอ่อนในการแสดง พยัญชนะ และอรรถ อย่างถี่ถ้วนของพระอรหันตเจ้าทั้งหลายในเวลานั้น

เมื่อคุณ mes จะถือเอา กรัชกาย และหนังสือพุทธธรรมเป็นเกณฑ์ ก็ตามสบาย

จบการแสดงความเห็นในกระทู้นี้เพียงเท่านี้

เช่นนั้น


เช่นนั้นหยุดพฤติกรรมใส่ร้ายคนอื่นเสียที่

รู้ได้อย่างไรว่าผมเชื่อหรือไม่เชื่อใคร ประการสำคัญเป็นสิทธิของผม

ผมเชื่อคำสอนของพระพุทธเจ้า

พระพุทธเจ้าสอนว่า

กัลยาณมิตรเป็นบุพกาลอรุณรุ่งแห่งอัฏฐังคิกมรรคา

และไม่ได้ทรงตรัสว่า กลัยาณมิตรจำเป็นต้องเป็นพระอรหันต์

ทรงสอนแต่ว่า

จะเชื่อ หรือไม่เชื่อ ให้ใชักาลามสูตร ไม่ใช่เชื่อเช่นนั้น หรือสำนักพืษณุโลก

หากมีปัญหาข้อสงสัย ให้ใชัมหาปะเทสสี่ตรวจสอบ




ประการสุดท้าย

ทุกคนเขายอมรับพระสูตรทั้งนั้นอย่า อย่าเด็ดขาดที่พยายามสร้างภาพว่าผมไม่เชื่อพระสูตร ผิดศีล นะจะบอกให้

.....................................................
นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 เม.ย. 2011, 11:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓
ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค



[๙๒] ปัญญาในการสำรวมแล้วตั้งไว้ด้วยดี เป็นสมาธิภาวนามยญาณอย่างไร สมาธิอย่างหนึ่ง คือ เอกัคคตาจิต สมาธิ ๒ คือ โลกิยสมาธิ ๑
โลกุตรสมาธิ ๑ สมาธิ ๓ คือ สมาธิมีวิตกและวิจาร ๑ สมาธิไม่มีวิตกมีแต่
วิจาร ๑ สมาธิไม่มีวิตกไม่มีวิจาร ๑ สมาธิ ๔ คือ สมาธิมีส่วนเสื่อม ๑
สมาธิเป็นส่วนตั้งอยู่ ๑ สมาธิเป็นส่วนวิเศษ ๑ สมาธิเป็นส่วนชำแรกกิเลส ๑
สมาธิ ๕ คือ สมาธิมีปีติแผ่ไป ๑ สมาธิมีสุขแผ่ไป ๑ สมาธิมีจิตแผ่ไป ๑
สมาธิมีแสงสว่างแผ่ไป ๑ สมาธิมีการพิจารณาเป็นนิมิต ๑ สมาธิ ๖ คือ
สมาธิคือเอกัคคตาจิตมิได้ฟุ้งซ่านด้วยสามารถพุทธานุสสติ ๑ ธรรมานุสสติ ๑
สังฆานุสสติ ๑ สีลานุสสติ ๑ จาคานุสสติ ๑ เทวตานุสสติ ๑ สมาธิ ๗ คือ
ความเป็นผู้ฉลาดในสมาธิ ๑ ความเป็นผู้ฉลาดในการเข้าสมาธิ ๑ ความเป็นผู้
ฉลาดในการตั้งสมาธิ ๑ ความเป็นผู้ฉลาดในการออกจากสมาธิ ๑ ความเป็นผู้
ฉลาดในความงามแห่งสมาธิ ๑ ความเป็นผู้ฉลาดในโคจรแห่งสมาธิ ๑ ความ
เป็นผู้ฉลาดในการน้อมไปแห่งสมาธิ ๑ สมาธิ ๘ คือ สมาธิ คือเอกัคคตาจิต
มิได้ฟุ้งซ่าน
ด้วยสามารถปฐวีกสิณ ๑ อาโปกสิณ ๑ เตโชกสิณ ๑ วาโยกสิณ ๑
นีลกสิณ ๑ ปีตกสิณ ๑ โลหิตกสิณ ๑ โอทาตกสิณ ๑ สมาธิ ๙ คือ
รูปาวจรสมาธิส่วนเลว ๑ ส่วนปานกลาง ๑ ส่วนประณีต ๑ อรูปาวจรส่วนเลว
๑ ส่วนปานกลาง ๑ ส่วนประณีต ๑ สุญญตสมาธิ ๑ อนิมิตตสมาธิ ๑
อัปปณิหิตสมาธิ ๑ สมาธิ ๑๐ คือ สมาธิคือเอกัคคตาจิตมิได้ฟุ้งซ่าน ด้วย
สามารถอัทธุมาตกสัญญา ๑ วินีลกสัญญา ๑ วิปุพพกสัญญา ๑ วิฉิททก
สัญญา ๑ วิกขายิตกสัญญา ๑ วิกขิตตกสัญญา ๑ หตวิกขายิตกสัญญา ๑
โลหิตกสัญญา ๑ ปุฬุวกสัญญา ๑ อัฏฐิกสัญญา ๑ สมาธิเหล่านี้รวมเป็น
๕๐ ฯ
[๙๓] อีกอย่างหนึ่ง สภาพในความเป็นสมาธิแห่งสมาธิ ๒๕ ประการ
คือ สมาธิเพราะอรรถว่าอันสัทธินทรีย์เป็นต้นกำหนดถือเอา ๑ เพราะอรรถว่า
อินทรีย์เป็นบริวารแห่งกันและกัน ๑ เพราะอรรถว่าสัทธินทรีย์เป็นต้นบริบูรณ์
เพราะอรรถว่ามีอารมณ์เป็นอันเดียว ๑ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ่าน ๑ เพราะ
อรรถว่าไม่แส่ไป ๑ เพราะอรรถว่าไม่ขุ่นมัว ๑ เพราะอรรถว่าไม่หวั่นไหว ๑
เพราะอรรถว่าหลุดพ้นจากกิเลส ๑ เพราะความที่จิตตั้งอยู่ด้วยสามารถความตั้งมั่น
ในความเป็นจิตมีอารมณ์เดียว ๑ เพราะอรรถว่าแสวงหาความสงบ ๑ เพราะ
อรรถว่าไม่แสวงหาธรรมอันเป็นข้าศึกแก่ความสงบ ๑ เพราะแสวงหาความ
สงบแล้ว ๑ เพราะไม่แสวงหาธรรมอันเป็นข้าศึกแก่ความสงบแล้ว ๑ เพราะ
อรรถว่ายึดมั่นความสงบ ๑ เพราะอรรถว่าไม่ยึดมั่นธรรมอันเป็นข้าศึกแก่ความ
สงบ ๑ เพราะยึดมั่นความสงบแล้ว ๑ เพราะไม่ยึดมั่นธรรมอันเป็นข้าศึก
แก่ความสงบแล้ว ๑ เพราะอรรถว่าปฏิบัติสงบ ๑ เพราะอรรถว่าไม่ปฏิบัติไม่
สงบ ๑ เพราะปฏิบัติสงบแล้ว ๑ เพราะไม่ปฏิบัติไม่สงบแล้ว ๑ เพราะ
อรรถว่าเพ่งความสงบ ๑ เพราะอรรถว่าเผาธรรมอันเป็นข้าศึกแก่ความสงบ ๑
เพราะเพ่งความสงบแล้ว ๑ เพราะเผาธรรมอันเป็นข้าศึกแก่ความสงบแล้ว ๑
เพราะอรรถว่าเป็นธรรมสงบ เป็นสภาพเกื้อกูลและนำสุขมาให้ ๑ สภาพใน
ความเป็นสมาธิแห่งสมาธิเหล่านี้รวมเป็น ๒๕ ฯ
ชื่อว่าญาณ เพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้น ชื่อว่าปัญญา เพราะอรรถว่า
รู้ชัด เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาในการสำรวมแล้วตั้งไว้ดี เป็น
สมาธิภาวนามยญาณ ฯ
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๑ บรรทัดที่ ๑๐๘๘ - ๑๑๒๙. หน้าที่ ๔๕ - ๔๖.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v ... agebreak=0

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 เม.ย. 2011, 11:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ่านไม่ได้ศัพท์ อ่านไม่เข้าใจ นิรุติ ที่ท่านพระสารีบุตรแสดง

คุณ mes

เมื่อไม่เข้าใจ
ก็จงนำไปพิจารณา

เอกัคคตา เจตสิก ประการหนึ่ง
สมาธิ เจตสิก ประการหนึ่ง
เอกัคคตาจิต ก็อีกประการหนึ่ง

เอกัคคตาจิต เป็นสมาธิภาวนามยญาณ อันสำเร็จจาก อธิจิตตภาวนา สำเร็จโดยจินตามยปัญญา แนบแน่นอยู่ในอารมณ์พระนิพพาน เป็นนิรุติเฉพาะที่ท่านพระสารีบุตรเลือกใช้ในการแสดงสภาวะธรรมนั้น

และ โปรดรับทราบด้วยว่า จิตที่ฟุ้งซ่าน ก็ยังมีเอกัคคตาเจตสิกธรรม สมาธิเจตสิกธรรม เกิดร่วมเกิดพร้อม

ซึ่งเป็นการแสดงให้เห็นว่า เอกัคคตาจิต เป็นคำเฉพาะ ไม่ได้หมายความถึง เอกัคคตาเจตสิกธรรม

ความรู้ของท่าน เรียนรู้ไม่ทั่วถึง ยังอาศัยอมิตรที่คอยสอดไส้พุทธพจน์ ย่อมทำให้ท่านหลงทางเป็นธรรมดา

พระไตรปิฎกของท่าน คงจะเหลือเพียง เทวปิฎก กระมัง ....

ทั้งท่านและกรัชกาย โดนแบน โดนบี้ โดนไล่ ออกจากเว็ปธรรมะไทย เพราะแสดงธรรมบิดเบือน สอดไส้พุทธพจน์มาแล้ว ก็อย่าแสดงธรรมสอดไส้ความเห็นปุถุชนต่อไปในเว็ปนี้

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 เม.ย. 2011, 11:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 มิ.ย. 2007, 21:13
โพสต์: 2631

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
อ่านไม่ได้ศัพท์ อ่านไม่เข้าใจ นิรุติ ที่ท่านพระสารีบุตรแสดง

คุณ mes

เมื่อไม่เข้าใจ
ก็จงนำไปพิจารณา

เอกัคคตา เจตสิก ประการหนึ่ง
สมาธิ เจตสิก ประการหนึ่ง
เอกัคคตาจิต ก็อีกประการหนึ่ง

เอกัคคตาจิต เป็นสมาธิภาวนามยญาณ อันสำเร็จจาก อธิจิตตภาวนา สำเร็จโดยจินตามยปัญญา แนบแน่นอยู่ในอารมณ์พระนิพพาน เป็นนิรุติเฉพาะที่ท่านพระสารีบุตรเลือกใช้ในการแสดงสภาวะธรรมนั้น

และ โปรดรับทราบด้วยว่า จิตที่ฟุ้งซ่าน ก็ยังมีเอกัคคตาเจตสิกธรรม สมาธิเจตสิกธรรม เกิดร่วมเกิดพร้อม

ซึ่งเป็นการแสดงให้เห็นว่า เอกัคคตาจิต เป็นคำเฉพาะ ไม่ได้หมายความถึง เอกัคคตาเจตสิกธรรม

ความรู้ของท่าน เรียนรู้ไม่ทั่วถึง ยังอาศัยอมิตรที่คอยสอดไส้พุทธพจน์ ย่อมทำให้ท่านหลงทางเป็นธรรมดา

พระไตรปิฎกของท่าน คงจะเหลือเพียง เทวปิฎก กระมัง ....

ทั้งท่านและกรัชกาย โดนแบน โดนบี้ โดนไล่ ออกจากเว็ปธรรมะไทย เพราะแสดงธรรมบิดเบือน สอดไส้พุทธพจน์มาแล้ว ก็อย่าแสดงธรรมสอดไส้ความเห็นปุถุชนต่อไปในเว็ปนี้


เห็นไหม

เอกัคคตาจิต เป็นสมาธิ

.....................................................
นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 เม.ย. 2011, 11:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


FLAME เขียน:
จูฬเวทัลลสูตร
พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ เล่มที่ ๑๒


................................
วิ. ข้าแต่พระแม่เจ้า ก็ธรรมอย่างไร เป็นสมาธิ ธรรมเหล่าใด เป็นนิมิตของสมาธิ

ธรรมเหล่าใด เป็นเครื่องอุดหนุนสมาธิ การทำให้สมาธิเจริญ เป็นอย่างไร?

ธ. ดูกรวิสาขะผู้มีอายุ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นอย่างเดียว เป็นสมาธิ



คุณ Flame
พระสูตรบทนี้ ศึกษาให้ดี จะทราบว่า ใครแสดงธรรมแก่ใคร
อรหันตบุคคล แสดงธรรมแก่ อนาคามีบุคคล
ไม่ใช่อรหันตบุคคล แสดงแก่ปุถุชน

ซึ่งทั้งสองท่าน ต่างแน่วแน่ต่อมรรคปฏิปทา อันมีพระนิพพานเป็นอารมณ์
มีวิราคะเป็นเหตุ มีวิมุตติเป็นผล

เราได้แต่ฟังอริยบุคคลสนทนากัน และเพียรศึกษาด้วยปัญญา เพื่อให้เกิดญาณเข้าถึงสิ่งที่อริยบุคคลท่านสนทนากัน

ซึ่งในที่นี้ ก็แสดงถึง
เอกัคคตาจิต อันมอริยสมาธิ โดยมีองค์ประกอบอื่นแห่งมรรคอีก 7 ประการห้อมล้อม

ไม่ใช่หมายถึง ตัวเอกัคคตา โดดๆ เช่นกัน

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 เม.ย. 2011, 11:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 มิ.ย. 2007, 21:13
โพสต์: 2631

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


ดูองค์ประกอบของฌาณที่เรียกว่าองคฌาณ

ฌาณคืออัปปนาสมาธิ หรือสมาธิที่แนบแน่นประกอบด้วนองค์ประกอบ หรือองค์ฌาณคือ
ฌาน ๔ คือ
๑. ปฐมฌาน มีองค์ ๕ (วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา)
๒. ทุติยฌาน มีองค์ ๓ (ปีติ สุข เอกัคคตา)
๓. ตติยฌาน มีองค์ ๒ (สุข เอกัคคตา)
๔. จตุตถฌาน มีองค์ ๒ (อุเบกขา เอกัคคตา);


แยกแยะออกให้ดูชัดๆ

วิตก ความตรึก, ตริ,

รูปวิจาร ความตรองในรูป เกิดต่อจากรูปวิตก


ปิติ ความอิ่มใจ

สุข ความสบาย

เอกัคตา ถ้าไม่ใช่แปลว่าสมาธิแล้ว องค์ประกอบตัวไหนละที่เป็นสมาธิ


ตั้งแต่ฌาณหนึ่งถึงสี่ เอกัคตาหายไปไม่ได้เลย เพราะเป็นตัวสมาธิ


เห็นทีเช่นนั้นต้องกลับไปเรียนกับท่านกรัชกายตามพุทธธรมของท่านป.อ.ปยุตโตบ้าง

จะได้เกิดปัญญา

ทุกวันนี้เห็นแต่มิจฉสัญญาในตัวเช่นนั้น

เช่นนั้นเอ๋ย

ปัญญาหรอกเจ้า

ที่เป็นมรรคแห่งนิพพาน



.....................................................
นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 133 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร