วันเวลาปัจจุบัน 22 ก.ค. 2025, 01:45  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 110 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสต์ เมื่อ: 17 ส.ค. 2010, 16:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




1%2520%2872%29.gif
1%2520%2872%29.gif [ 34.57 KiB | เปิดดู 2886 ครั้ง ]
ถ้าไม่ไหวก็บอกนะครับ กรัชกายจะได้สรุป

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/
โพสต์ เมื่อ: 17 ส.ค. 2010, 16:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
29642.สติปัฏฐานพุทโธวาท...โอวาทจากพระโอษฐ์

ทุกคนเจริญสติปัฏฐาน ตามพุทโธวาท โดยอาศัยวิราคะ อันเป็นเครื่องนำออกจากกิเลส


วิราคะ หมายถึงอะไรครับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 17 ส.ค. 2010, 16:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
วิราคะ หมายถึงอะไรครับ


พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓
ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค

ยุคนัทธวรรค วิราคกถา
             [๕๘๘] วิราคะเป็นมรรค วิมุติเป็นผล วิราคะเป็นมรรคอย่างไร ฯ
             ในขณะโสดาปัตติมรรค

สัมมาทิฐิด้วยอรรถว่าเห็น ย่อมคลายจากมิจฉาทิฐิ จากกิเลสอันเป็นไปตามมิจฉาทิฐินั้น จากขันธ์ และจากสรรพนิมิตภายนอก

วิราคะ (มรรค) มีวิราคะ (นิพพาน) เป็นอารมณ์ มีวิราคะเป็นโคจร เข้ามา
ประชุมในวิราคะ ตั้งอยู่ในวิราคะ ประดิษฐานอยู่ในวิราคะ

วิราคะในคำว่าวิราโค นี้มี ๒ คือ นิพพานเป็นวิราคะ ๑ ธรรมทั้งปวงที่เกิดเพราะสัมมาทิฐิมี
นิพพานเป็นอารมณ์เป็นวิราคะ ๑ เพราะฉะนั้น มรรคจึงเป็นวิราคะ องค์ ๗ ที่
เป็นสหชาติ ย่อมถึงความเป็นวิราคะ เพราะฉะนั้น วิราคะจึงเป็นมรรค

(วิราคะ คือปฏิปทาอันให้ถึงความสิ้นไป ความดับไปแห่งสมุทัย)

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสต์ เมื่อ: 17 ส.ค. 2010, 17:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ขอบคุณนะครับที่ตอบวิราคะตามนั้น

ต่อไป "สติปัฏฐาน" กับ "กรรมฐาน" ตามที่ถามข้างต้นครับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 17 ส.ค. 2010, 17:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรรมฐาน เป็นบัญญัติอาจารย์ที่ใช้ในภายหลัง
พระพุทธองค์ ให้ปฏิบัติมรรคภาวนา คืออริยมรรคมีองค์ 8

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสต์ เมื่อ: 17 ส.ค. 2010, 17:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรรมฐาน เป็นบัญญัติอาจารย์ที่ใช้ในภายหลัง
พระพุทธองค์ ให้ปฏิบัติมรรคภาวนา คืออริยมรรคมีองค์ 8



แล้วสติปัฏฐานล่ะ แปลว่าอะไร ปฏิบัติกันยังไง สติปัฏฐาน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 17 ส.ค. 2010, 17:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ดูตามลิงค์
พระพุทธองค์ ทรงแสดงไว้ชัดเจน รวบรวมไว้ให้พอสมควรแล้ว ทุกข้อล้วนนำไปปฏิบัติได้มีนิพพานเป็นอารมณ์ ตามนัยแห่งปฏิสัมภิทามรรค

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสต์ เมื่อ: 17 ส.ค. 2010, 18:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
เช่นนั้น ไม่ได้ เจริญกาย
ไม่ได้ตามเจริญเวทนา
ไม่ได้ตามเจริญสัญญา
ไม่ได้ตามเจริญสังขาร
ไม่ได้ตามเจริญวิญญาณ

กายเช่นนั้นก็เจริญด้วยอาหารคือคำข้าว
เวทนาเช่นนั้น ก็เจริญด้วยผัสสะทั้งหลาย
สัญญา เช่นนั้นก็เจริญด้วยความตรึก
สังขาร เช่นนั้น ก็เจริญด้วยมโนสัญญเจตนา
วิญญาณเช่นนั้น ก็เจริญไปตาม จิตสังขารเหล่านั้น

แต่การเจริญสติปัฏฐาน ไม่ได้เจริญเพื่อสิ่งต่างๆ เหล่านั้น แต่ด้วยมรรคภาวนา สติปัฏฐานจึงจะเจริญตามได้




เช่นนั้น ไม่ได้ เจริญกาย
ไม่ได้ตามเจริญเวทนา
ไม่ได้ตามเจริญสัญญา
ไม่ได้ตามเจริญสังขาร
ไม่ได้ตามเจริญวิญญาณ

กายเช่นนั้นก็เจริญด้วยอาหารคือคำข้าว
ฯลฯ


ท่านเช่นนั้นคงออกจากหลักไม่ได้แล้ว จึงขอบันทึกการเจริญสติปัฏฐานของผู้ใช้นามว่า "เช่นนั้น" ไว้

ณ ตรงนี้ด้วยคำพูดของท่านที่ว่า (กายเช่นนั้นก็เจริญด้วยอาหารคือคำข้าว = เป็นกายานุปัสสนา)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 17 ส.ค. 2010, 20:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ท่านเช่นนั้นคงออกจากหลักไม่ได้แล้ว จึงขอบันทึกการเจริญสติปัฏฐานของผู้ใช้นามว่า "เช่นนั้น" ไว้
ณ ตรงนี้ด้วยคำพูดของท่านที่ว่า (กายเช่นนั้นก็เจริญด้วยอาหารคือคำข้าว = เป็นกายานุปัสสนา)


อ่านไม่ได้ศัพท์ จับไปกะเดียด จริงๆ กรัชกาย เอ๊ย!!!!

สาระสำคัญ อยู่ตรงนี้ "แต่การเจริญสติปัฏฐาน ไม่ได้เจริญเพื่อสิ่งต่างๆ เหล่านั้น แต่ด้วยมรรคภาวนาสติปัฏฐานจึงจะเจริญตามได้ "

แม้แต่อ่านภาษาไทย ก็ยังอ่านจับใจความไม่ได้ โง่ แล้วอวดฉลาด :b19: :b19:

:b17: ณ ตรงนี้ด้วยคำพูดของท่านที่ว่า (กายเช่นนั้นก็เจริญด้วยอาหารคือคำข้าว = เป็นกายานุปัสสนา)....ท่านเข้าใจเอง เออเอง เหมือนที่ผ่านๆ มา :b32: :b32:

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


แก้ไขล่าสุดโดย เช่นนั้น เมื่อ 17 ส.ค. 2010, 21:25, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสต์ เมื่อ: 17 ส.ค. 2010, 21:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ท่านเช่นนั้นคงออกจากหลักไม่ได้แล้ว จึงขอบันทึกการเจริญสติปัฏฐานของผู้ใช้นามว่า "เช่นนั้น" ไว้
ณ ตรงนี้ด้วยคำพูดของท่านที่ว่า (กายเช่นนั้นก็เจริญด้วยอาหารคือคำข้าว = เป็นกายานุปัสสนา)


อ่านไม่ได้ศัพท์ จับไปกะเดียด จริงๆ กรัชกาย เอ๊ย!!!!

สาระสำคัญ อยู่ตรงนี้ "แต่การเจริญสติปัฏฐาน ไม่ได้เจริญเพื่อสิ่งต่างๆ เหล่านั้น แต่ด้วยมรรคภาวนาสติปัฏฐานจึงจะเจริญตามได้ "

แม้แต่อ่านภาษาไทย ก็ยังอ่านจับใจความไม่ได้ โง่ แล้วอวดฉลาด :b19: :b19:

:b17: ณ ตรงนี้ด้วยคำพูดของท่านที่ว่า (กายเช่นนั้นก็เจริญด้วยอาหารคือคำข้าว = เป็นกายานุปัสสนา)....ท่านเข้าใจเอง เออเอง เหมือนที่ผ่านๆ มา :b32: :b32:



ก็กรัชกายเห็น "เช่นนั้น" ฉลาดไง ถึงถามว่า กายานุปัสสนาทำไง หากเช่นนั้นหมายความยังงั้นก็แสดงว่า สติปัฏฐานมีกายานุปัสสนา เป็นต้น เป็นผลจากการคิดยังงั้นใช่ไหมครับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 17 ส.ค. 2010, 21:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


หากคิดอย่างนั้น ถามต่ออีกหน่อย กายานุปัสสนา แปลว่า อะไร และต้องทำยังไง จึงเรียก

กายานุปัสสนา หรือได้ชื่อปฏิบัติกายานุปัสสนา

กรุณาอย่าไล่ให้ไปอ่านเอาเองอีกนะครับ เดี๋ยวเข้าใจผิดอีก คุณไปอ่านมาแล้วช่วยบอกเป็นภาษาที่

ชาวบ้านเขาเข้าใจและทำตามได้ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 17 ส.ค. 2010, 23:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย พาออกนอกหัวข้อไปซะแระ

เช่นนั้น จะแสดงไว้กว้างๆ อย่างนี้เกี่ยวกับกายานุปัสสนา โดยใช้คำว่ากาย แทนวัตถุต่างๆที่เป็นอารมณ์ ของการภาวนา

"เมื่อผู้ปฏิบัติธรรม เจริญมรรคภาวนา เพื่อละกิเลส ละความยินดีพอใจในกองรูป เพื่อละความเห็นผิดคือความวิปลาสในกองรูป ด้วยสมถะวิปัสสนา อนุโลมไปตามอริยสัจจ์อันเป็นสัมมาทิฏฐิ

ย่อมเจริญกายานุปัสสนา พิจารณาเห็นกายในกายอยู่
มีสติระลึกถึงการละความยินดีพอใจอันเนื่องด้วยกาย
กล่าวคือ ไม่ว่าจะยกเอาส่วนไหนของกาย อันเป็นอารมณ์มาสู่จิต

ก็รู้ความเกิดของกาย (อารมณ์)
ความน่าเพลิดเพลินยินดีต่อกาย(อารมณ์)
และการสลัดออกเนื่องจากความเห็นโทษคือ ทุกข์ของกาย(อารมณ์) นั้น

การเจริญมัคคภาวนา ข้อกายานุปัสสนา เป็นอย่างนี้"

Quote Tipitaka:
ก็ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆ อยู่ เป็นอย่างไร
ภิกษุในศาสนานี้ เจริญโลกุตตรฌาน อันเป็นเครื่องนำออกไปจากโลก
ให้เข้าสู่นิพพาน เพื่อประหาณทิฏฐิ เพื่อบรรลุปฐมภูมิ สงัดจากกาม สงัดจาก
อกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตก วิจาร มีปีติและสุข
อันเกิดแต่วิเวก เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา อยู่ในสมัยใด ผัสสะ ฯลฯ
อวิกเขปะ มีในสมัยใด สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า กุศล
ภิกษุ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน
อันเป็นวิบาก เพราะโลกุตตรกุศลฌาน อันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วนั้นแล
ประกอบด้วยวิตก วิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก เป็นทุกขาปฏิปทาทันธา-
*ภิญญา ชนิดสุญญตะ พิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆ อยู่ ในสมัยใด สติ ความ
ตามระลึก ฯลฯ สัมมาสติ สติสัมโพชฌงค์ อันเป็นองค์แห่งมรรค นับเนื่อง
ในมรรค ในสมัยนั้น อันใด นี้เรียกว่า สติปัฏฐาน ธรรมทั้งหลายที่เหลือ เรียกว่า
ธรรมที่สัมปยุตด้วยสติปัฏฐาน

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสต์ เมื่อ: 18 ส.ค. 2010, 08:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:

กรัชกาย พาออกนอกหัวข้อไปซะแระ

เช่นนั้น จะแสดงไว้กว้างๆ อย่างนี้เกี่ยวกับกายานุปัสสนา โดยใช้คำว่ากาย แทนวัตถุต่างๆที่เป็นอารมณ์ ของการภาวนา

"เมื่อผู้ปฏิบัติธรรม เจริญมรรคภาวนา เพื่อละกิเลส ละความยินดีพอใจในกองรูป เพื่อละความเห็นผิดคือความวิปลาสในกองรูป ด้วยสมถะวิปัสสนา อนุโลมไปตามอริยสัจจ์อันเป็นสัมมาทิฏฐิ

ย่อมเจริญกายานุปัสสนา พิจารณาเห็นกายในกายอยู่
มีสติระลึกถึงการละความยินดีพอใจอันเนื่องด้วยกาย
กล่าวคือ ไม่ว่าจะยกเอาส่วนไหนของกาย อันเป็นอารมณ์มาสู่จิต

ก็รู้ความเกิดของกาย (อารมณ์)
ความน่าเพลิดเพลินยินดีต่อกาย(อารมณ์)
และการสลัดออกเนื่องจากความเห็นโทษคือ ทุกข์ของกาย(อารมณ์) นั้น

การเจริญมัคคภาวนา ข้อกายานุปัสสนา เป็นอย่างนี้"

Quote Tipitaka:
ก็ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆ อยู่ เป็นอย่างไร
ภิกษุในศาสนานี้ เจริญโลกุตตรฌาน อันเป็นเครื่องนำออกไปจากโลก
ให้เข้าสู่นิพพาน เพื่อประหาณทิฏฐิ เพื่อบรรลุปฐมภูมิ สงัดจากกาม สงัดจาก
อกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตก วิจาร มีปีติและสุข
อันเกิดแต่วิเวก เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา อยู่ในสมัยใด ผัสสะ ฯลฯ
อวิกเขปะ มีในสมัยใด สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า กุศล
ภิกษุ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน
อันเป็นวิบาก เพราะโลกุตตรกุศลฌาน อันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วนั้นแล
ประกอบด้วยวิตก วิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก เป็นทุกขาปฏิปทาทันธา-
*ภิญญา ชนิดสุญญตะ พิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆ อยู่ ในสมัยใด สติ ความ
ตามระลึก ฯลฯ สัมมาสติ สติสัมโพชฌงค์ อันเป็นองค์แห่งมรรค นับเนื่อง
ในมรรค ในสมัยนั้น อันใด นี้เรียกว่า สติปัฏฐาน ธรรมทั้งหลายที่เหลือ เรียกว่า
ธรรมที่สัมปยุตด้วยสติปัฏฐาน


กรัชกาย พาออกนอกหัวข้อไปซะแระ


อยู่ในหัวข้อนี้แหละท่านเช่นนั้น เพราะจิตตานุปัสสนาเป็นหนึ่งใน 4 ของสติปัฏฐาน :b1:

เช่นนั้น จะแสดงไว้กว้างๆ อย่างนี้เกี่ยวกับกายานุปัสสนา โดยใช้คำว่ากาย แทนวัตถุต่างๆที่เป็นอารมณ์ ของการภาวนา

แสดงกว้าง ๆ หมายความว่า ยังมีแคบๆ อีกใช่ไหมครับ เอาล่ะจะไม่ถาม กายานุปัสสนาแคบๆก็ได้ เพราะข้างต้นทำให้เห็นแนวคิดนอกตำราของคุณบ้างแล้ว :b16:

อ้างคำพูด:
จะแสดงไว้กว้างๆ อย่างนี้เกี่ยวกับกายานุปัสสนา โดยใช้คำว่า กาย แทนวัตถุต่างๆที่เป็นอารมณ์ ของการภาวนา



คำพูดของคุณเป็นต้นว่า....เกี่ยวกับ กายานุปัสสนา โดยใช้คำว่า กาย แทนวัตถุต่างๆ ...

คุณเช่นนั้นครับ กาย+อนุปัสสนา = กายานุปัสสนา การตามดูรู้ทันกาย (หรือการตามพิจารณากาย) ไม่ต้องใช้คำว่า กาย จากไหนแทนหรอกครับ เข้าสนธิให้เห็นอยู่นั่น กาย เห็นๆอยู่แล้ว ใช้กายตัวนั่นแหละ ได้แก่ ร่างกายคนหรือมนุษย์เป็นต้นว่า "เช่นนั้น" "กรัชกาย" ที่นั่งๆ เดิน ๆ กันอยู่นี่แหละครับ
ผ่านข้อกายานุปัสสนาครับ ขอบคุณอีกครั้งหนึ่ง :b8:

ต่อไปเวทนานุปัสสสนา เป็นไงครับ คุณช่วยสรุปเป็นภาษาชาวบ้านหน่อย เขาจะได้นำไปปฏิบัติกันได้

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 18 ส.ค. 2010, 08:29, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสต์ เมื่อ: 18 ส.ค. 2010, 12:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
คุณเช่นนั้นครับ กาย+อนุปัสสนา = กายานุปัสสนา การตามดูรู้ทันกาย (หรือการตามพิจารณากาย) ไม่ต้องใช้คำว่า กาย จากไหนแทนหรอกครับ เข้าสนธิให้เห็นอยู่นั่น กาย เห็นๆอยู่แล้ว ใช้กายตัวนั่นแหละ ได้แก่ ร่างกายคนหรือมนุษย์เป็นต้นว่า "เช่นนั้น" "กรัชกาย" ที่นั่งๆ เดิน ๆ กันอยู่นี่แหละครับ


กายานุปัสสนา --พิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ไม่ใช่ตามดูรู้ทันกาย
กายานุปัสสนา มีสัจจะเป็นอารมณ์ เพ่งอยู่อยู่ในอริยสัจจ์ อันเป็นวิราคะ จับกายได้แล้วก็ปล่อย

กรัชกายต้องเข้าใจเสียใหม่ นะครับ ว่า ไม่ใช่ตามดูรู้ทันกาย แต่เป็นการพิจารณาเห็นกายในกายอยู่

เจริญธรรม

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


แก้ไขล่าสุดโดย เช่นนั้น เมื่อ 18 ส.ค. 2010, 13:18, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสต์ เมื่อ: 18 ส.ค. 2010, 13:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ท่านเช่นนั้น สรุปเวทนานุปัสสนาตามภาษาที่ชาวเราจะปฏิบ้ติได้ก่อนครับ

ส่วนเรื่องการเห็นต่างกัน ไว้ตามเก็บภายหลัง เวทนานุปัสสนา เป็นไงครับ ว่าไปพอที่สมาชิกมองเห็น

ทางที่จะนำไปปฏิบัติได้ เชิญครับ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 110 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร