วันเวลาปัจจุบัน 05 พ.ค. 2025, 02:25  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


รวมกระทู้จากบอร์ดเก่า http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=2



กลับไปยังกระทู้  [ 189 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 8, 9, 10, 11, 12, 13  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ต.ค. 2011, 11:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


หน้าที่หรือธรรมในบ้าน

บุตรธิดา บำรุงมารดาบิดาผู้เป็นเหมือนทิศเบื้องหน้า โดย

1) ท่านเลี้ยงเรามาแล้วเลี้ยงท่านตอบ
2) ช่วยทำกิจธุระการงานของท่าน
3) ดำรงวงศ์สกุล
4) ประพฤติตนให้เหมาะสมกับความเป็นทายาท
5) เมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ทำบุญอุทิศให้ท่าน

ข. มารดาบิดา ย่อมอนุเคราะห์บุตรธิดา ดังนี้

1) ห้ามกันจาความชั่ว
2) ฝึกอบรมให้ตั้งอยู่ในความดี
3) ให้ศึกษาศิลปวิทยา
4) เป็นธุระในการมีคู่ครองที่สมควร
5) มอบทรัพย์สมบัติให้เมื่อถึงโอกาส

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ต.ค. 2011, 11:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อย่างที่ จขกท.ปฏิบัติฝึกหัดตนอยู่นั่น เป็นธรรมะที่ยาก (ปรมัตถธรรม) ถึงขั้นขูดเกลากิเลสภายในจิตใจ ซึ่งต่างจากสอง คห.ข้างบนที่นำมาเป็นตัวอย่าง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ต.ค. 2011, 17:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


:b10: จขกท.หายไปไหนอีกแระ
หรือฉุกคิดได้ว่าแหมๆยากนักหรอ ถ้างั้นก็เลิกทำนอนประชดมันสะเลย ถูกมั้ยครับ หรือคิดเป็นอื่น :b1: :b12:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ต.ค. 2011, 18:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 ก.ย. 2011, 15:23
โพสต์: 53

แนวปฏิบัติ: สติปัฏฐาน4
อายุ: 17
ที่อยู่: ก.ท.ม.

 ข้อมูลส่วนตัว


เปล่าคะ ถึงจะยากยังไงแต่ก็จะพยายามหน้าด้าน ปฏิบัติคะเพราะต้องการกำจัดมาร(เลวมากๆ)ตัวนึงในจิตใจอ่ะคะ- - s002


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ต.ค. 2011, 20:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ก.พ. 2011, 19:56
โพสต์: 1798


 ข้อมูลส่วนตัว


ถาม จขทก
ความง่วงควรยึดมั่นถือมั่นมั้ยครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ต.ค. 2011, 20:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 ก.ย. 2011, 15:23
โพสต์: 53

แนวปฏิบัติ: สติปัฏฐาน4
อายุ: 17
ที่อยู่: ก.ท.ม.

 ข้อมูลส่วนตัว


ไม่ควรคะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ต.ค. 2011, 21:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ก.พ. 2011, 19:56
โพสต์: 1798


 ข้อมูลส่วนตัว


ครับความง่วงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น
ถามต่อนะครับ

ความง่วงเที่ยง หรือ ไม่เที่ยง
ความง่วงเป็นสุข หรือ เป็นทุกข์
ความง่วงเป็นอัตตา หรือ อนัตตา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ต.ค. 2011, 21:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 ก.ย. 2011, 15:23
โพสต์: 53

แนวปฏิบัติ: สติปัฏฐาน4
อายุ: 17
ที่อยู่: ก.ท.ม.

 ข้อมูลส่วนตัว


ความง่วงไม่เที่ยงคะ- - และก็ไม่สุขและทุกข์(บางคนง่วงแล้วทุกข์แต่บางคนง่วงแล้วสุข) เพราะมันเป็นอนัตตาคะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ต.ค. 2011, 21:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ก.พ. 2011, 19:56
โพสต์: 1798


 ข้อมูลส่วนตัว


ทุกข์ในที่นี้หมายถึง ความทนอยู่ไม่ได้ ต้องแตกสลายไป


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ต.ค. 2011, 21:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ก.พ. 2011, 19:56
โพสต์: 1798


 ข้อมูลส่วนตัว


ความง่วง นั้นจึงไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา

สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ควรหรือที่เราจะยึดถือด้วยอำนาจของตัณหา มานะ ทิฏฐิ ว่าสิ่งนั้นเป็นเรา นั่นของเรา นั่นอัตตาของเรา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ต.ค. 2011, 08:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


FLAME เขียน:
ความง่วง นั้นจึงไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา

สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ควรหรือที่เราจะยึดถือด้วยอำนาจของตัณหา มานะ ทิฏฐิ ว่าสิ่งนั้นเป็นเรา นั่นของเรา นั่นอัตตาของเรา



ก็เพราะจิตยังถูกครอบงำด้วยตัณหา มานะ ทิฏฐิ (หรืออยู่ในอำนาจของตัณหา มานะ ทิฏฐิ) จึงมองไม่เห็นไตรลักษณ์ คือ ความไม่เทียง เป็นทุกข์เป็นอนัตตา และจึงทำให้ไม่เห็นเหตุแห่งความง่วงด้วย :b1:

สุดท้ายก็ถึงปัญหาว่า จขกท. ควรทำอย่างไร จึงจะกำจัดตัณหา มานะ ทิฏฐิซึ่งเป็นต้นเหตุของความง่วงเป็นต้นได้ แล้วมองเห็นไตรลักษณ์ คือ ความไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา

หรือกำจัดด้วยไปนอนดังกล่าวข้างต้น :b10:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ต.ค. 2011, 11:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 20 ก.ค. 2010, 15:02
โพสต์: 146

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


sunflower เขียน:
คือเวลานั่งสมาธิหรือทำสติปัฏสี่ตอนนั่งสมาธิแล้วจะหลับอ่ะคะ :b2: พยายามกำหนดง่วงหนอๆแล้วก็ยังหลับขนาดบอกกับตัวเองว่าอย่าหลับหนอ!!ไปไม่กี่รอบก็หลับสัปหงกไปเลย cry บางครั้งตอนไปฝึกกรรมฐานที่วัดขณะเดินจงกรมก็รู้สึกจะหลับเหมือนกัน :b2: ใครก็ได้ช่วยตอบทีว่าทำไงถึงจะไม่หลับขณะทำสมาธิ


ความไม่ยินดี ความเกียจคร้าน ความอ่อนเพลีย การกินอาหารมากเกินไป
พักผ่อนไม่เพียงพอ หรือทำงานหนัก เป็นต้นเหตุของ ความง่วง

ส่วน ตัณหา มานะ ทิฏฐิ เป็นต้นเหตุของ อวิชชา

จะดับความง่วง ต้องดับที่เหตุนะค่ะ

พระพุทธเจ้าแสดงธรรมเพื่อแก้ง่วงของพระโมคลา ก็มีให้อ่าน

:b12:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ต.ค. 2011, 12:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ก.พ. 2011, 19:56
โพสต์: 1798


 ข้อมูลส่วนตัว


ความอยากให้มันหายก็คือความยึดถือความง่วงนั้นด้วยตัณหา
ถ้าเหตุปัจจัยที่จะดับความง่วงยังไม่มี แล้วอยากให้ความง่วงนั้นดับไป ก็ต้องเป็นทุกข์
พอความง่วงมาก็ทุกข์อีก พอความง่วงหายไปก็หลงพอใจ ยึดถือในความไม่ีมีความง่วง จิตสัดส่ายไปมา

ทำใจให้เป็นกลาง รู้ชัดตามความเป็นจริง ก็จะเห็นว่าแม้นความง่วงก็เป็นสิ่งที่มาแล้วไป ละอภิชฌาและโทมนัสในความง่วงออกเสียได้ ใจทรงไว้ซึ่งความเป็นปรกติ

เพราะฉะนั้นความง่วงมาก็ให้รู้ชัดๆ และโยนิโสมนสิการความง่วงนั้นตามที่เป็นจริง
พิจารณาธรรมที่ปรากฎเฉพาะหน้า

อ้างคำพูด:
พุทธพจน์

" อีกอย่างหนึ่ง เมื่อถีนมิทธะมีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่าถีนมิทธะมีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา
หรือเมื่อถีนมิทธะไม่มีอยู่ ณ ภายในจิตย่อมรู้ชัดว่า ถีนมิทธะไม่มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา
อนึ่ง ถีนมิทธะที่ยังไม่เกิดจะเกิดขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย
ถีนมิทธะที่เกิดขึ้นแล้ว จะละเสียได้ด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย
ถีนมิทธะที่ละได้แล้ว จะไม่เกิดขึ้นต่อไปด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย

ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายในบ้าง
พิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายนอกบ้าง
พิจารณาเห็นธรรมทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในธรรมบ้าง
พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในธรรมบ้าง
พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในธรรมบ้าง ย่อมอยู่

อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า ธรรมมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัย
ระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆ
ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคือนิวรณ์ ๕ อยู่ ฯ




อนึ่ง จขทก จะทำตามในโมคคัลลานะสูตร ก็สามารถละความง่วงได้ ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้แล้วเป็นลำดับ

ที่แนะนำว่าให้นอนหลับ
ก็แค่ให้นอนหลับแล้วตื่นขึ้นมาเพียรต่อนะจะสดชื่นมากกว่า
ถ้าเห็นว่าไม่ควรทำ ไม่เหมาะก็ไม่ต้องทำก็ได้ครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ต.ค. 2011, 14:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กฏธรรมชาติ ที่เรียกว่าอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา (ไตรลักษณ์ หรือสามัญลักษณะ) เนี่ยมีอยู่แล้วโดยธรรมดาในสิ่งทั้งปวง (แต่ในที่นี้จำกัดพูดเอาแค่คน) ไม่ว่าพระพุทธเจ้าจะอุบัติหรือไม่ก็ตาม มันเป็นของมันอยู่แล้ว แต่ปัญหาอยู่ที่ว่า เราเห็น (ด้วยสัมมาปัญญา) ความเป็นอย่างนั้นหรือยัง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ต.ค. 2011, 14:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ปัญญา 3 วิธี หรือปัญญา 3 ประเภท คือ *

1. สุตมยปัญญา ปัญญาเกิดจากการสดับเล่าเรียนหรือถ่ายทอดต่อกันมา
2. จินตามยปัญญา ปัญญาเกิดจากการคิดการพิจารณาหาเหตุผลด้วยตนเอง
3. ภาวนามยปัญญา ปัญญาเกิดจากการลงมือปฏิบัติฝึกหัดอบรม

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 189 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 8, 9, 10, 11, 12, 13  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร