วันเวลาปัจจุบัน 24 ก.ค. 2025, 08:24  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


รวมกระทู้จากบอร์ดเก่า http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=2



กลับไปยังกระทู้  [ 63 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 พ.ย. 2009, 07:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 พ.ค. 2009, 09:34
โพสต์: 1478

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:

ตีตั๋วรอคำตอบด้วยคนขอรับ :b1:


:b16:

รอคำตอบอย่างเดียวน๊ะ...
ดูสิ...ทำตาไม่น่าไว้วางใจเลย...

:b5:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 พ.ย. 2009, 14:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
สวัสดีครับ คุณบูดตา

Buddha เขียน:
Buddha............คัดค้านว่า
ที่ผู้ที่ใช้ชื่อว่า "เช่นนั้น"กล่าวไปข้างต้นทั้งหมด ไม่ถูกต้องขอรับ เพราะสิ่งที่คุณกล่าวมาทั้งหลด ไม่ใช่ลักษณะของนิมิต


ไม่ถูกต้อง ก็คงต้องมาอธิบายอีกทีหนึ่ง
ท่านบูดตา อ่านช้าๆ น๊ะครับ

เช่นนั้น ไม่เคยบอกว่า นิมิต คือจิตวิตก
เช่นนั้น พิมพ์ ว่า นิมิต เป็นเขตแดนและอารมณ์ แห่งวิตก

นิมิตอันเป็นอารมณ์ภายนอก จึงได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ เป็นอดีตก็ตาม เป็นปัจจุบันก็ตาม เป็นอนาคตก็ตาม

ความสำคัญของนิมิตในหลักพระพุทธศาสนา จึงมีความข้องเกี่ยวสำคัญกับ วิตก
จิตตรึกวิตกสิ่งใด ก็มีสิ่งนั้นเป็นเป็นอารมณ์ เป็นนิมิต

จิตมีวิตกไปกับ อดีตารมณ์ นิมิตนั้นก็คือนิมิตอันเกี่ยวกับอดีต
จิตมีวิตกไปกับ อารมณ์ในปัจจุบัน นิมิตนั้นก็คือนิมิตอันเกี่ยวกับปัจจุบัน
จิตมีวิตกไปกับ อนาคตารมณ์ นิมิตนั้นก็คือนิมิตอันเกี่ยวกับอนาคต (แล้วอันนี้ใครเขียน)


Buddha เขียน:
เพราะนิมิต นั้น ไม่ว่าจะได้รับรู้รับสัมผัสมาอย่างไร ก็จะจดจำไว้อย่างนั้น คือ จดจำ รูป,รส,กลิ่น,เสียงแสงสี,โผฏฐัพพะ,ธรรมมารมณ์ เอาไว้อย่างนั้น ไม่ปรุงแต่งว่า ชอบหรือไม่ขอบ ไม่ปรุงแต่งงามหรือไม่งามเพราะการปรุงแต่ง เมื่อได้สัมผัสนั้น คือการเกิด สังโยชน์ และนิวรณ์ธรรม


ผัสสะเป็นปัจจัย แก่เวทนา
เวทนาในสิ่งใด สัญญาก็จำในสิ่งนั้น วิญญาณก็รู้แจ้งในสิ่งนั้น
วิญญาณ มีสังขารเป็นปัจจัย ท่านไม่อาจหยุดการปรุงแต่งของท่านได้ตามความปราถนา
ด้วยสังขารนั้น ด้วยวิญญาณ และด้วยเวทนา เป็นปัจจัย ตัณหาย่อมเกิด

ดังนั้น บุคคลผู้มีกามาวจรจิต เป็นอกุศล ย่อมมีจิตกลุ้มรุมด้วยนิวรณ์ เป็นนิมิตเป็นอารมณ์ภายใน ^U^**


อ้อ....ที่แท้คุณก็นำมาจากตำรา แต่ไม่มีความเข้าใจในภาษาที่เขาเขียนไว้ แต่นำมากล่าวไม่ถูกต้อง
คุณยังไม่มีความเข้าใจในระบบการทำงานของสรีระร่างกายของมนุษย์
การได้รับการสัมผัสนั้น จะเกิดเวทนาคือ ความรู้สึกก็ได้ ไม่เกิดความรู้สึก็ได้ จะปรุงแต่งก็ได้ ไม่ปรุงแต่งก็ได้ ขึ้นอยู่ว่า บุคคลมีสมาธิ มีความรู้กี่มากน้อย หรือการสัมผัสบางอย่าง อาจทำให้เกิดความรู้สึก แต่ไม่ทำให้เกิดการปรุงแต่ง หรืออาจทำให้เกดความรู้สึกเพียงอึดใจ แต่ไม่ทำให้เกิดการปรุงแต่ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพจิตใจที่ได้รับการขัดเกลา และขึ้นอยู่กับสมาธิ และความรู้
คุณเขียนมาตามตำรา เรียกว่า ลอกมาจากตำราบางส่วน แล้วนำเอาความคิดที่ไม่ถูกต้องของคุณใส่ผสมลงไป
คุณจึงควรจำไว้ให้ดีว่า
"นิมิต" ไม่ได้ทำให้เกิดอารมณ์ และไม่ได้ทำให้เกิด ความรู้สึก
ความรู้สึก ก็ไม่ได้ก็ให้เกิดการจำเสมอไป ขึ้นอยู่กับว่า บุคคลมีฉันทะคือความพอใจรักใคร่ในความรู้สึกนั้นหรือไม่ ถ้าเกิดฉันทะ จึงจะเกิดเป็นความจำ หรือ บุคคล อาจไม่มีฉันทะ คือความไม่พอใจหรือไม่รักใคร่ในความรู้สึกนั้น คือไม่ชอบในความรู้สึกนั้น ก็อาจเกิดความจำได้ ขึ้นอยู่กับว่า เขาสนใจที่จะจำหรือไม่
การรับรู้ทางอายตนะทั้งหลาย ไม่ได้ทำให้เกิดการปรุงแต่ง และการปรุงแต่ง ก็ไม่ได้เป็นปัจจัยในการรับรู้ แต่ที่สามารถรับรู้ได้นั้น ก็เพราะระบบการทำงานของร่างกายหมายความว่า การปรุงแต่ง ของระบบการทำงานของร่างกาย เป็นปัจจัยทำให้สามารถรับรู้ได้ แต่รับรุ้เฉยๆ ยังไม่มีการปรุงแต่งเป็นอย่างอื่น เช่น เห็น ภูเขา ก็คือ ภูเขา ไม่ปรุงแต่งว่า ภูเขาสวย ภูเขาไม่สวย หรือ เห็นผู้หญิง ผู้ชาย ก็คือ เห็นผู้หญิง ผู้ชาย ไม่ปรุงแต่งว่า ผู้หญิง. ผู้ชาย สวย หล่อ อ้วน ต่ำ สูงอย่างนี้เป็นต้น

"นิมิต จะทำให้เกิดเป็นความรู้สึกก็ได้ ไม่ให้เกิดเป้นความรู้สึกก็ได้ เพราะ มนุษย์ สามารรถบังคับ ควบคุมตัวเองไม่เกิดความรู้สึกก็ได้ ไม่ให้คิดก็ได้ หรือจะทำให้เกิดความรู้สึกก็ได้ ให้เกิดความคิดก็ได้ เพราะเปผ้นธรรมชาติพื้นฐานที่มีอยู่ในตัวมนุษย์

จงจดจำและทำความเข้าใจไว้อีกอย่างหนึ่งนะ ผู้ใช้ชื่อว่า "เช่นนั้น"
สังขาร คือ การปรุงแต่ง แยกออกเป็นหลักสำคัญได้ ๒ อย่าง คือ
๑.การปรุงแต่งของระบบการทำงานแห่งสรีระร่างกาย หมายถึงการทำงานร่วมกันหรือผสมผสานกันของอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย จึงทำให้สามารรถรับรู้ จดจำ รูป ,รส,กลิ่น,เสียงเสียงสี,โผฏฐัพพะ,ธรรมารมณ์
๒. การปรุงแต่ง ตามเจตสิก คือปรุงแต่งตาม ความรู้ ความจำ หรือธรรมะ ที่มีอยู่ ในร่างกาย หรือ จะเรียกว่า การผสมผสานกันของความรู้ ความจำ หรือธรรมะ ที่มีอยู่ในร่างกาย
ดังนั้น นิมิต คือ การมองเห็นหรือได้รับสัมผัสตามความเป็นจริง ไม่มีการปรุงแต่ง
การนำนิมิต มาเป็นเครื่องมือ หรืออุปกรณ์ เพื่อการสร้าง ความรู้ ความเข้าใจ เพื่อให้เกิดปัญญา เพื่อละ หรือขจัด หรือกำจัด นิวรณ์ และสังโยชน์ ให้ดับไป ให้สูญสิ้นไป ให้หมดไป ไม่เหลือเชื้อ ฉะนี้้


แก้ไขล่าสุดโดย จ่าสิบตรี เทวฤทธิ์ เมื่อ 03 พ.ย. 2009, 14:33, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 พ.ย. 2009, 16:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


สวัสดีครับ คุณบูดตา

Buddha เขียน:
อ้อ....ที่แท้คุณก็นำมาจากตำรา แต่ไม่มีความเข้าใจในภาษาที่เขาเขียนไว้ แต่นำมากล่าวไม่ถูกต้อง
คุณยังไม่มีความเข้าใจในระบบการทำงานของสรีระร่างกายของมนุษย์ การได้รับการสัมผัสนั้น จะเกิดเวทนาคือ ความรู้สึกก็ได้ ไม่เกิดความรู้สึก็ได้ จะปรุงแต่งก็ได้ ไม่ปรุงแต่งก็ได้ ขึ้นอยู่ว่า บุคคลมีสมาธิ มีความรู้กี่มากน้อย หรือการสัมผัสบางอย่าง อาจทำให้เกิดความรู้สึก แต่ไม่ทำให้เกิดการปรุงแต่ง หรืออาจทำให้เกดความรู้สึกเพียงอึดใจ แต่ไม่ทำให้เกิดการปรุงแต่ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพจิตใจที่ได้รับการขัดเกลา และขึ้นอยู่กับสมาธิ และความรู้
คุณเขียนมาตามตำรา เรียกว่า ลอกมาจากตำราบางส่วน แล้วนำเอาความคิดที่ไม่ถูกต้องของคุณใส่ผสมลงไป


คุณบูดตา ก็ยังคงไม่เข้าใจ เรื่องจิต จึงนำมาปะปนกัน
บุคคลผู้เป็นอัมพฤต อัมพาต กายปสาทะอาจสูญเสียความรับรู้ทางการสัมผัส ท่านจะว่าอย่างไร บุคคลนั้นจะมีเวทนา หรือไม่มีเวทนา ปรุงแต่งหรือไม่ปรุงแต่ง?

พึงทำความเข้าใจเสียใหม่ ว่า จิตก็คือนามขันธ์
เวทนามี 3 คือสุข ทุกข์ อทุกขมสุข
อวิชชาเป็นปัจจัยให้เกิดสังขาร ปุญญาิภิสังขาร อปุญญาภิสังขาร หรืออวิชชาภิสังขาร

ซึ่งล้วนเป็นไปด้วยเหตุปัจจัย โดยไม่สามารถกำหนดกะเกณฑ์เอาตามความต้องการของใครได้

คุณนั่งเทียนตอบ ไม่อิงอรรถ ไม่อิงธรรม แล้วนำเอาความคิดที่ไม่ถูกต้องมาเขียน
คุณจึงควรอ่านให้ละเอียดว่า เช่นนั้น พิมพ์ว่าอย่างไร

นิมิต โดยความหมายคือ เขตแดนและอารมณ์แห่งวิตก
ไม่เคย บอกว่านิมิตทำให้เกิด ความรู้สึก ทำให้เกิดอารมณ์

เจตสิกธรรม อันเป็นส่วนแห่งสัญญาขันธ์ ความระลึก น้อมระลึก มนสิการ วิตก
เจตสิกธรรมเหล่านั้น อาศัยนิมิตอันเป็นอารมณ์ภายนอก ตัวนิมิตเองไม่ได้ไปทำให้สัญญาขันธ์นั้นเกิดแต่ประการใด

อายตนะภายใน เป็นปัจจัยแก่ผัสสะ ดังนั้น นิมิตอันเป็นอารมณ์ภายนอกจึงเป็นเพียงเขตแดนและอารมณ์

ผัสสะเป็นปัจจัยแก่เวทนา
เวทนา สัญญา วิญญาณ เป็นนามขันธ์ที่ปะปนกัน ไม่แยกจากกัน แต่บัญญัติหน้าที่ต่างกัน โดยไม่อาจเลือกว่า จะเอาเพียงสัญญา โดยไม่เอาเวทนา หรือจะเลือกมีเวทนา แต่ไม่เอาสัญญา

คุณจึงควรจำไว้ให้ดีว่า
คุณไม่อาจแยกนามขันธ์ที่เกิดในขณะจิตหนึ่ง ให้เป็นส่วนๆ ออกจากกันเหมือนแบ่งขนมเค็ก

สิ่งที่คุณบูดตา เขียนออกมาจึงไม่มีความรู้ธรรมชาติของจิตที่มีร่างกายเป็นที่อาศัยเลยแม้แต่น้อย

คุณบูดตา จงจดจำและทำความเข้าใจไว้ให้มากๆ ว่า

สังขาร มีอวิชชาเป็นปัจจัย มีปุญญาภิสังขาร อปุญญาภิสังขาร อเนญชาภิสังขาร กายสังขาร วจีสังขาร จิิตตสังขาร

นิมิตอันเป็นอารมณ์ภายนอก คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธัมมารมณ์ เป็นอดีตบ้าง เป็นปัจจุบันบ้าง เป็นอนาคตบ้าง

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 พ.ย. 2009, 16:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
นิมิต เป็นอารมณ์ภายใน เช่นนิมิตแห่งปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อรูปฌาน 4 เป็นต้น


เอรากอน เขียน:
ช่วยขยายเพิ่มเติมได้รึเปล่าคะ...
คุณอธิบายแล้ว ดูเหมือนคนสมองกระจิ๊ดริ๊ดอย่างเรา พอจะเข้าใจได้ง่ายจังค่ะ...


สวัสดีครับ คุณเอรากอน
นอกจากนิมิตอันเป็นอารมณ์ภายนอกที่เข้าใจ ได้ง่าย ว่า เป็นเขตแดนและอารมณ์แห่งวิตก ซึ่งหมายความว่า เป็นทีอาศัยแห่งสัญญาขันธ์

อีกนัยยะหนึ่ง คือนิมิตอันเป็นอารมณ์ภายใน เช่น ปฐมฌานนิมิต ทุติยฌานนิมิต จจุตตถฌานนิมิต แห่งรูปฌาน และอรูปฌานนิมิตทั้ง 4 ได้แก่ จตุตถฌาน อันเกิดร่วมเกิดพร้อมกับ อากาสานัญญจายตนะสัญญา หรือวิญญานัญญจายตนะสัญญา หรืออากิญจัญญายตนสัญญา หรือเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญา

รูปฌาน4 อรูปฌาน 4 เป็นโลกียนิมิตอันเป็นภายใน

ที่กล่าวว่า เป็นภายใน เพราะ รูปสัญญา สร้างรูปนิมิต และหลอมรวมกับเจตสิกธรรมอื่น ในรูปาวจรกุศลจิต
และ อรูปสัญญา สร้างอรูปนิมิต และหลอมรวมกับเจตสิกธรรมอื่น ในอรูปาวจรกุศลจิต

ชื่อว่าเป็นภายใน เพราะไม่อาศัยนิมิตอันเป็นอารมณ์ภายนอก คือรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธัมมารมณ์

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 พ.ย. 2009, 14:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


Buddha เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
สวัสดีครับ คุณบูดตา

Buddha เขียน:
Buddha............คัดค้านว่า
ที่ผู้ที่ใช้ชื่อว่า "เช่นนั้น"กล่าวไปข้างต้นทั้งหมด ไม่ถูกต้องขอรับ เพราะสิ่งที่คุณกล่าวมาทั้งหลด ไม่ใช่ลักษณะของนิมิต


ไม่ถูกต้อง ก็คงต้องมาอธิบายอีกทีหนึ่ง
ท่านบูดตา อ่านช้าๆ น๊ะครับ

เช่นนั้น ไม่เคยบอกว่า นิมิต คือจิตวิตก
เช่นนั้น พิมพ์ ว่า นิมิต เป็นเขตแดนและอารมณ์ แห่งวิตก

นิมิตอันเป็นอารมณ์ภายนอก จึงได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ เป็นอดีตก็ตาม เป็นปัจจุบันก็ตาม เป็นอนาคตก็ตาม

ความสำคัญของนิมิตในหลักพระพุทธศาสนา จึงมีความข้องเกี่ยวสำคัญกับ วิตก
จิตตรึกวิตกสิ่งใด ก็มีสิ่งนั้นเป็นเป็นอารมณ์ เป็นนิมิต

จิตมีวิตกไปกับ อดีตารมณ์ นิมิตนั้นก็คือนิมิตอันเกี่ยวกับอดีต
จิตมีวิตกไปกับ อารมณ์ในปัจจุบัน นิมิตนั้นก็คือนิมิตอันเกี่ยวกับปัจจุบัน
จิตมีวิตกไปกับ อนาคตารมณ์ นิมิตนั้นก็คือนิมิตอันเกี่ยวกับอนาคต (แล้วอันนี้ใครเขียน)


ผัสสะเป็นปัจจัย แก่เวทนา
เวทนาในสิ่งใด สัญญาก็จำในสิ่งนั้น วิญญาณก็รู้แจ้งในสิ่งนั้น
วิญญาณ มีสังขารเป็นปัจจัย ท่านไม่อาจหยุดการปรุงแต่งของท่านได้ตามความปราถนา
ด้วยสังขารนั้น ด้วยวิญญาณ และด้วยเวทนา เป็นปัจจัย ตัณหาย่อมเกิด

ดังนั้น บุคคลผู้มีกามาวจรจิต เป็นอกุศล ย่อมมีจิตกลุ้มรุมด้วยนิวรณ์ เป็นนิมิตเป็นอารมณ์ภายใน ^U^**


อ้อ....ที่แท้คุณก็นำมาจากตำรา แต่ไม่มีความเข้าใจในภาษาที่เขาเขียนไว้ แต่นำมากล่าวไม่ถูกต้อง
คุณยังไม่มีความเข้าใจในระบบการทำงานของสรีระร่างกายของมนุษย์
การได้รับการสัมผัสนั้น จะเกิดเวทนาคือ ความรู้สึกก็ได้ ไม่เกิดความรู้สึก็ได้ จะปรุงแต่งก็ได้ ไม่ปรุงแต่งก็ได้ ขึ้นอยู่ว่า บุคคลมีสมาธิ มีความรู้กี่มากน้อย หรือการสัมผัสบางอย่าง อาจทำให้เกิดความรู้สึก แต่ไม่ทำให้เกิดการปรุงแต่ง หรืออาจทำให้เกดความรู้สึกเพียงอึดใจ แต่ไม่ทำให้เกิดการปรุงแต่ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพจิตใจที่ได้รับการขัดเกลา และขึ้นอยู่กับสมาธิ และความรู้
คุณเขียนมาตามตำรา เรียกว่า ลอกมาจากตำราบางส่วน แล้วนำเอาความคิดที่ไม่ถูกต้องของคุณใส่ผสมลงไป
คุณจึงควรจำไว้ให้ดีว่า
"นิมิต" ไม่ได้ทำให้เกิดอารมณ์ และไม่ได้ทำให้เกิด ความรู้สึก
ความรู้สึก ก็ไม่ได้ก็ให้เกิดการจำเสมอไป ขึ้นอยู่กับว่า บุคคลมีฉันทะคือความพอใจรักใคร่ในความรู้สึกนั้นหรือไม่ ถ้าเกิดฉันทะ จึงจะเกิดเป็นความจำ หรือ บุคคล อาจไม่มีฉันทะ คือความไม่พอใจหรือไม่รักใคร่ในความรู้สึกนั้น คือไม่ชอบในความรู้สึกนั้น ก็อาจเกิดความจำได้ ขึ้นอยู่กับว่า เขาสนใจที่จะจำหรือไม่
การรับรู้ทางอายตนะทั้งหลาย ไม่ได้ทำให้เกิดการปรุงแต่ง และการปรุงแต่ง ก็ไม่ได้เป็นปัจจัยในการรับรู้ แต่ที่สามารถรับรู้ได้นั้น ก็เพราะระบบการทำงานของร่างกายหมายความว่า การปรุงแต่ง ของระบบการทำงานของร่างกาย เป็นปัจจัยทำให้สามารถรับรู้ได้ แต่รับรุ้เฉยๆ ยังไม่มีการปรุงแต่งเป็นอย่างอื่น เช่น เห็น ภูเขา ก็คือ ภูเขา ไม่ปรุงแต่งว่า ภูเขาสวย ภูเขาไม่สวย หรือ เห็นผู้หญิง ผู้ชาย ก็คือ เห็นผู้หญิง ผู้ชาย ไม่ปรุงแต่งว่า ผู้หญิง. ผู้ชาย สวย หล่อ อ้วน ต่ำ สูงอย่างนี้เป็นต้น

"นิมิต จะทำให้เกิดเป็นความรู้สึกก็ได้ ไม่ให้เกิดเป้นความรู้สึกก็ได้ เพราะ มนุษย์ สามารรถบังคับ ควบคุมตัวเองไม่เกิดความรู้สึกก็ได้ ไม่ให้คิดก็ได้ หรือจะทำให้เกิดความรู้สึกก็ได้ ให้เกิดความคิดก็ได้ เพราะเปผ้นธรรมชาติพื้นฐานที่มีอยู่ในตัวมนุษย์

จงจดจำและทำความเข้าใจไว้อีกอย่างหนึ่งนะ ผู้ใช้ชื่อว่า "เช่นนั้น"
สังขาร คือ การปรุงแต่ง แยกออกเป็นหลักสำคัญได้ ๒ อย่าง คือ
๑.การปรุงแต่งของระบบการทำงานแห่งสรีระร่างกาย หมายถึงการทำงานร่วมกันหรือผสมผสานกันของอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย จึงทำให้สามารรถรับรู้ จดจำ รูป ,รส,กลิ่น,เสียงเสียงสี,โผฏฐัพพะ,ธรรมารมณ์
๒. การปรุงแต่ง ตามเจตสิก คือปรุงแต่งตาม ความรู้ ความจำ หรือธรรมะ ที่มีอยู่ ในร่างกาย หรือ จะเรียกว่า การผสมผสานกันของความรู้ ความจำ หรือธรรมะ ที่มีอยู่ในร่างกาย
ดังนั้น นิมิต คือ การมองเห็นหรือได้รับสัมผัสตามความเป็นจริง ไม่มีการปรุงแต่ง
[b]การนำนิมิต มาเป็นเครื่องมือ หรืออุปกรณ์ เพื่อการสร้าง ความรู้ ความเข้าใจ เพื่อให้เกิดปัญญา เพื่อละ หรือขจัด หรือกำจัด นิวรณ์ และสังโยชน์ ให้ดับไป ให้สูญสิ้นไป ให้หมดไป ไม่เหลือเชื้อ ฉนี้
[b]
ท่านผู้ใช่ชื่อว่าา "เช่นนั้น"ขอรับ ตัวท่านนั้น มีมิจฉาทิฏฐิ ไม่พอ ยังอ่าภาษาไทยไม่รู้เรื่อง ไม่รู้ว่า อันไหนเป็นธรรม อันไหนไม่ใช่ธรรม สิ่งที่ข้าพเจ้าเขียน เขียนตามธรรม เป็นภาษาไทย ไม่อ้างอิงธรรมสเพราะการอ้างอิงธรรม อย่างคุณนั้น มันเป็นการอวดอุตริ ตัวคุณไม่ได้รู้เรื่อง คือไม่ได้มีความรู้เกี่ยวกับจิต อะไรเลย อ่านดูก็รู้แล้ว

คุณผู้ใช่้ชื่อว่า "เช่นนั้น" กล่าวว่า
"คุณบูดตา ก็ยังคงไม่เข้าใจ เรื่องจิต จึงนำมาปะปนกัน
บุคคลผู้เป็นอัมพฤต อัมพาต กายปสาทะอาจสูญเสียความรับรู้ทางการสัมผัส ท่านจะว่าอย่างไร บุคคลนั้นจะมีเวทนา หรือไม่มีเวทนา ปรุงแต่งหรือไม่ปรุงแต่ง"

ข้าพเจ้า Buddha จึงรู้ว่า คุณผู้ใช้ชื่อว่า เช่นนั้น ไม่ได้มีความรู้อะไรเกี่ยวกับเรื่องจิตเลย จึงได้กล่าวมาเช่นนั้น แถมยังอวดฉลาด
ตั้งคำถามเกี่ยวกับผู้เป็นอัมพฤกษ์ อำพาต แสดงให้เห็นถึงความไม่รู้ในหลักความจริงที่ว่า เขาเหล่านั้น แมัจะเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต แต่ประสาทการรับรู้ของเขา ทางอายตนะ คือ หู ตา จมูก ลิ้น และใจ รวมถึงสมอง ยังมีอยู่ หากไม่ชำรุดเสียหายไปเพราะอาการป่่วย ส่วนประสาทรับสัมผัสทางกายนั้น ซึ่งย่อมเกี่ยวข้องกับหัวใจและสมอง และเส้นประสาทไขสันหลัง ก็จะมีส่วนที่ป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต เท่านั้น ที่ไม่สามารถรับความรู้สึกได้ดีเท่าปกติ คุณก็ไปคิดเอาว่า เขาเหล่านั้น จะมีเวทนา หรือไม่มีเวทนา จะมีการปรุงแต่งหรือไม่มีการปรุงแต่ง
สิ่งที่คุณพล่ามเพ้อเจ้อมาน้ัน ก็เป็นเพียง ความคิดที่เรียกว่า สติเพื่องของคุณเท่านั้น คุณไปนำเอาข้อความจากประไตรปิฏกที่หนึ่ง มาผสมกับในอีกที่หนึ่ง รวมไปถึงความเข้าใจที่สติเฟื่องของคุณ มาเขียนมั่ว สิ่งที่คุณเขียนมาไม่มีในพระไตรปิฏก ส่วนที่ข้าาพเจ้าเขียน มีอยู่ในพระไตรปิฏก เพียงแต่ข้าพเจ้า เขียนในสำนวนภาษาไทยเท่านั้น

เอาละ ในเมื่อคุณผู้ชื่อว่า เช่นนั้น พล่ามคุยโวโอ้อวดว่า รู้เดรื่องจิต ดี ไหนขอถามหน่อยซิว่า
จิต คืออะไร เกี่ยวข้อง กับอวัยวะต่่างๆ ภายในร่างกายของคนเราหรือไม่ และ จิต สามารถทำให้เกิด เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ หรือไม่ (สองคำถามนะอ่านให้ดี)
อย่าตอบแบบ ดิ้นได้ไม่ตายตัว ตอบแบบตรงๆ


แก้ไขล่าสุดโดย จ่าสิบตรี เทวฤทธิ์ เมื่อ 04 พ.ย. 2009, 15:01, แก้ไขแล้ว 3 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 พ.ย. 2009, 17:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Buddha เขียน:
คุณยังไม่มีความเข้าใจในระบบการทำงานของสรีระร่างกายของมนุษย์
การได้รับการสัมผัสนั้น จะเกิดเวทนาคือ ความรู้สึกก็ได้ ไม่เกิดความรู้สึก็ได้ จะปรุงแต่งก็ได้ ไม่ปรุงแต่งก็ได้ ขึ้นอยู่ว่า บุคคลมีสมาธิ มีความรู้กี่มากน้อย หรือการสัมผัสบางอย่าง อาจทำให้เกิดความรู้สึก แต่ไม่ทำให้เกิดการปรุงแต่ง หรืออาจทำให้เกดความรู้สึกเพียงอึดใจ แต่ไม่ทำให้เกิดการปรุงแต่ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพจิตใจที่ได้รับการขัดเกลา และขึ้นอยู่กับสมาธิ


แถมยังอวดฉลาด
ตั้งคำถามเกี่ยวกับผู้เป็นอัมพฤกษ์ อำพาต แสดงให้เห็นถึงความไม่รู้ในหลักความจริงที่ว่า เขาเหล่านั้น แมัจะเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต แต่ประสาทการรับรู้ของเขา ทางอายตนะ คือ หู ตา จมูก ลิ้น และใจ รวมถึงสมอง ยังมีอยู่ หากไม่ชำรุดเสียหายไปเพราะอาการป่่วย ส่วนประสาทรับสัมผัสทางกายนั้น ซึ่งย่อมเกี่ยวข้องกับหัวใจและสมอง และเส้นประสาทไขสันหลัง ก็จะมีส่วนที่ป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต เท่านั้น ที่ไม่สามารถรับความรู้สึกได้ดีเท่าปกติ คุณก็ไปคิดเอาว่า เขาเหล่านั้น จะมีเวทนา หรือไม่มีเวทนา จะมีการปรุงแต่งหรือไม่มีการปรุงแต่ง :b17: :b17:


คำถามเดิม
บุคคลผู้เป็นอัมพฤต อัมพาต กายปสาทะอาจสูญเสียความรับรู้ทางการสัมผัส ท่านจะว่าอย่างไร บุคคลนั้นจะมีเวทนา หรือไม่มีเวทนา ปรุงแต่งหรือไม่ปรุงแต่ง?
ท่านจะอธิบายอย่่างไรต่อไปอีก :b12: :b16: :b4: :b4:
แต่คำตอบอธิบายท่านไม่เหมือนเดิม และไม่มีคำอธิบายเกี่ยวกับ จิต ท่านจะนั่งเทียนไปถึงไหนอีก

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


แก้ไขล่าสุดโดย เช่นนั้น เมื่อ 04 พ.ย. 2009, 17:03, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 พ.ย. 2009, 17:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ย. 2009, 00:37
โพสต์: 86

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


cool

นั้นสิครับน่าสนใจ ในคำถามของคุณเช่นนั้น ผมมีเพื่อนที่ประสบอุบัติเหตุต้องผ่าตัดที่ศรีษะ ทำให้เขาสูญเสียความสามารถในการดมกลิ่นไป ผมยืนคอยรถกับเพื่อนข้างกองขยะซึ่งเหม็นมากจนผมทนไม่ไหวชวนเขาไปยืนที่อื่น ถามเขาว่าไม่เหม็นหรือ เขาบอกว่าไม่ได้กลิ่นอะไรเลยเพราะเขาสูญเสียระบบการรับรู้กลิ่นไป เขาถามว่าเหม็นมากเลยหรือถึงต้องเดินหนี ดั้งนั้นเพื่อนผมคนนี้เรียกว่าธรรมารมณ์ในด้านกลิ่นไม่ต้องพูดกับเขาเลยครับ ต้องให้ท่าน บุดดาช่วยอธิบายละครับในกรณีแบบนี้ครับ

.....................................................
....ถ้าไม่ทำสัญญาให้เป็นปัญญา ทำอย่างไรก็เป็นกามสัญญา......


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 พ.ย. 2009, 13:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


Buddha เขียน:
Buddha เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
สวัสดีครับ คุณบูดตา

Buddha เขียน:
Buddha............คัดค้านว่า
ที่ผู้ที่ใช้ชื่อว่า "เช่นนั้น"กล่าวไปข้างต้นทั้งหมด ไม่ถูกต้องขอรับ เพราะสิ่งที่คุณกล่าวมาทั้งหลด ไม่ใช่ลักษณะของนิมิต


ไม่ถูกต้อง ก็คงต้องมาอธิบายอีกทีหนึ่ง
ท่านบูดตา อ่านช้าๆ น๊ะครับ

เช่นนั้น ไม่เคยบอกว่า นิมิต คือจิตวิตก
เช่นนั้น พิมพ์ ว่า นิมิต เป็นเขตแดนและอารมณ์ แห่งวิตก

นิมิตอันเป็นอารมณ์ภายนอก จึงได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ เป็นอดีตก็ตาม เป็นปัจจุบันก็ตาม เป็นอนาคตก็ตาม

ความสำคัญของนิมิตในหลักพระพุทธศาสนา จึงมีความข้องเกี่ยวสำคัญกับ วิตก
จิตตรึกวิตกสิ่งใด ก็มีสิ่งนั้นเป็นเป็นอารมณ์ เป็นนิมิต

จิตมีวิตกไปกับ อดีตารมณ์ นิมิตนั้นก็คือนิมิตอันเกี่ยวกับอดีต
จิตมีวิตกไปกับ อารมณ์ในปัจจุบัน นิมิตนั้นก็คือนิมิตอันเกี่ยวกับปัจจุบัน
จิตมีวิตกไปกับ อนาคตารมณ์ นิมิตนั้นก็คือนิมิตอันเกี่ยวกับอนาคต (แล้วอันนี้ใครเขียน)


ผัสสะเป็นปัจจัย แก่เวทนา
เวทนาในสิ่งใด สัญญาก็จำในสิ่งนั้น วิญญาณก็รู้แจ้งในสิ่งนั้น
วิญญาณ มีสังขารเป็นปัจจัย ท่านไม่อาจหยุดการปรุงแต่งของท่านได้ตามความปราถนา
ด้วยสังขารนั้น ด้วยวิญญาณ และด้วยเวทนา เป็นปัจจัย ตัณหาย่อมเกิด

ดังนั้น บุคคลผู้มีกามาวจรจิต เป็นอกุศล ย่อมมีจิตกลุ้มรุมด้วยนิวรณ์ เป็นนิมิตเป็นอารมณ์ภายใน ^U^**


อ้อ....ที่แท้คุณก็นำมาจากตำรา แต่ไม่มีความเข้าใจในภาษาที่เขาเขียนไว้ แต่นำมากล่าวไม่ถูกต้อง
คุณยังไม่มีความเข้าใจในระบบการทำงานของสรีระร่างกายของมนุษย์
การได้รับการสัมผัสนั้น จะเกิดเวทนาคือ ความรู้สึกก็ได้ ไม่เกิดความรู้สึก็ได้ จะปรุงแต่งก็ได้ ไม่ปรุงแต่งก็ได้ ขึ้นอยู่ว่า บุคคลมีสมาธิ มีความรู้กี่มากน้อย หรือการสัมผัสบางอย่าง อาจทำให้เกิดความรู้สึก แต่ไม่ทำให้เกิดการปรุงแต่ง หรืออาจทำให้เกดความรู้สึกเพียงอึดใจ แต่ไม่ทำให้เกิดการปรุงแต่ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพจิตใจที่ได้รับการขัดเกลา และขึ้นอยู่กับสมาธิ และความรู้
คุณเขียนมาตามตำรา เรียกว่า ลอกมาจากตำราบางส่วน แล้วนำเอาความคิดที่ไม่ถูกต้องของคุณใส่ผสมลงไป
คุณจึงควรจำไว้ให้ดีว่า
"นิมิต" ไม่ได้ทำให้เกิดอารมณ์ และไม่ได้ทำให้เกิด ความรู้สึก
ความรู้สึก ก็ไม่ได้ก็ให้เกิดการจำเสมอไป ขึ้นอยู่กับว่า บุคคลมีฉันทะคือความพอใจรักใคร่ในความรู้สึกนั้นหรือไม่ ถ้าเกิดฉันทะ จึงจะเกิดเป็นความจำ หรือ บุคคล อาจไม่มีฉันทะ คือความไม่พอใจหรือไม่รักใคร่ในความรู้สึกนั้น คือไม่ชอบในความรู้สึกนั้น ก็อาจเกิดความจำได้ ขึ้นอยู่กับว่า เขาสนใจที่จะจำหรือไม่
การรับรู้ทางอายตนะทั้งหลาย ไม่ได้ทำให้เกิดการปรุงแต่ง และการปรุงแต่ง ก็ไม่ได้เป็นปัจจัยในการรับรู้ แต่ที่สามารถรับรู้ได้นั้น ก็เพราะระบบการทำงานของร่างกายหมายความว่า การปรุงแต่ง ของระบบการทำงานของร่างกาย เป็นปัจจัยทำให้สามารถรับรู้ได้ แต่รับรุ้เฉยๆ ยังไม่มีการปรุงแต่งเป็นอย่างอื่น เช่น เห็น ภูเขา ก็คือ ภูเขา ไม่ปรุงแต่งว่า ภูเขาสวย ภูเขาไม่สวย หรือ เห็นผู้หญิง ผู้ชาย ก็คือ เห็นผู้หญิง ผู้ชาย ไม่ปรุงแต่งว่า ผู้หญิง. ผู้ชาย สวย หล่อ อ้วน ต่ำ สูงอย่างนี้เป็นต้น

"นิมิต จะทำให้เกิดเป็นความรู้สึกก็ได้ ไม่ให้เกิดเป้นความรู้สึกก็ได้ เพราะ มนุษย์ สามารรถบังคับ ควบคุมตัวเองไม่เกิดความรู้สึกก็ได้ ไม่ให้คิดก็ได้ หรือจะทำให้เกิดความรู้สึกก็ได้ ให้เกิดความคิดก็ได้ เพราะเปผ้นธรรมชาติพื้นฐานที่มีอยู่ในตัวมนุษย์

จงจดจำและทำความเข้าใจไว้อีกอย่างหนึ่งนะ ผู้ใช้ชื่อว่า "เช่นนั้น"
สังขาร คือ การปรุงแต่ง แยกออกเป็นหลักสำคัญได้ ๒ อย่าง คือ
๑.การปรุงแต่งของระบบการทำงานแห่งสรีระร่างกาย หมายถึงการทำงานร่วมกันหรือผสมผสานกันของอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย จึงทำให้สามารรถรับรู้ จดจำ รูป ,รส,กลิ่น,เสียงเสียงสี,โผฏฐัพพะ,ธรรมารมณ์
๒. การปรุงแต่ง ตามเจตสิก คือปรุงแต่งตาม ความรู้ ความจำ หรือธรรมะ ที่มีอยู่ ในร่างกาย หรือ จะเรียกว่า การผสมผสานกันของความรู้ ความจำ หรือธรรมะ ที่มีอยู่ในร่างกาย
ดังนั้น นิมิต คือ การมองเห็นหรือได้รับสัมผัสตามความเป็นจริง ไม่มีการปรุงแต่ง
[b]การนำนิมิต มาเป็นเครื่องมือ หรืออุปกรณ์ เพื่อการสร้าง ความรู้ ความเข้าใจ เพื่อให้เกิดปัญญา เพื่อละ หรือขจัด หรือกำจัด นิวรณ์ และสังโยชน์ ให้ดับไป ให้สูญสิ้นไป ให้หมดไป ไม่เหลือเชื้อ ฉนี้
[b]
ท่านผู้ใช่ชื่อว่าา "เช่นนั้น"ขอรับ ตัวท่านนั้น มีมิจฉาทิฏฐิ ไม่พอ ยังอ่าภาษาไทยไม่รู้เรื่อง ไม่รู้ว่า อันไหนเป็นธรรม อันไหนไม่ใช่ธรรม สิ่งที่ข้าพเจ้าเขียน เขียนตามธรรม เป็นภาษาไทย ไม่อ้างอิงธรรมสเพราะการอ้างอิงธรรม อย่างคุณนั้น มันเป็นการอวดอุตริ ตัวคุณไม่ได้รู้เรื่อง คือไม่ได้มีความรู้เกี่ยวกับจิต อะไรเลย อ่านดูก็รู้แล้ว

คุณผู้ใช่้ชื่อว่า "เช่นนั้น" กล่าวว่า
"คุณบูดตา ก็ยังคงไม่เข้าใจ เรื่องจิต จึงนำมาปะปนกัน
บุคคลผู้เป็นอัมพฤต อัมพาต กายปสาทะอาจสูญเสียความรับรู้ทางการสัมผัส ท่านจะว่าอย่างไร บุคคลนั้นจะมีเวทนา หรือไม่มีเวทนา ปรุงแต่งหรือไม่ปรุงแต่ง"

ข้าพเจ้า Buddha จึงรู้ว่า คุณผู้ใช้ชื่อว่า เช่นนั้น ไม่ได้มีความรู้อะไรเกี่ยวกับเรื่องจิตเลย จึงได้กล่าวมาเช่นนั้น แถมยังอวดฉลาด
ตั้งคำถามเกี่ยวกับผู้เป็นอัมพฤกษ์ อำพาต แสดงให้เห็นถึงความไม่รู้ในหลักความจริงที่ว่า เขาเหล่านั้น แมัจะเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต แต่ประสาทการรับรู้ของเขา ทางอายตนะ คือ หู ตา จมูก ลิ้น และใจ รวมถึงสมอง ยังมีอยู่ หากไม่ชำรุดเสียหายไปเพราะอาการป่่วย ส่วนประสาทรับสัมผัสทางกายนั้น ซึ่งย่อมเกี่ยวข้องกับหัวใจและสมอง และเส้นประสาทไขสันหลัง ก็จะมีส่วนที่ป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต เท่านั้น ที่ไม่สามารถรับความรู้สึกได้ดีเท่าปกติ คุณก็ไปคิดเอาว่า เขาเหล่านั้น จะมีเวทนา หรือไม่มีเวทนา จะมีการปรุงแต่งหรือไม่มีการปรุงแต่ง
สิ่งที่คุณพล่ามเพ้อเจ้อมาน้ัน ก็เป็นเพียง ความคิดที่เรียกว่า สติเพื่องของคุณเท่านั้น คุณไปนำเอาข้อความจากประไตรปิฏกที่หนึ่ง มาผสมกับในอีกที่หนึ่ง รวมไปถึงความเข้าใจที่สติเฟื่องของคุณ มาเขียนมั่ว สิ่งที่คุณเขียนมาไม่มีในพระไตรปิฏก ส่วนที่ข้าพเจ้าเขียน มีอยู่ในพระไตรปิฏก เพียงแต่ข้าพเจ้า เขียนในสำนวนภาษาไทยเท่านั้น

เอาละ ในเมื่อคุณผู้ชื่อว่า เช่นนั้น พล่ามคุยโวโอ้อวดว่า รู้เดรื่องจิต ดี ไหนขอถามหน่อยซิว่า
จิต คืออะไร เกี่ยวข้อง กับอวัยวะต่่างๆ ภายในร่างกายของคนเราหรือไม่ และ จิต สามารถทำให้เกิด เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ หรือไม่ (สองคำถามนะอ่านให้ดี)
อย่าตอบแบบ ดิ้นได้ไม่ตายตัว ตอบแบบตรงV
ฮ่า ฮ่า ฮ่า เจ้าผู้ใช้ชื่อว่าา "เช่นนั้น" เอ๋ย เจ้ามันสติเฟื่อง เขลาแล้วอวดฉลาด ตอบไม่ได้ใช่ไหมละ คำถามที่ข้าพเจ้าถามด้านบนนี้ ขนาดภาษาไทย เจ้ายังอ่านแล้วไม่เข้าใจ แล้วเจ้าอ่านพระไตรปิฎกก็ย่อมไม่เกิดความเข้าใจเช่นกัน ทำเป็นย้อนถาม ก็เจ่าเป็นผู้อวดฉลาดว่า รู้เรื่องจิต ดี แถมยังกล่าวว่าข้าพเจ้ามั่่วเอามาผสมกันอย่างไรละ เจ่าไม่ได้มีความรู้ อะไรเลย สักแต่ว่าเขียน แต่จำไม่ได้ว่าตัวเองเขียนอะไร แถมยัง สติเฟื่อง คิดว่าตัวเจ้าฉลาดกว่า อยากอวดเก่ง

ในเรื่องของ อัมพฤกษ์ อัมพาต ข้าพเจ้าก็ตอบชัดเจนอยู่แล้ว เพียงแต่ไม่เขียน ในรายละเอียด ให้พวกเจ้ากลับไปอ่านที่ได้ตอบไปข้างต้น แล้วพิจารณาเอาเอง เพราะคำตอบชัดเจนอยู่แล้ว ถ้าอยากได้รายละเอียอ มากกว่านั้น ก็เอาข้อความที่ข้าพจ้าเขียนตอบ ไปพบแพทย์แล้วถามแพทย์ดูซิว่า ที่ข้าพเจ้าขียนตอบด้านบน เกี่ยวกับผู้ป่วยเป็น อัมพฤกษ์ อัมพาตนั้น ถูกต้องหรือไม่ และที่ข้าพเจ้าเขียนตอบนั้น ก็มีสิ่งที่พวกเจ้าต้องการคำตอบอยู่ในต้วอยู่แล้ว


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 พ.ย. 2009, 15:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Onion_L :b9: :b9:

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 พ.ย. 2009, 21:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เรายังมองไม่เห็นความสวัสดี
จักมีแก่สัตว์ทั้งหลาย
นอกจากปัญญาและความเพียร
นอกจากความสำรวมอินทรีย์
และความสละวางทุกสิ่งทุกอย่าง



เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 พ.ย. 2009, 12:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


มหาราชันย์ เขียน:
เรายังมองไม่เห็นความสวัสดี
จักมีแก่สัตว์ทั้งหลาย
นอกจากปัญญาและความเพียร
นอกจากความสำรวมอินทรีย์
และความสละวางทุกสิ่งทุกอย่าง



เจริญในธรรมครับ


เจ้าจะมองความสวัสดีของสัตว์ทั้งหลายอยู่ใย
จงมองตัวของเจ้าเองเถิด เพราะนั่นหมายถึง ความเพียร และปัญญาในตัวเจ้า จะจำเริญเพิ่มพูนผล
เจ้าจะสำรวมอินทรีย์อยู่ใย
เจ้าจงมองตัวเจ้า และ มองดูสิ่งรอบข้างของตัวเจ้า
แล้วเจ้าก็จะพบกับความสวัสดี
เจ้าจะสละวางทุกสิ่งลงได้อย่างไร ในเมื่อเจ้าก็เป็นเพียงแค่มนุษย์ธรรมดาคนหนึ่ง
แต่เจ้าเข้ามาเขียนอะไรต่อมิอะไรในเวบฯต่างๆ ก็แสดงความ เจ้ามันก็แค่คนดีแต่พูดเท่านั้น
เจ้าจงยึดถือสิ่งที่ควรยึดถือ สละวางสิ่งที่ควรสละวาง ด้วยความเพียรเถิด แล้วปัญญา ย่อมจำเริญเพิ่มพูนผล ต่อตัวเจ้า ฉะนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 พ.ย. 2009, 15:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


จิตของสุพรหมเทพบุตรเร่าร้อนด้วยความขัดเคือง
เพราะทราบว่า อีก 7 วันข้างหน้า สุพรหมเทพบุตรพร้อมด้วยนางเทพอัปสรบริวาร 250 นาง จะจุติไปสู่อวเจีมหานรก เทพทั้งหมดนี้ไม่มีที่พึ่งอื่นใด นอกจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเพียงพระองค์เดียวที่ระลึกได้


สุพรหมเทพบุตรพร้อมด้วยนางเทพอัปสรบริวาร 250 นาง ไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วทูลถามปัญหาว่า


:b41: " จิตนี้สะดุ้งอยู่เป็นนิตย์
ใจนี้หวาดเสียวอยู่เป็นนิตย์
ทั้งเมื่อกิจไม่เกิดขึ้น
ทั้งเมื่อเกิดขึ้นแล้วก็ตาม
ถ้าความไม่สะดุ้งกลัวมีอยู่
ข้าพระองค์ทูลถามแล้ว โปรดตรัสบอก
ความไม่สะดุ้งกลัวนั้น แก่ข้าพระองค์เถิด "




พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรัสพระธรรมเทศนาตอบเป็นคาถาว่า...

:b41: " เรายังมองไม่เห็นความสวัสดี
จักมีแก่สัตว์ทั้งหลาย
นอกจากปัญญาและความเพียร
นอกจากความสำรวมอินทรีย์
และความสละวางทุกสิ่งทุกอย่าง "



ครั้นจบพระธรรมเทศนา สุพรหมเทพบุตรพร้อมด้วยนางเทพอัปสรบริวาร 250 นาง ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล ปิดประตูอบายได้ รักษาทิพย์สมบัติเอาไว้ได้



แต่คุณ Buddha อ่านแล้วฟังแล้ว กลับหงุดหงิดขัดเคือง ฟุ้งซ่านไปไกล ไม่ชื่นชมยินดีในพุทธภาษิตแห่งพระธรรมเทศนานี้



ผมอ่านแล้วชอบเลยนำมาฝากท่านผู้อ่านด้วยความเป็นกัลยาณมิตรแค่นั้นเองครับ
ใครชอบก็อนุโมทนา กุศลจิตย่อมเกิดแก่ผู้นั้น
ใครหงุดหงิดขัดเคือง ก็ไปตามยถากรรมของผู้นั้น ไม่ว่ากันครับ



อนิมิตฺตญฺจ ภาเวหิ
มานานุสยมุชฺชห
ตโต มานาภิสมยา
อุปสนฺโต จริสฺสสิ



เธอจงเจริญอนิมิตตวิปัสสนา
(พิจารณาโดยความเป็นของไม่เที่ยง)
จงละมานานุสัยเสีย
แต่นั้นเธอจักเป็นผู้เข้าไปสงบ
เที่ยวไปเพราะละมานะเสียได้ ดังนี้.




เจริญในธรรมครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 พ.ย. 2009, 23:13 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
ผมอ่านแล้วชอบเลยนำมาฝากท่านผู้อ่านด้วยความเป็นกัลยาณมิตรแค่นั้นเองครับ
ใครชอบก็อนุโมทนา กุศลจิตย่อมเกิดแก่ผู้นั้น
ใครหงุดหงิดขัดเคือง ก็ไปตามยถากรรมของผู้นั้น ไม่ว่ากันครับ


รีบ..สาธุ..ดีกว่า.. :b12: :b12: :b12:

ส่วนคุณ ปุด ๆ จะอย่างงัย..ก็ปล่อยไปเถอะคับ.. :b4: :b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 พ.ย. 2009, 20:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


ฮา ฮา ฮา พล่ามเพ้อเจ้อ อวดรู้ อวดฉลาด โรคจิตประสาท ชนิดหนึ่ง
ข้าพเจ้าเขียนทุกอย่างทุกตอน ไม่ใช่เพราะความไม่พอใจหรือขัดเคืองใจ
แต่ก็ไม่อยากบอกว่าเขียนเพราะอะไร
ให้ผู้ใช้ชื่อว่า "มหาราชันย์" กลับไปอ่านที่ตัวคุณเขียน แล้วก็กลับไปอ่านที่ข้าพเจ้าเขียนแล้วพิจารณาให้ดี

ข้าพเจ้ามองดูตัวหนังสือที่พวกคุณโพสมา ก็พอจะรู้ว่า สภาพสภาวะจิตใจของพวกคุณเป็นอย่างไร อ่านดูก็รู้แล้ว ว่าผู้ใช้ชื่อว่า "มหาราชันย์" ฟุ้งซ่าน เพ้อเจ้อ ชื่อที่ใช้ก็เป็นเหมือนนักปกครองที่ดีนะ แต่ความคิดเป็นเพียงแค่กุลี แบกหามเท่านั้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 พ.ย. 2009, 21:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2009, 20:26
โพสต์: 1589

แนวปฏิบัติ: อรหัตตมัคค
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระไตรปิฎก
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


สวัสดีครับคุณบุดดา

ขอบคุณในคำวินิจฉัยครับ

รับทราบครับ กุลีก็กุลี




คนผู้แสวงหาความสุขเพื่อตนพึงกำจัดความรำพัน
ความทะยานอยากและความโทมนัสของตน
พึงถอนลูกศร คือกิเลสของตนเสีย
เป็นผู้มีลูกศร คือ กิเลสอันถอนขึ้นแล้ว
อันตัณหาและทิฐิ ไม่อาศัยแล้ว
ถึงความสงบใจ ก้าวล่วงความเศร้าโศกได้ทั้งหมด
เป็นผู้ไม่มีความเศร้าโศกย่อมจักเยือกเย็น ฉะนี้แลฯ ”


เจริญในธรรมครับ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 63 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร