วันเวลาปัจจุบัน 22 พ.ค. 2025, 01:09  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


รวมกระทู้จากบอร์ดเก่า http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=2



กลับไปยังกระทู้  [ 5 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2011, 11:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 30 เม.ย. 2007, 17:21
โพสต์: 4147

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว www


รูปภาพ

:b42: เ ค า ร พ ธ ร ร ม :b42:
ย่อมประพฤติธรรมตามสมควรแก่ธรรม

อาจารย์สุจินต์ บริหารวนเขตต์
มูลนิธิศึกษาและเผยแพร่พระพุทธศาสนา

ผู้ไม่ประพฤติธรรม ตามสมควรแก่ธรรม ย่อมเข้าใจผิด

เมื่อเห็นผิด ย่อมปฏิบัติผิด (สีลัพพตปรามาสะ)

ชื่อว่าไม่สมควร คือมีธรรมะมีปรากฏอยู่ ก็ไม่รู้จักว่าเป็นธรรมะ


การเข้าใจว่าสิ่งหนึ่งเป็นอื่นไป

เช่น เข้าใจว่าให้เอกัคคตา (สมาธิ)
เกิดกับจิตที่มีอาการไม่รับรู้สภาวธรรมใดใด นั้น
เป็นการปฏิบัติ แล้วตัวตนก็จะยกจิตอีก

เมื่อเป็นเช่นนี้ก็ทั้งประพฤติไม่สมควร และผิดธรรม (อื่นจากธรรม)

จากผิดที่ยังไม่มั่นคง
ก็ผิดที่มั่นคงยิ่งขึ้นในที่สุด


:b8: :b8: :b8:

(ที่มา : คอลัมน์ "ธรรมทัศนะ" โดย อ สุจินต์ บริหารวนเขตต์
ใน ธรรมออนไลน์ มูลนิธิศึกษาและเผยแพร่พระพุทธศาสนา, หน้า ๒๙)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2011, 14:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 07 มิ.ย. 2010, 15:59
โพสต์: 390

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8: :b8: :b8:

.....................................................
บุรุษใดพึงเห็นแดน"โลก" เขาจักอยู่ในแดน"โลก"
บุรุษใดพึงเห็นแดน"สวรรค์" เขาจักอยู่ในแดน "สวรรค์"
บุรุษใดพึงเห็นแดน"นรก" เขาจักอยู่ในแดน"นรก"

บุรุษใดพึงเห็นแดนทั้งสาม เขาจักพึงสิ้นภพจบแดน...แล


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 เม.ย. 2011, 15:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 พ.ย. 2008, 17:20
โพสต์: 1051

งานอดิเรก: อ่านหนังสือธรรมะ
อายุ: 0
ที่อยู่: Bangkok

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8: :b8: :b8: ค่ะคุณโรส :b8: :b8: :b8:

.....................................................
    มีสิ่งใด น่าโกรธ อย่าโทษเขา.... ต้องโทษเรา ที่ใจ ไม่เข้มแข็ง
    เรื่องน่าโกรธ แม้ว่า จะมาแรง ....ถ้าใจแข็ง เหนือกว่า ชนะมัน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 เม.ย. 2011, 16:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ส.ค. 2005, 10:46
โพสต์: 12074

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว www


:b48: :b8: :b48:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 พ.ค. 2011, 15:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 พ.ค. 2010, 13:34
โพสต์: 1654

งานอดิเรก: ฟังเพลง และฟังธรรมตามกาลเวลา
สิ่งที่ชื่นชอบ: อภัยทาน
อายุ: 39
ที่อยู่: กรุงเทพมหานคร

 ข้อมูลส่วนตัว




Lotus160.jpg
Lotus160.jpg [ 2.17 KiB | เปิดดู 4137 ครั้ง ]
กุหลาบสีชา เขียน:
รูปภาพ

:b42: เ ค า ร พ ธ ร ร ม :b42:
ย่อมประพฤติธรรมตามสมควรแก่ธรรม

อาจารย์สุจินต์ บริหารวนเขตต์
มูลนิธิศึกษาและเผยแพร่พระพุทธศาสนา

ผู้ไม่ประพฤติธรรม ตามสมควรแก่ธรรม ย่อมเข้าใจผิด

เมื่อเห็นผิด ย่อมปฏิบัติผิด (สีลัพพตปรามาสะ)

ชื่อว่าไม่สมควร คือมีธรรมะมีปรากฏอยู่ ก็ไม่รู้จักว่าเป็นธรรมะ


การเข้าใจว่าสิ่งหนึ่งเป็นอื่นไป

เช่น เข้าใจว่าให้เอกัคคตา (สมาธิ)
เกิดกับจิตที่มีอาการไม่รับรู้สภาวธรรมใดใด นั้น
เป็นการปฏิบัติ แล้วตัวตนก็จะยกจิตอีก

เมื่อเป็นเช่นนี้ก็ทั้งประพฤติไม่สมควร และผิดธรรม (อื่นจากธรรม)

จากผิดที่ยังไม่มั่นคง
ก็ผิดที่มั่นคงยิ่งขึ้นในที่สุด


:b8: :b8: :b8:

(ที่มา : คอลัมน์ "ธรรมทัศนะ" โดย อ สุจินต์ บริหารวนเขตต์
ใน ธรรมออนไลน์ มูลนิธิศึกษาและเผยแพร่พระพุทธศาสนา, หน้า ๒๙)


จริงแท้แน่นอนเจ้าค่ะ

:b48: กราอบนุโมทนาบุญกับผู้เจริญในธรรมและกัลยาณมิตรนะเจ้าค่ะ :b8: :b8: :b8: :b20:

.....................................................
ธรรมอำนวยพร
ขอให้.....มีจิตที่รู้ ที่ตื่น ที่เบิกบาน (พุทธะ)
ขอให้.....ทำการงานด้วยความสุข (อิทธิบาทสี่)
ขอให้.....ขจัดทุกข์ได้ด้วยปัญญา (อริยสัจสี่)
ขอให้.....มีดวงตาที่เห็นความจริง (ไตรลักษณ์)
ขอให้.....เจริญยิ่ง ๆ ขึ้นไปด้วยไตรสิกขา (ศีล, สมาธิ, ปัญญา)
แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 5 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร