วันเวลาปัจจุบัน 05 พ.ค. 2025, 19:02  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


รวมกระทู้จากบอร์ดเก่า http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=2



กลับไปยังกระทู้  [ 56 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ต.ค. 2009, 22:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 07 เม.ย. 2009, 22:00
โพสต์: 407

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
คงจะได้ประโยชน์อยู่หรอกนะ
:b12: :b12:

:b16: :b16:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ต.ค. 2009, 10:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ท่าน กบฯ และท่านอายะ :b16: :b12:

กรัชกายกับท่าน Buddha สู้กันมาจนรู้ทางกันแล้ว ช่วงแรกๆบาดเจ็บภายในด้วยกันทั้งคู่

กรัชกายขึ้นเขาขึ้นดอย ท่าน Buddha ไปเข้าสมาบัติ :b32:

แต่คราวนี้ท่านบุดฯ ไม่รอดแน่ ดีไม่ดีอาจต้องไปนิพพาน (นิพพานของท่านบุดฯ ไม่ใช่

นิพพานแบบพุทธะ)

รอท่านตอบคำถามสอง คห. นั่นก่อน ปัญหานี้ท่านเรียกว่า ยืมหอกทมิฬแทงทมิฬ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 16 ต.ค. 2009, 10:56, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ต.ค. 2009, 20:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


ฮ่า ฮา ฮ่า ขออภัยนะขอรับ เจ้า ผู้ใช้ชื่อว่ากรัชกาย ใครไปสู้กับเจ้า เจ้าคิดของเจ้าเองนะขอรับ
แล้วเจ้ายังมีหน้า อวดอุตริฯ ทำเป็นรู้เรื่อง นิพพาน ซะด้วย เจ้า บรรลุนิพพานแล้วหรือ
ธรรมที่ข้าพเจ้าเขียนขึ้น ก็อยู่ในหลักพุทธศาสนา ทั้งนั้น ความถือดี ถือมั่น ของเจ้า ขจัดซะบ้าง เขียนอย่างไรก็เขียนได้ แต่เขียนแล้ว ธรรมที่เขียนไม่มีในตน เขาเรียกว่า "อวดอุตริ" อย่างที่เจ้าเขียนเรื่อง กัมมัฏฐาน แต่เจ้าไม่มีสติ คือ ระลึกนึกถึง หวนระลึกไม่ได้ฯลฯ

ส่วนที่เจ้าถามมา เพราะความที่เจ้ามีความถือดี ทำเป็นเขียนเรื่อง กัมมัฏฐาน เจ้าไม่ได้รู้อะไรเลยขอรับ

กัมมัฏฐาน เป็นเพียง อุบาย(วิธีการสำหรับประกอบอย่างหนึ่ง)ทำให้สงบ เป็นเพียงวิธีการสำหรับประกอบอย่างหนึ่ง เพื่อการปรับสภาพสภาวะภวังของร่างกายสภาวะหนึ่งเพื่อการดำเนินกิจกรรมใดใด หรือจะเรียกว่าเป็นที่ตั้งแห่งการงาน ,หรือ อารมณ์ของใจอันเป็นปัจจัยในการทำงานใดใด ไม่ใช่ตัวธรรมอ้นป็นที่ตั้งแห่งสติ

อานาปานสติ ในหลักพุทธศาสนา จัดอยู่ใน หมวด สติปัฎฐาน ๔ หมายถึง ธรรมอันเป็นที่ตั้งแต่งสติ ข้อปฏิบัติมีสติเป็นประธาน, การตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่าทันตามความเป็นจริง, การมีสติกำกับดูสิ่งต่าง ๆ และความเป็นไปทั้งหลาย โดยรู้เท่าทันตามสภาวะของมัน ไม่ถูกครอบงำด้วยความยินดียินร้าย ที่ทำให้มองเห็นเพี้ยนไปตามอำนาจกิเลส(พจนานุกรม พุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก)
อยู่ในข้อ กายานุปัสสนา


แก้ไขล่าสุดโดย จ่าสิบตรี เทวฤทธิ์ เมื่อ 16 ต.ค. 2009, 20:52, แก้ไขแล้ว 4 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ต.ค. 2009, 20:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
ฮ่า ฮา ฮ่า ขออภัยนะขอรับ เจ้า ผู้ใช้ชื่อว่ากรัชกาย ใครไปสู้กับเจ้า เจ้าคิดของเจ้าเองนะขอรับ
แล้วเจ้ายังมีหน้า อวดอุตริฯ ทำเป็นรู้เรื่อง นิพพาน ซะด้วย เจ้า บรรลุนิพพานแล้วหรือ


เอาเป็นว่านิพพานของท่าน กับของพุทธศาสนาไม่เหมือนกัน ถูกไหมขอรับ

ถ้าไม่ถูกของท่านเป็นเช่นใดไหนลองว่ามาดิล่า :b12:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ต.ค. 2009, 20:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
ขอถามสักหน่อย ลองภูมิเลยนะ เจ้าผู้ใช้ขื่อว่า Buddha

ธรรมะ อันใด ที่ใช้สำหรับ การปฏิบัติ เพื่อขจัดอาสวะแห่งกิเลส หรือทำให้หลุดพ้น หรือ ละ หรือขจัด หรือกำจัด หรือสำรอก
ธรรมที่ไม่พึงปรารถนา สำหรับ พระอริยะบุคคล นับตั้งแต่ปุถุชน เป็นตันไป



ถามเนี่ยทำไมไม่ตอบ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ต.ค. 2009, 21:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


เจ้าผู้ใชชื่อว่า กรัชกาย เอ๋ย ข้าพเจ้าไม่อยากต่อความยาวกับเจ้า
เจ้าไปอ่าน หลักสูตรทางพุทธศาสนา เรื่อง จิต,เจตสิก,รูป,นิพพาน ตามหลักพระอภิธรรมปิฎก" ในหมวดสนทนาธรรมทั่วไป ทุกตอนเลยนะ ในนั้น มีสอนเกี่ยวกับ นิพพานไว้ ไปหาอ่าน จะได้ฉลาดขึ้นน

กัมมัฏฐาน เป็นเพียง อุบาย(วิธีการสำหรับประกอบอย่างหนึ่ง)ทำให้สงบ เป็นเพียงวิธีการสำหรับประกอบอย่างหนึ่ง เพื่อการปรับสภาพสภาวะภวังของร่างกายสภาวะหนึ่งเพื่อการดำเนินกิจกรรมใดใด หรือจะเรียกว่าเป็นที่ตั้งแห่งการงาน ,หรือ อารมณ์ของใจอันเป็นปัจจัยในการทำงานใดใด ไม่ใช่ตัวธรรมอ้นป็นที่ตั้งแห่งสติ

อานาปานสติ ในหลักพุทธศาสนา จัดอยู่ใน หมวด สติปัฎฐาน ๔ หมายถึง ธรรมอันเป็นที่ตั้งแต่งสติ ข้อปฏิบัติมีสติเป็นประธาน, การตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่าทันตามความเป็นจริง, การมีสติกำกับดูสิ่งต่าง ๆ และความเป็นไปทั้งหลาย โดยรู้เท่าทันตามสภาวะของมัน ไม่ถูกครอบงำด้วยความยินดียินร้าย ที่ทำให้มองเห็นเพี้ยนไปตามอำนาจกิเลส(พจนานุกรม พุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก)
อยู่ในข้อ กายานุปัสสนา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ต.ค. 2009, 21:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
เจ้าผู้ใชชื่อว่า กรัชกาย เอ๋ย ข้าพเจ้าไม่อยากต่อความยาวกับเจ้า
เจ้าไปอ่าน หลักสูตรทางพุทธศาสนา เรื่อง จิต,เจตสิก,รูป,นิพพาน ตามหลักพระอภิธรรมปิฎก" ในหมวดสนทนาธรรมทั่วไป ทุกตอนเลยนะ ในนั้น มีสอนเกี่ยวกับ นิพพานไว้ ไปหาอ่าน จะได้ฉลาดขึ้นน


ก็ท่านเล่นไปลอกตำรามาทั้งดุ้นนี่ขอรับ

จิ เจ รุ นิ ข้าพเจ้าผู้มีนามว่ากรัชกายเรียนมาท่องมาจนหัวจะผุแล้วนะขอรับ ไม่ควรเอาคัมภีร์อภิธรรม

มาขู่กันหรอก

ว่าแต่ท่านเตอะจบมาจากสำนักไหนอภิธรรมน่า เรียนแต่ใดมา ไหนบอกหน่อยดิล่า :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ต.ค. 2009, 21:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


เจ้าผู้ใช้ชื่อว่า "กรัชกาย" เจ้าปัญญาน้อย แล้วยัง มีสภาพสภาวะจิตใจทีค่อนข้างต่ำ ข้าพเจ้าถาม แต่เจ้าตอบไม่ได้ ดันเปลี่ยนชื่อเป็นเจ้าถามข้า ฮา ฮ่า ฮ่า
ตรงไหนที่เจ้าผู้ด้อยปัญญา คิดว่า ข้าพเจ้าลอกมาทั้งดุ้น เจ้ารู้น้อยไปแล้ว
ข้าพเจ้าไม่จำเป็นต้องตอบคำถามของเจ้าดอกนะ
เพราะในหลักสูตร ฯ เรื่อง จิต,เจตสิก,รูป,นิพพาน ตามหลักพระอภิธรรมปิฎก" ก็เขียนไว้แล้วว่า ข้าพเจ้าเรียนพระอภิธรรมปิฎกจากไหน
เจ้าอย่าถือดี อวดตัว อวดอุตริฯ อีกเลย เจ้าผู้ใช้ชื่อว่า กรัชกาย ผู้เขลา เบาปัญญา เต็มไปด้วยอวิชชา มากกว่าวิชชา

กัมมัฏฐาน เป็นเพียง อุบาย(วิธีการสำหรับประกอบอย่างหนึ่ง)ทำให้สงบ เป็นเพียงวิธีการสำหรับประกอบอย่างหนึ่ง เพื่อการปรับสภาพสภาวะภวังของร่างกายสภาวะหนึ่งเพื่อการดำเนินกิจกรรมใดใด หรือจะเรียกว่าเป็นที่ตั้งแห่งการงาน ,หรือ อารมณ์ของใจอันเป็นปัจจัยในการทำงานใดใด ไม่ใช่ตัวธรรมอ้นป็นที่ตั้งแห่งสติ

อานาปานสติ ในหลักพุทธศาสนา จัดอยู่ใน หมวด สติปัฎฐาน ๔ หมายถึง ธรรมอันเป็นที่ตั้งแต่งสติ ข้อปฏิบัติมีสติเป็นประธาน, การตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่าทันตามความเป็นจริง, การมีสติกำกับดูสิ่งต่าง ๆ และความเป็นไปทั้งหลาย โดยรู้เท่าทันตามสภาวะของมัน ไม่ถูกครอบงำด้วยความยินดียินร้าย ที่ทำให้มองเห็นเพี้ยนไปตามอำนาจกิเลส(พจนานุกรม พุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก)
อยู่ในข้อ กายานุปัสสนา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ต.ค. 2009, 03:05 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


:b32: :b32: :b32: :b32:
ขำตาย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ต.ค. 2009, 12:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


ไปพบจิตแพทย์ได้แล้ว ผู้ใช้ชื่อว่า"กบฯ"
เพราะสภาพจิตและความคิดของคุณ เบี่ยงเบนจากปกติ แล้ว ไม่ได้มีเรื่องขำอะไรเลย คิดเองขำเอง โรคจิตประสาทกำเริบ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ต.ค. 2009, 13:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


กัมมัฏฐาน เป็นเพียง อุบาย(วิธีการสำหรับประกอบอย่างหนึ่ง)ทำให้สงบ
เป็นเพียงวิธีการสำหรับประกอบอย่างหนึ่ง
เพื่อการปรับสภาพสภาวะภวังของร่างกายสภาวะหนึ่งเพื่อการดำเนินกิจกรรมใดใด
หรือจะเรียกว่าเป็นที่ตั้งแห่งการงาน ,หรือ อารมณ์ของใจอันเป็นปัจจัย
ในการทำงานใดใด ไม่ใช่ตัวธรรมอ้นป็นที่ตั้งแห่งสติ

อานาปานสติ ในหลักพุทธศาสนา จัดอยู่ใน หมวด
สติปัฎฐาน ๔ หมายถึง ธรรมอันเป็นที่ตั้งแต่งสติ
ข้อปฏิบัติมีสติเป็นประธาน,
การตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่าทันตามความเป็นจริง,
การมีสติกำกับดูสิ่งต่าง ๆ และความเป็นไปทั้งหลาย
โดยรู้เท่าทันตามสภาวะของมัน ไม่ถูกครอบงำด้วยความยินดียินร้าย
ที่ทำให้มองเห็นเพี้ยนไปตามอำนาจกิเลส
(พจนานุกรม พุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก)
อยู่ในข้อ กายานุปัสสนา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ต.ค. 2009, 21:15 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


Buddha เขียน:
ไปพบจิตแพทย์ได้แล้ว ผู้ใช้ชื่อว่า"กบฯ"
เพราะสภาพจิตและความคิดของคุณ เบี่ยงเบนจากปกติ แล้ว ไม่ได้มีเรื่องขำอะไรเลย คิดเองขำเอง โรคจิตประสาทกำเริบ


เรื่องขำ..มันมี..

ขำ..คนกล่าวธรรมที่ไม่มีในตน..นะ

:b32: :b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ต.ค. 2009, 13:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


ดีแล้วที่คุณผู้ใช้ชื่อว่า "กบฯ" รู้จักพิจารณาตัวเอง ดีแล้วที่รู้จักตัวเองว่าไม่ควรกล่าวถึงธรรมที่ไม่มีในตน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ต.ค. 2009, 12:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


Buddha เขียน:
กัมมัฏฐาน เป็นเพียง อุบาย(วิธีการสำหรับประกอบอย่างหนึ่ง)ทำให้สงบ
เป็นเพียงวิธีการสำหรับประกอบอย่างหนึ่ง
เพื่อการปรับสภาพสภาวะภวังของร่างกายสภาวะหนึ่งเพื่อการดำเนินกิจกรรมใดใด
หรือจะเรียกว่าเป็นที่ตั้งแห่งการงาน ,หรือ อารมณ์ของใจอันเป็นปัจจัย
ในการทำงานใดใด ไม่ใช่ตัวธรรมอ้นป็นที่ตั้งแห่งสติ

อานาปานสติ ในหลักพุทธศาสนา จัดอยู่ใน หมวด
สติปัฎฐาน ๔ หมายถึง ธรรมอันเป็นที่ตั้งแต่งสติ
ข้อปฏิบัติมีสติเป็นประธาน,
การตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่าทันตามความเป็นจริง,
การมีสติกำกับดูสิ่งต่าง ๆ และความเป็นไปทั้งหลาย
โดยรู้เท่าทันตามสภาวะของมัน ไม่ถูกครอบงำด้วยความยินดียินร้าย
ที่ทำให้มองเห็นเพี้ยนไปตามอำนาจกิเลส
(พจนานุกรม พุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก)
อยู่ในข้อ กายานุปัสสนา


กัมมัฏฐาน นั้นในทางศาสนาท่านแบ่งไว้ เป็น ๒ แนวทาง คือ วิธีการแรก เป็นการฝึกมิให้เกิดความคิดฟุ้งซ่าน สับสน หรือจะฝึกเพื่อมิให้เกิดความคิดใดใดเลยก็ได้ ท่านเรียกว่า วิธีทำให้ใจสงบ ซึ่งมีหลายหลายวิธีที่จะทำให้ใจสงบ คือไม่คิดถึงเรื่องใด ไม่มีอารมณ์ใดใด ขณะฝึกอยู่
วิธีการ ที่สอง คือ วิธีทำให้เกิดปัญญา หรือทำให้มีปัญญาหรือความรู้เพิ่มขึั้น วิธีนี้ต้องอาศัยภวังขณะ ที่เกิด วิตก วิจาร ละปีติและสุข เมื่อถึงที่สุด คือ เกิดความเข้าใจในเรื่องที่ วิตก วิจาร นั้นแล้ว อุเบกขาย่อมเกิด ความมีเอกัคคตา ก็เกิดตาม หมุนเวียนกันไป จนกว่าจะครบทุกเรื่อง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ต.ค. 2009, 14:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2007, 09:55
โพสต์: 1632


 ข้อมูลส่วนตัว


Buddha เขียน:
Buddha เขียน:
กัมมัฏฐาน เป็นเพียง อุบาย(วิธีการสำหรับประกอบอย่างหนึ่ง)ทำให้สงบ
เป็นเพียงวิธีการสำหรับประกอบอย่างหนึ่ง
เพื่อการปรับสภาพสภาวะภวังของร่างกายสภาวะหนึ่งเพื่อการดำเนินกิจกรรมใดใด
หรือจะเรียกว่าเป็นที่ตั้งแห่งการงาน ,หรือ อารมณ์ของใจอันเป็นปัจจัย
ในการทำงานใดใด ไม่ใช่ตัวธรรมอ้นป็นที่ตั้งแห่งสติ

อานาปานสติ ในหลักพุทธศาสนา จัดอยู่ใน หมวด
สติปัฎฐาน ๔ หมายถึง ธรรมอันเป็นที่ตั้งแต่งสติ
ข้อปฏิบัติมีสติเป็นประธาน,
การตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่าทันตามความเป็นจริง,
การมีสติกำกับดูสิ่งต่าง ๆ และความเป็นไปทั้งหลาย
โดยรู้เท่าทันตามสภาวะของมัน ไม่ถูกครอบงำด้วยความยินดียินร้าย
ที่ทำให้มองเห็นเพี้ยนไปตามอำนาจกิเลส
(พจนานุกรม พุทธศาสน์ ฉบับพระธรรมปิฎก)
อยู่ในข้อ กายานุปัสสนา


กัมมัฏฐาน นั้นในทางศาสนาท่านแบ่งไว้ เป็น ๒ แนวทาง คือ วิธีการแรก เป็นการฝึกมิให้เกิดความคิดฟุ้งซ่าน สับสน หรือจะฝึกเพื่อมิให้เกิดความคิดใดใดเลยก็ได้ ท่านเรียกว่า วิธีทำให้ใจสงบ ซึ่งมีหลายหลายวิธีที่จะทำให้ใจสงบ คือไม่คิดถึงเรื่องใด ไม่มีอารมณ์ใดใด ขณะฝึกอยู่
วิธีการ ที่สอง คือ วิธีทำให้เกิดปัญญา หรือทำให้มีปัญญาหรือความรู้เพิ่มขึั้น วิธีนี้ต้องอาศัยภวังขณะ ที่เกิด วิตก วิจาร ละปีติและสุข เมื่อถึงที่สุด คือ เกิดความเข้าใจในเรื่องที่ วิตก วิจาร นั้นแล้ว อุเบกขาย่อมเกิด ความมีเอกัคคตา ก็เกิดตาม หมุนเวียนกันไป จนกว่าจะครบทุกเรื่อง

การปฏิบัติสมาธิ ไม่จำเป็นต้องทำแบบเอาเป็นเอาตาย หรือไม่จำเป็นต้องกำหนดไว้ว่าให้นานที่สุด หรือโปรดก็ทนนั่งเหมือนคนบ้า ไม่ถูกต้อง เหตุเพราะ
สมาธิ เป็นเพื้นฐานทางธรรมชาติที่มีอยู่ในตัวมนุษย์อยู่แล้ว การปฏิ้ตจิสมาธิ ตามหลักพุทธศาสนานัน้ เป็นเพียงการฝึกฝนเพิ่มเติม เพื่อเป็นการพักผ่อนอวัยวะบางส่วน เป็นการฝึกเพื่อให้รู้จักควบคุมตัวเอง มิให้คิดหรือพิจารณาเลยเถิด คือ คิดมากจนไม่มีที่สิ้นสุด ซึ่งจะเป็นอันตราย สติอาจเสียไปก็เป็นได้
ดังนั้น การฝึกสมาธิ จึงเป็นการฝึกฝนเพื่อให้เกิดการพักผ่อน และรู้จักควบคุมความคิด รู้จักจัดระเบียบของการคิด จัดระเบียบและควบคุมอารมณ์ ความรู้สึก
ระยะเวลาในการฝึกควรอยุ่ในระหว่างสูงสุด ไม่ควรเกิน 3 ชั่วโมง สำหรับปฏิบัติสมาธิ เพราะหากเกินกว่า 3 ชั่่วโมง ร่างกายที่ถูกกดทับ หรือพับงอ จะมีอาการชา หรือปวด แต่หากพอปฏิบัติไปสักครุ่ไม่ถึง 10 นาที่ ก็เกิดอาการปวด หรือชา ก็ให้ขยับท่านั่ง หรือก่อนจะนั่งก็ให้จัดอาสนะให้ดี เพื่อมิให้เกิดการกดทับมากเกินควร


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 56 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร