วันเวลาปัจจุบัน 20 ก.ค. 2025, 09:34  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 71 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 เม.ย. 2011, 04:05 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


:b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 เม.ย. 2011, 04:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
:b32:


[youtube]http://youtu.be/BuE_yljqxk0[/youtube]
http://youtu.be/BuE_yljqxk0

:b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 เม.ย. 2011, 17:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


FLAME เขียน:
ขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ อัปปนาสมาธิ
ถ้ามีในพุทธวจนะผมขอพุทธวจนะยืนยัน
ยินดีรับฟังทุกความเห็น


ขณิกสมาธิ ไม่มีในพุทธวจนะ
อุปจารสมาธิ ไม่มีในพุทธวจนะ
อัปปนาสมาธิ ก็ไม่มีในพุทธวจนะ

ขณิกฌาน ก็ไม่มีในพุทธวจนะ
อุปจารฌาน ก็ไม่มีในพุทธวจนะ
อัปปนาฌาน มีปรากฏในพุทธวจนะ ว่าเป็นฌานที่มีมาแต่เดิม

ขณิกสมาธิ ... (รับไม่ได้)

อุปจารสมาธิ ... กามาวจรกุศลจิต มีองค์ธรรมเกิดร่วมเกิดพร้อมกับโสมนัส ทั้งหลาย ไม่กี่ดวง ที่มีลักษณะจิตใกล้ปฐมฌาน

อัปปนาสมาธิ เกิดกับชนิดของจิตที่เป็นกุศล ตั้งแต่ รูปฌาน 4 ,อรูปฌาน 4, โลกุตรกุศลฌาน มัคคจิต ผลจิต

อรรถาจารย์ แสดงคุณสมบัติของจิต ไม่ใช่เอาเงื่อนเวลา มาระบุ ความเป็นสมาธิของจิต

เพราะถ้าเอาเงื่อนเวลามากำหนดความเป็นสมาธิของจิต
มัคคจิต ทุกดวง ก็จะมีสมาธิประเภท ขณิกสมาธิ ทุกดวงสินะ..เออ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 เม.ย. 2011, 21:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้นnormalthing ชายไทยร่างสันทัดมาแล้ว smiley :b27: :b17: :b27: :b17: :b12:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 เม.ย. 2011, 21:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
FLAME เขียน:
ขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ อัปปนาสมาธิ
ถ้ามีในพุทธวจนะผมขอพุทธวจนะยืนยัน
ยินดีรับฟังทุกความเห็น


ขณิกสมาธิ ไม่มีในพุทธวจนะ
อุปจารสมาธิ ไม่มีในพุทธวจนะ
อัปปนาสมาธิ ก็ไม่มีในพุทธวจนะ

ขณิกฌาน ก็ไม่มีในพุทธวจนะ
อุปจารฌาน ก็ไม่มีในพุทธวจนะ
อัปปนาฌาน มีปรากฏในพุทธวจนะ ว่าเป็นฌานที่มีมาแต่เดิม

ขณิกสมาธิ ... (รับไม่ได้)

อุปจารสมาธิ ... กามาวจรกุศลจิต มีองค์ธรรมเกิดร่วมเกิดพร้อมกับโสมนัส ทั้งหลาย ไม่กี่ดวง ที่มีลักษณะจิตใกล้ปฐมฌาน

อัปปนาสมาธิ เกิดกับชนิดของจิตที่เป็นกุศล ตั้งแต่ รูปฌาน 4 ,อรูปฌาน 4, โลกุตรกุศลฌาน มัคคจิต ผลจิต

อรรถาจารย์ แสดงคุณสมบัติของจิต ไม่ใช่เอาเงื่อนเวลา มาระบุ ความเป็นสมาธิของจิต

เพราะถ้าเอาเงื่อนเวลามากำหนดความเป็นสมาธิของจิต
มัคคจิต ทุกดวง ก็จะมีสมาธิประเภท ขณิกสมาธิ ทุกดวงสินะ..เออ


ถ้า ไม่เอาเงื่อนไขเวลามาเรียก เอาแต่เพียง คุณภาพที่ไม่ถึงปฐมฌาณ นี่เรียกว่าขนิกสมาธิได้ไหมครับ คุณเช่นนั้น :b10: ผมก็ไม่รู้เรียกว่าไง :b23:


แก้ไขล่าสุดโดย หลับอยุ่ เมื่อ 14 เม.ย. 2011, 21:49, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 เม.ย. 2011, 21:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


:b12: ถามคุณเช่นนั้น ดีกว่า.... คำว่า เป็นผู้ทำพอประมาณในสมาธิ

Quote Tipitaka:
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐ บรรทัดที่ ๖๑๒๓ - ๖๑๖๐. หน้าที่ ๒๖๑ - ๒๖๓.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v ... agebreak=0


ระดับใด ยังไงครับ.ใช่ผ่านเกณฑ์ของฌาณแล้วหรือ ยังไงครับ smiley


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 เม.ย. 2011, 00:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


หลับอยุ่ เขียน:
ถ้า ไม่เอาเงื่อนไขเวลามาเรียก เอาแต่เพียง คุณภาพที่ไม่ถึงปฐมฌาณ นี่เรียกว่าขนิกสมาธิได้ไหมครับ คุณเช่นนั้น :b10: ผมก็ไม่รู้เรียกว่าไง :b23:


ให้ดูตาม แหล่งที่มาของการแสดงขณิกสมาธิ ครับ
เราจะเรียก หรือเข้าใจอย่างไรก็แล้วแต่
ก็ไม่อาจจะไปเปลี่ยนแปลง สิ่งที่ได้แสดงไว้ของแหล่งที่มาครับ ....

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 เม.ย. 2011, 00:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


หลับอยุ่ เขียน:
:b12: ถามคุณเช่นนั้น ดีกว่า.... คำว่า เป็นผู้ทำพอประมาณในสมาธิ

Quote Tipitaka:
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐ บรรทัดที่ ๖๑๒๓ - ๖๑๖๐. หน้าที่ ๒๖๑ - ๒๖๓.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v ... agebreak=0


ระดับใด ยังไงครับ.ใช่ผ่านเกณฑ์ของฌาณแล้วหรือ ยังไงครับ smiley


พระสูตรนี้ เพียงแสดงจำแนกความต่าง ของพระเสขะ กับพระขีณาสพ
ว่า พระขีณาสพ เป็นผู้ที่ทำบริบูรณ์แล้วใน อธิศีลสิกขา อธิจิตสิกขา และอธิปัญญาสิกขา
ส่วนพระเสขคือตั้งแต่ พระโสดาบันถึงพระอนาคามี เป็นผู้ทำพอประมาณในสมาธิ
คืออธิจิตสิกขา และอธิปัญญาสิกขา ยังไม่บริบูรณ์ เพราะสังโยชน์ ยังไม่สิ้นไปทั้งหมดครับ

อีกประการ คุณภาพจิตของ พระอริยะบุคคล นั้น จิตเป็นอัปปนาแนบแน่นต่อมรรคปฏิปทาแล้วครับ เพียงแต่ระดับปัญญานั้นต้องค่อยๆภาวนากันต่อไป

การเจริญมัคคปัญญา มีฌานเป็นบาท จิตย่อมเป็นฌานแล้ว

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 เม.ย. 2011, 10:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


คุณเช่นนั้น อธิบายได้ละเอียดและคมเหมือนเดิม :b8:
เวลา ลงบทความธรรมะก็ ลงได้เร้าใจดีมาก ระดับนักธรรมเอก... :b35:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 เม.ย. 2011, 01:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 พ.ย. 2009, 10:41
โพสต์: 4463

อายุ: 0
ที่อยู่: วัฏสงสาร

 ข้อมูลส่วนตัว


เชิญ เช่นนั้น normalthing ไปออกความคิด ในนี้หน่อยครับ

http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=2&t=30057&p...%20-


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2011, 07:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 12 ม.ค. 2010, 11:43
โพสต์: 523

แนวปฏิบัติ: ดูปัจจุบันอารมณ์ เจริญมรรค ๘
งานอดิเรก: ปฏิบัติธรรม
สิ่งที่ชื่นชอบ: ประทีปแห่งเอเซีย
ชื่อเล่น: อโศกะ
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว www


หลับอยุ่ เขียน:
สัมปชัญญะ ไม่ใช่ปัญญาครับคุณแสงทอง

แปลว่า รู้สึกตัว :b1:


ถ้าแปลตามศัพท์ก็เป็นอย่างคุณหลับอยู่ว่า

แต่สัมปชัญญะ ถ้าแปลโดยความหมายในเชิงปฏิบัตินั้นคือตัวปัญญา สัมมาทิฐิและสัมมาสังกัปปะในปัญญามรรคนั้นเลยทีเดียว

สัมมาทิฐิ ในปฏิบัติการ ได้แก่ ตาปัญญาที่ไปทำงาน ดู เห็น รู้

สัมมาสังกัปปะ ในปฏิบัติการ ได้แก่ตาปัญญาที่ไปทำงานหรือทำหน้าที่ สังเกต (ไม่ใช้ความคิด)
พิจารณา (ใช้ความคิด)

คุณหลับอยู่ต้องกลับไปวิจารณ์ซิว่า ความในสติปัฏฐาน 4 ว่า "อาตาปี สัมปชาโน สติมา" นั้น ปัญญามรรค 2 ตัวมาทำงานตรงไหน "วิเนยยะโลเก อภิชฌา โทมนัสสัง" อะไร ธรรมข้อใดในมรรค 8 มาทำหน้าที่ วิเนยยะ หรือเอาความยินดียินร้ายออก

เจริญธรรมกันทุกคนครับ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 71 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร