วันเวลาปัจจุบัน 15 ก.ค. 2025, 02:02  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 139 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 ... 10  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ม.ค. 2014, 20:24 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
สองใจ เขียน:
ดิฉันขออนุญาติให้คุณกรัชกาย อธิบายถึงประโยคที่ว่า " รู้เห็นตามที่เราอยากให้มันเป็น"
คือมีลักษณะการรู้แบบใด อาการแบบใด ขอให้แสดงธรรมยกตัวอย่างโดยละเีอียด เพื่อเป็นธรรมทานแก่ดิฉันด้วยค่ะ



อ้างคำพูด:
รู้เห็นตามที่เราอยากให้มันเป็น


นำประโยคที่พูดมาไม่หมด :b13: (ตัดตัวสำคัญออกสะด้วย) ดูอีกครั้งแล้วนำทั้งประโยคมาถามใหม่ครับ :b1: เพื่ออธิบายให้ละเอียดเป็นธรรมทานครับ :b1:

:b16:
กรุณาเมตตาตอบตามที่น้องเขาอยากรู้ด้วย ผมก็อยากรู้เช่นกันครับ
:b8:


ก็บอกให้นำมาให้หมด ถึงจะตอบให้ ก็รออยู่เนี่ย เพื่ออะไร? เพื่อจะดูการแยกแยะปัญหาด้วย :b1:

คุณอโศก็ทำนองเีดียวกัน คิกๆๆ

:b16:
รู้เห็นตามที่มันเป็นนั้นสัมผัสอยูเป็นประจำแล้วแต่

รู้เห็นตามที่เราอยากให้มันเป็น ...ดังที่กรัชกายแนะนำมาบ้างนิดหน่อยนั้นมันยังไม่กระจ่าง ดูวกวน ลองอธิบายและยกตัวอย่างที่มีจริงให้ดูพอเข้าใจด้วยครับ
:b10:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ม.ค. 2014, 20:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
สองใจ เขียน:
suttiyan เขียน:
การปรับตัวรู้ให้สอดคล้องกับความละเอียดของธรรม จากการที่ผู้ปฏ้บัติแยกสิ่งรู้กับสิ่งถูกรู้แล้ว สิ่งถูกรู้ยังเป็นสิงถูกรู้อย่างหยาบ จึงมีสภาพรูปลักษณ์ที่ชัดเจนไม่ว่าส่วนของรูปและนาม ผู้ปฏิบัติจึงชินต่อการรู้สภาพรูปหยาบและเครื่องมือที่ใ้ช้รู้คือสติ ต่อเมื่อการเจริญสติได้พัฒนา รูปหยาบทั้งส่วนของรูปและนามเริ่มจางคลายเป็นรูปละเอียด ลักษณะของรูปจะไม่ชัดเจน หากพิจารณาความสัมพันธ์ของรูปหยาบที่จางคลายเป็นรูปละเอียด อาจสรุปว่ารูปหยาบเป็นผลรูปละเอียดเป็นเหตุ เช่น ความนึก คิดเป็นรูปหยาบ เป็นผล มาจากการจับกลุ่มของธรรมารมณ์ที่มีรูปไม่ชัดเจนซึ่งจัดเป็นเหตุนั่นเอง



ดิฉัน ไม่เคยเรียนรูปนามในภาษาของหนังสืออ่ะคะ เอาแต่ตามรู้ตามดูเกิดดับของจริงมาโดยตลอดไม่รู้ด้วยซ้ำว่า ทีเ่กิดดับเขาเรียกว่าอะไรกัน นามหรืออารมณ์ เรียกได้ว่า ดูเกิดดับแบบชาวบ้านแล้วกัน

เลยไม่ทราบว่า ความคิดเป็นรูป ธรรมารมณ์เป็นรูป

s006



หาก จขกท.ต้องการจะรู้เห็นตามเป็นจริง (เห็นชีวิตตามเป็นจริง) อย่างเดียว มีนิดเดียวครับ คือ รู้เห็นตามที่มันเป็นของมัน ไม่ใช่รู้เห็นตามที่เราอยากให้มันเป็น แ่ค่นี้เองครับ

ถ้าไปคิดเกิดนั่นดับนี่ คิดโยงไปหาชื่อธรรมตัวนั่นตัวนี้ คิดเคลื่อนไปจุดนั่นลากมาจุดนี้...แบบนี้อย่างนี้เรียกว่า รู้เห็นตามที่เราอยากให้มันเป็น :b1: พอเข้าใจมั้ยครับ


อ้างคำพูด:
ไม่ใช่รู้เห็นตามที่เราอยากให้มันเป็น



เห็นอยู่โทนโท่ แต่กลับมองไม่เห็น แล้วจะไปสัมผัสธรรมารมณ์ที่ลึกซึ้งซับซ้อนได้ยังไงล่ะ อโศกเอ๋ย

บอกว่า ให้นำมาให้หมดๆ
กรัชกายรู้ว่าตัวเองพูดอะไร พูดยังไง แล้วผู้ถามตัดมาเท่าไหร่ กรัชกายจะยกมาทั้งประโยค แล้วอธิบายให้ฟังเสียเองก็ได้ แต่ต้องการให้รู้จักพินิจพิจารณา จึงให้ก๊อบมาแล้วถามใหม่ แน่ะ คิกๆๆ ยากครับยาก :b1:


ที่อโศกสัมผัสนั่นแหละ เรียกว่า รู้เห็นตามที่ตัวเองอยากให้มันเป็น คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ม.ค. 2014, 09:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5976

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


โยนิโสมนสิการ


ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนรอยนิ้วมือ หรือรอยนิ้วหัวแม่มือ
ย่อมปรากฏอยู่ที่ด้ามเครื่องมือของพวกช่างไม้ หรือลูกมือของพวกช่างไม้

แต่เขาก็ไม่มีความรู้ว่า ด้ามเครื่องมือของเรา
วันนี้สึกไปเท่านี้ วานนี้สึกไปเท่านี้
วันอื่น ๆ สึกไปเท่านี้ ๆ คงรู้แต่ว่ามันสึกไป ๆ เท่านั้น,
นี้ฉันใด;

ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุตามประกอบภาวนาอยู่ ก็ไม่รู้อย่างนี้ว่า
วันนี้ อาสวะของเราสิ้นไปเท่านี้ วานนี้สิ้นไปเท่านี้
วันอื่น ๆ สิ้นไปเท่านี้ ๆ

รู้แต่เพียงว่า สิ้นไป ในเมื่อมันสิ้นไป ๆ เท่านั้น,
ฉันใดก็ฉันนั้น.

สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๒๘/๖๘.




หมายเหตุ:

ที่พระองค์ ทรงตรัสสอนแบบนี้ เพราะเหตุว่า
ตราบใด ที่ยังไม่ใช่พระอรหันต์ อวิชชา ยังไม่ถูกทำลายจนหมดสิ้น เหตุของการเกิด ย่อมยังมีอยู่

จึงสอนไม่ให้ยึดมั่นถือมั่น ในสภาวะที่เกิดขึ้น โดยใช้หลัก โยนิโสมนสิการ ได้แก่

ดูตามความเป็นจริง รู้ตามความเป็นจริง ของสิ่งที่เกิดขึ้น
อย่าใส่อะไรๆ ลงไป ในสิ่งที่เกิดขึ้น

เพราะ เมื่อใส่อะไรๆลงไป ในสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว
เป็นเหตุให้ สิ่งนี้มี สิ่งนั้นจึงมี เกิดขึ้น ตามเหตุปัจจัย

เมื่อไม่ใส่อะไรๆ ลงไปในสิ่งที่เกิดขึ้น
เป็นเหตุให้ สิ่งที่เกิดขึ้น ดับลงเอง ตามเหตุปัจจัย
คือ สิ่งใดเกิดขึ้น สิ่งนั้น ย่อมดับลงไป เป็นธรรมดา

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ม.ค. 2014, 10:12 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
สองใจ เขียน:
suttiyan เขียน:
การปรับตัวรู้ให้สอดคล้องกับความละเอียดของธรรม จากการที่ผู้ปฏ้บัติแยกสิ่งรู้กับสิ่งถูกรู้แล้ว สิ่งถูกรู้ยังเป็นสิงถูกรู้อย่างหยาบ จึงมีสภาพรูปลักษณ์ที่ชัดเจนไม่ว่าส่วนของรูปและนาม ผู้ปฏิบัติจึงชินต่อการรู้สภาพรูปหยาบและเครื่องมือที่ใ้ช้รู้คือสติ ต่อเมื่อการเจริญสติได้พัฒนา รูปหยาบทั้งส่วนของรูปและนามเริ่มจางคลายเป็นรูปละเอียด ลักษณะของรูปจะไม่ชัดเจน หากพิจารณาความสัมพันธ์ของรูปหยาบที่จางคลายเป็นรูปละเอียด อาจสรุปว่ารูปหยาบเป็นผลรูปละเอียดเป็นเหตุ เช่น ความนึก คิดเป็นรูปหยาบ เป็นผล มาจากการจับกลุ่มของธรรมารมณ์ที่มีรูปไม่ชัดเจนซึ่งจัดเป็นเหตุนั่นเอง



ดิฉัน ไม่เคยเรียนรูปนามในภาษาของหนังสืออ่ะคะ เอาแต่ตามรู้ตามดูเกิดดับของจริงมาโดยตลอดไม่รู้ด้วยซ้ำว่า ทีเ่กิดดับเขาเรียกว่าอะไรกัน นามหรืออารมณ์ เรียกได้ว่า ดูเกิดดับแบบชาวบ้านแล้วกัน

เลยไม่ทราบว่า ความคิดเป็นรูป ธรรมารมณ์เป็นรูป

s006



หาก จขกท.ต้องการจะรู้เห็นตามเป็นจริง (เห็นชีวิตตามเป็นจริง) อย่างเดียว มีนิดเดียวครับ คือ รู้เห็นตามที่มันเป็นของมัน ไม่ใช่รู้เห็นตามที่เราอยากให้มันเป็น แ่ค่นี้เองครับ

ถ้าไปคิดเกิดนั่นดับนี่ คิดโยงไปหาชื่อธรรมตัวนั่นตัวนี้ คิดเคลื่อนไปจุดนั่นลากมาจุดนี้...แบบนี้อย่างนี้เรียกว่า รู้เห็นตามที่เราอยากให้มันเป็น :b1: พอเข้าใจมั้ยครับ


อ้างคำพูด:
ไม่ใช่รู้เห็นตามที่เราอยากให้มันเป็น



เห็นอยู่โทนโท่ แต่กลับมองไม่เห็น แล้วจะไปสัมผัสธรรมารมณ์ที่ลึกซึ้งซับซ้อนได้ยังไงล่ะ อโศกเอ๋ย

บอกว่า ให้นำมาให้หมดๆ
กรัชกายรู้ว่าตัวเองพูดอะไร พูดยังไง แล้วผู้ถามตัดมาเท่าไหร่ กรัชกายจะยกมาทั้งประโยค แล้วอธิบายให้ฟังเสียเองก็ได้ แต่ต้องการให้รู้จักพินิจพิจารณา จึงให้ก๊อบมาแล้วถามใหม่ แน่ะ คิกๆๆ ยากครับยาก
:b1:


ที่อโศกสัมผัสนั่นแหละ เรียกว่า รู้เห็นตามที่ตัวเองอยากให้มันเป็น คิกๆๆ

:b12:
สุดท้ายก็เป็นไปตามคาดคือกรัชกายต้องการให้ทุกตนเห็นอย่างที่กรัชกายอยากจะให้มันเป็น
s005


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ม.ค. 2014, 14:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
อโศกะ

สุดท้ายก็เป็นไปตามคาด คือ กรัชกายต้องการให้ทุกตนเห็นอย่างที่กรัชกายอยากจะให้มันเป็น


แน่ะ ตรงไหน ที่กรัชกายสื่อย่างอโศกพูด ยกมาหน่อยสิขอรับ :b1: คิกๆๆ




ปรึกษาคุณอโศกหน่อย สองตัวอย่างนี้ เขาเป็นอะไร แล้วทำไงต่อ :b1:

อ้างคำพูด:
หัดนั่งสมาธิโดยแรกๆ ท่องพุทโธ เอา พักหลังๆพอเห็นว่าจิตนิ่งสงบ และสามารถนั่งได้นานขึ้น เลยลองมาท่อง นะมะพะธะ เอา ตอนนั่งแรกๆไม่มีอะไร พอนั่งไปนานมีความรู้สึกว่าคนมาเป่าลมใส่ที่หน้า มีเสียงให้ได้ยินเลย เลยทำให้ตกใจแล้วกระโดดลุกเลย ไม่นั่งสมาธิต่อ ทำไงให้หายค่ะ ขอบคุณค่ะ




อ้างคำพูด:
ใจมันพูดเองเออเองได้ด้วยหรอคับ

มีอยู่ช่วงนึงขยันปฏิบัติมากขึ้น ก็ยิ่งฟุ้งซ่านมากขึ้น เครียดขึ้น มึนไปหมด
ใครพูดไรไม่ถูกใจหน่อย ก็คิดมาก วนอยู่ในหัว โดยที่ระงับไม่อยู่ ไม่รู้เป็นอะไร ตั้งหลายวัน
(เคยทำตามหลวงพ่อปราโมทย์ ใจหนีไปคิดก็รู้ ก็ทำไม่ได้เหมือนกำลังสมาธิไม่มี)

วันหนึ่งก่อนนอนสวดมนต์ นั่งสมาธิตามปกติ
นั่งอยู่เฉยๆ แต่ใจก็คิดฟุ้งซ่าน เครียด
.....อยู่ๆก็มีเสียงในใจพูดว่า "ความทุกข์เกิดที่ใจไช่ไหม ก็ดับที่ใจสิ"
.....แล้วก็หยุดฟุ้งซ่าน โล่ง สบาย ไปเฉยๆ นี่ไม่รู้ว่าเสียงนี้เราคิดเอาเองหรือยังไง

คำถาม
1. วิธีระงับความฟุ้งซ่านมีกี่วิธี อะไรบ้าง เนื่องจากผมเป็นคนคิดมาก บางทีทำสมาธิใจก็ไม่เป็นสมาธิ
(ไม่อยากรอให้หายเองแบบอาการข้างต้น)


พอมองออกไหมครับ เกิดอะไรขึ้นแก่เขา

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ม.ค. 2014, 17:35 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
อโศกะ

สุดท้ายก็เป็นไปตามคาด คือ กรัชกายต้องการให้ทุกตนเห็นอย่างที่กรัชกายอยากจะให้มันเป็น


แน่ะ ตรงไหน ที่กรัชกายสื่อย่างอโศกพูด ยกมาหน่อยสิขอรับ :b1: คิกๆๆ




ปรึกษาคุณอโศกหน่อย สองตัวอย่างนี้ เขาเป็นอะไร แล้วทำไงต่อ :b1:

อ้างคำพูด:
หัดนั่งสมาธิโดยแรกๆ ท่องพุทโธ เอา พักหลังๆพอเห็นว่าจิตนิ่งสงบ และสามารถนั่งได้นานขึ้น เลยลองมาท่อง นะมะพะธะ เอา ตอนนั่งแรกๆไม่มีอะไร พอนั่งไปนานมีความรู้สึกว่าคนมาเป่าลมใส่ที่หน้า มีเสียงให้ได้ยินเลย เลยทำให้ตกใจแล้วกระโดดลุกเลย ไม่นั่งสมาธิต่อ ทำไงให้หายค่ะ ขอบคุณค่ะ




อ้างคำพูด:
ใจมันพูดเองเออเองได้ด้วยหรอคับ

มีอยู่ช่วงนึงขยันปฏิบัติมากขึ้น ก็ยิ่งฟุ้งซ่านมากขึ้น เครียดขึ้น มึนไปหมด
ใครพูดไรไม่ถูกใจหน่อย ก็คิดมาก วนอยู่ในหัว โดยที่ระงับไม่อยู่ ไม่รู้เป็นอะไร ตั้งหลายวัน
(เคยทำตามหลวงพ่อปราโมทย์ ใจหนีไปคิดก็รู้ ก็ทำไม่ได้เหมือนกำลังสมาธิไม่มี)

วันหนึ่งก่อนนอนสวดมนต์ นั่งสมาธิตามปกติ
นั่งอยู่เฉยๆ แต่ใจก็คิดฟุ้งซ่าน เครียด
.....อยู่ๆก็มีเสียงในใจพูดว่า "ความทุกข์เกิดที่ใจไช่ไหม ก็ดับที่ใจสิ"
.....แล้วก็หยุดฟุ้งซ่าน โล่ง สบาย ไปเฉยๆ นี่ไม่รู้ว่าเสียงนี้เราคิดเอาเองหรือยังไง

คำถาม
1. วิธีระงับความฟุ้งซ่านมีกี่วิธี อะไรบ้าง เนื่องจากผมเป็นคนคิดมาก บางทีทำสมาธิใจก็ไม่เป็นสมาธิ
(ไม่อยากรอให้หายเองแบบอาการข้างต้น)


พอมองออกไหมครับ เกิดอะไรขึ้นแก่เขา

:b12:
อดใจรอสักวันสองวันได้กลับไปนั่งหน้า PC.เคาะคีย์บอร์ดได้จะติอบมาให้จุใจเลยนะครับ แทบคีย์นี่คัดลอกไปวางยังไม่เป็นครับกำลังศึกษาอยู่
s004


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ม.ค. 2014, 18:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
อโศกะ

สุดท้ายก็เป็นไปตามคาด คือ กรัชกายต้องการให้ทุกตนเห็นอย่างที่กรัชกายอยากจะให้มันเป็น


แน่ะ ตรงไหน ที่กรัชกายสื่อย่างอโศกพูด ยกมาหน่อยสิขอรับ :b1: คิกๆๆ




ปรึกษาคุณอโศกหน่อย สองตัวอย่างนี้ เขาเป็นอะไร แล้วทำไงต่อ :b1:

อ้างคำพูด:
หัดนั่งสมาธิโดยแรกๆ ท่องพุทโธ เอา พักหลังๆพอเห็นว่าจิตนิ่งสงบ และสามารถนั่งได้นานขึ้น เลยลองมาท่อง นะมะพะธะ เอา ตอนนั่งแรกๆไม่มีอะไร พอนั่งไปนานมีความรู้สึกว่าคนมาเป่าลมใส่ที่หน้า มีเสียงให้ได้ยินเลย เลยทำให้ตกใจแล้วกระโดดลุกเลย ไม่นั่งสมาธิต่อ ทำไงให้หายค่ะ ขอบคุณค่ะ




อ้างคำพูด:
ใจมันพูดเองเออเองได้ด้วยหรอคับ

มีอยู่ช่วงนึงขยันปฏิบัติมากขึ้น ก็ยิ่งฟุ้งซ่านมากขึ้น เครียดขึ้น มึนไปหมด
ใครพูดไรไม่ถูกใจหน่อย ก็คิดมาก วนอยู่ในหัว โดยที่ระงับไม่อยู่ ไม่รู้เป็นอะไร ตั้งหลายวัน
(เคยทำตามหลวงพ่อปราโมทย์ ใจหนีไปคิดก็รู้ ก็ทำไม่ได้เหมือนกำลังสมาธิไม่มี)

วันหนึ่งก่อนนอนสวดมนต์ นั่งสมาธิตามปกติ
นั่งอยู่เฉยๆ แต่ใจก็คิดฟุ้งซ่าน เครียด
.....อยู่ๆก็มีเสียงในใจพูดว่า "ความทุกข์เกิดที่ใจไช่ไหม ก็ดับที่ใจสิ"
.....แล้วก็หยุดฟุ้งซ่าน โล่ง สบาย ไปเฉยๆ นี่ไม่รู้ว่าเสียงนี้เราคิดเอาเองหรือยังไง

คำถาม
1. วิธีระงับความฟุ้งซ่านมีกี่วิธี อะไรบ้าง เนื่องจากผมเป็นคนคิดมาก บางทีทำสมาธิใจก็ไม่เป็นสมาธิ
(ไม่อยากรอให้หายเองแบบอาการข้างต้น)


พอมองออกไหมครับ เกิดอะไรขึ้นแก่เขา

:b12:
อดใจรอสักวันสองวันได้กลับไปนั่งหน้า PC.เคาะคีย์บอร์ดได้จะติอบมาให้จุใจเลยนะครับ แทบคีย์นี่คัดลอกไปวางยังไม่เป็นครับกำลังศึกษาอยู่
s004



ไม่เป็นไรครับ ไม่เป็นไร นำมาเพิ่ออธิบายคำพูดก่อนหน้าที่ว่า "รู้เห็นตามที่มันเป็น ไม่ใช่รู้เห็นตามที่เราอยากให้มันเป็น" ผู้ฝึกอบรมจิต หรือปฏิบัติธรรม หรือปฏิบัติกรรมฐาน หรือปฏิบัติตามแนวสติปัฏฐาน (เรียกมันทุกชื่อเลย) :b32: พึงกำหนดรู้ตามที่มัีนเป็น (ของมัน) เป็นยังไง รู้สึกยังไง ก็กำหนดรู้ยังงั้น ทุกๆครั้ง ทุกๆขณะ เดี๋ยวนั้นขณะนั้น ไม่ใช่รู้เห็นตามที่ตัวเองอยาก (วาดภาพ) ให้มันเป็น แล้วก็ว่านั่นนี่ใช่นั่นไม่ใช่นี่ตามความยึดความอยาก (ของตน) พอเข้าใจมั้ยขอรับ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ม.ค. 2014, 19:46 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
อโศกะ

สุดท้ายก็เป็นไปตามคาด คือ กรัชกายต้องการให้ทุกตนเห็นอย่างที่กรัชกายอยากจะให้มันเป็น


แน่ะ ตรงไหน ที่กรัชกายสื่อย่างอโศกพูด ยกมาหน่อยสิขอรับ :b1: คิกๆๆ




ปรึกษาคุณอโศกหน่อย สองตัวอย่างนี้ เขาเป็นอะไร แล้วทำไงต่อ :b1:

อ้างคำพูด:
หัดนั่งสมาธิโดยแรกๆ ท่องพุทโธ เอา พักหลังๆพอเห็นว่าจิตนิ่งสงบ และสามารถนั่งได้นานขึ้น เลยลองมาท่อง นะมะพะธะ เอา ตอนนั่งแรกๆไม่มีอะไร พอนั่งไปนานมีความรู้สึกว่าคนมาเป่าลมใส่ที่หน้า มีเสียงให้ได้ยินเลย เลยทำให้ตกใจแล้วกระโดดลุกเลย ไม่นั่งสมาธิต่อ ทำไงให้หายค่ะ ขอบคุณค่ะ




อ้างคำพูด:
ใจมันพูดเองเออเองได้ด้วยหรอคับ

มีอยู่ช่วงนึงขยันปฏิบัติมากขึ้น ก็ยิ่งฟุ้งซ่านมากขึ้น เครียดขึ้น มึนไปหมด
ใครพูดไรไม่ถูกใจหน่อย ก็คิดมาก วนอยู่ในหัว โดยที่ระงับไม่อยู่ ไม่รู้เป็นอะไร ตั้งหลายวัน
(เคยทำตามหลวงพ่อปราโมทย์ ใจหนีไปคิดก็รู้ ก็ทำไม่ได้เหมือนกำลังสมาธิไม่มี)

วันหนึ่งก่อนนอนสวดมนต์ นั่งสมาธิตามปกติ
นั่งอยู่เฉยๆ แต่ใจก็คิดฟุ้งซ่าน เครียด
.....อยู่ๆก็มีเสียงในใจพูดว่า "ความทุกข์เกิดที่ใจไช่ไหม ก็ดับที่ใจสิ"
.....แล้วก็หยุดฟุ้งซ่าน โล่ง สบาย ไปเฉยๆ นี่ไม่รู้ว่าเสียงนี้เราคิดเอาเองหรือยังไง

คำถาม
1. วิธีระงับความฟุ้งซ่านมีกี่วิธี อะไรบ้าง เนื่องจากผมเป็นคนคิดมาก บางทีทำสมาธิใจก็ไม่เป็นสมาธิ
(ไม่อยากรอให้หายเองแบบอาการข้างต้น)


พอมองออกไหมครับ เกิดอะไรขึ้นแก่เขา

:b12:
อดใจรอสักวันสองวันได้กลับไปนั่งหน้า PC.เคาะคีย์บอร์ดได้จะติอบมาให้จุใจเลยนะครับ แทบคีย์นี่คัดลอกไปวางยังไม่เป็นครับกำลังศึกษาอยู่
s004



ไม่เป็นไรครับ ไม่เป็นไร นำมาเพิ่ออธิบายคำพูดก่อนหน้าที่ว่า "รู้เห็นตามที่มันเป็น ไม่ใช่รู้เห็นตามที่เราอยากให้มันเป็น" ผู้ฝึกอบรมจิต หรือปฏิบัติธรรม หรือปฏิบัติกรรมฐาน หรือปฏิบัติตามแนวสติปัฏฐาน (เรียกมันทุกชื่อเลย) :b32: พึงกำหนดรู้ตามที่มัีนเป็น (ของมัน) เป็นยังไง รู้สึกยังไง ก็กำหนดรู้ยังงั้น ทุกๆครั้ง ทุกๆขณะ เดี๋ยวนั้นขณะนั้น ไม่ใช่รู้เห็นตามที่ตัวเองอยาก (วาดภาพ) ให้มันเป็น แล้วก็ว่านั่นนี่ใช่นั่นไม่ใช่นี่ตามความยึดความอยาก (ของตน) พอเข้าใจมั้ยขอรับ :b1:

s004
อ้าว!
ก็เข้าใจดีแล้วนี่

มีข้อให้สังเกตนิดหนึ่งว่าหากยังมีคำว่า

"ให้กำหนด พึงกำหนด หรือ กำหนด" อย่างนี้อยู่

มันจะยังเป็นเราหรือกู กำหนด อยู่ร่ำไป ต้องขยับขึ้นไปอีกนิดหนึ่งคือยกให้สติกับปัญญาเขาทำหน้าทีเองตามธรรมชาติคือ

กำหนดนิดหนึ่งครั้งแรกครั้งเดียวให้สติ รู้ทันปัจจุบันอารมณ์ไป ปัญญาก็สังเกต พิจารณาไปตามหน้าที่ของเขา

ทำได้อย่างนี้จะเกิดอาการไร้เจตนา ไม่ใส่เจตนา หรือที่เขานิยมว่า

"รู้ซื่อๆ..รู้เฉยๆ"

ทำได้อย่างนี้อาการที่บอกว่า "รู้ตามที่เขาเป็น"จึงจะเกิดโดยสมบูรณ์และเป็นวิปัสสนาภาวนาแท้ๆ
onion onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ม.ค. 2014, 20:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
อโศกะ

สุดท้ายก็เป็นไปตามคาด คือ กรัชกายต้องการให้ทุกตนเห็นอย่างที่กรัชกายอยากจะให้มันเป็น


แน่ะ ตรงไหน ที่กรัชกายสื่อย่างอโศกพูด ยกมาหน่อยสิขอรับ :b1: คิกๆๆ




ปรึกษาคุณอโศกหน่อย สองตัวอย่างนี้ เขาเป็นอะไร แล้วทำไงต่อ :b1:

อ้างคำพูด:
หัดนั่งสมาธิโดยแรกๆ ท่องพุทโธ เอา พักหลังๆพอเห็นว่าจิตนิ่งสงบ และสามารถนั่งได้นานขึ้น เลยลองมาท่อง นะมะพะธะ เอา ตอนนั่งแรกๆไม่มีอะไร พอนั่งไปนานมีความรู้สึกว่าคนมาเป่าลมใส่ที่หน้า มีเสียงให้ได้ยินเลย เลยทำให้ตกใจแล้วกระโดดลุกเลย ไม่นั่งสมาธิต่อ ทำไงให้หายค่ะ ขอบคุณค่ะ




อ้างคำพูด:
ใจมันพูดเองเออเองได้ด้วยหรอคับ

มีอยู่ช่วงนึงขยันปฏิบัติมากขึ้น ก็ยิ่งฟุ้งซ่านมากขึ้น เครียดขึ้น มึนไปหมด
ใครพูดไรไม่ถูกใจหน่อย ก็คิดมาก วนอยู่ในหัว โดยที่ระงับไม่อยู่ ไม่รู้เป็นอะไร ตั้งหลายวัน
(เคยทำตามหลวงพ่อปราโมทย์ ใจหนีไปคิดก็รู้ ก็ทำไม่ได้เหมือนกำลังสมาธิไม่มี)

วันหนึ่งก่อนนอนสวดมนต์ นั่งสมาธิตามปกติ
นั่งอยู่เฉยๆ แต่ใจก็คิดฟุ้งซ่าน เครียด
.....อยู่ๆก็มีเสียงในใจพูดว่า "ความทุกข์เกิดที่ใจไช่ไหม ก็ดับที่ใจสิ"
.....แล้วก็หยุดฟุ้งซ่าน โล่ง สบาย ไปเฉยๆ นี่ไม่รู้ว่าเสียงนี้เราคิดเอาเองหรือยังไง

คำถาม
1. วิธีระงับความฟุ้งซ่านมีกี่วิธี อะไรบ้าง เนื่องจากผมเป็นคนคิดมาก บางทีทำสมาธิใจก็ไม่เป็นสมาธิ
(ไม่อยากรอให้หายเองแบบอาการข้างต้น)


พอมองออกไหมครับ เกิดอะไรขึ้นแก่เขา

:b12:
อดใจรอสักวันสองวันได้กลับไปนั่งหน้า PC.เคาะคีย์บอร์ดได้จะติอบมาให้จุใจเลยนะครับ แทบคีย์นี่คัดลอกไปวางยังไม่เป็นครับกำลังศึกษาอยู่
s004



ไม่เป็นไรครับ ไม่เป็นไร นำมาเพิ่ออธิบายคำพูดก่อนหน้าที่ว่า "รู้เห็นตามที่มันเป็น ไม่ใช่รู้เห็นตามที่เราอยากให้มันเป็น" ผู้ฝึกอบรมจิต หรือปฏิบัติธรรม หรือปฏิบัติกรรมฐาน หรือปฏิบัติตามแนวสติปัฏฐาน (เรียกมันทุกชื่อเลย) :b32: พึงกำหนดรู้ตามที่มัีนเป็น (ของมัน) เป็นยังไง รู้สึกยังไง ก็กำหนดรู้ยังงั้น ทุกๆครั้ง ทุกๆขณะ เดี๋ยวนั้นขณะนั้น ไม่ใช่รู้เห็นตามที่ตัวเองอยาก (วาดภาพ) ให้มันเป็น แล้วก็ว่านั่นนี่ใช่นั่นไม่ใช่นี่ตามความยึดความอยาก (ของตน) พอเข้าใจมั้ยขอรับ :b1:

s004
อ้าว!
ก็เข้าใจดีแล้วนี่

มีข้อให้สังเกตนิดหนึ่งว่าหากยังมีคำว่า

"ให้กำหนด พึงกำหนด หรือ กำหนด" อย่างนี้อยู่

มันจะยังเป็นเราหรือกู กำหนด อยู่ร่ำไป ต้องขยับขึ้นไปอีกนิดหนึ่งคือยกให้สติกับปัญญาเขาทำหน้าทีเองตามธรรมชาติคือ

กำหนดนิดหนึ่งครั้งแรกครั้งเดียวให้สติ รู้ทันปัจจุบันอารมณ์ไป ปัญญาก็สังเกต พิจารณาไปตามหน้าที่ของเขา

ทำได้อย่างนี้จะเกิดอาการไร้เจตนา ไม่ใส่เจตนา หรือที่เขานิยมว่า

"รู้ซื่อๆ..รู้เฉยๆ"

ทำได้อย่างนี้อาการที่บอกว่า "รู้ตามที่เขาเป็น"จึงจะเกิดโดยสมบูรณ์และเป็นวิปัสสนาภาวนาแท้ๆ
onion onion



อย่างที่อโศกว่านั่นแหละต้องการให้มันเป็นตามที่ตนเองต้องการ ไม่ใช่ตามที่ธรรมะชาติมันเป็น

ดูๆอโศกยังแค่จินตนาการเอาว่า เป็นนั่น เป็นนี่ ไม่ใช่นี่ เป็นนั่น :b1: นี่แหละเรียกรู้ตามที่ตนเองต้องการให้มันเป็น
คิดไปจะเอาอะไรจะไปไหนก็เอาทำนองนี้

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ม.ค. 2014, 03:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
อโศกะ

สุดท้ายก็เป็นไปตามคาด คือ กรัชกายต้องการให้ทุกตนเห็นอย่างที่กรัชกายอยากจะให้มันเป็น


แน่ะ ตรงไหน ที่กรัชกายสื่อย่างอโศกพูด ยกมาหน่อยสิขอรับ :b1: คิกๆๆ




ปรึกษาคุณอโศกหน่อย สองตัวอย่างนี้ เขาเป็นอะไร แล้วทำไงต่อ :b1:

อ้างคำพูด:
หัดนั่งสมาธิโดยแรกๆ ท่องพุทโธ เอา พักหลังๆพอเห็นว่าจิตนิ่งสงบ และสามารถนั่งได้นานขึ้น เลยลองมาท่อง นะมะพะธะ เอา ตอนนั่งแรกๆไม่มีอะไร พอนั่งไปนานมีความรู้สึกว่าคนมาเป่าลมใส่ที่หน้า มีเสียงให้ได้ยินเลย เลยทำให้ตกใจแล้วกระโดดลุกเลย ไม่นั่งสมาธิต่อ ทำไงให้หายค่ะ ขอบคุณค่ะ




อ้างคำพูด:
ใจมันพูดเองเออเองได้ด้วยหรอคับ

มีอยู่ช่วงนึงขยันปฏิบัติมากขึ้น ก็ยิ่งฟุ้งซ่านมากขึ้น เครียดขึ้น มึนไปหมด
ใครพูดไรไม่ถูกใจหน่อย ก็คิดมาก วนอยู่ในหัว โดยที่ระงับไม่อยู่ ไม่รู้เป็นอะไร ตั้งหลายวัน
(เคยทำตามหลวงพ่อปราโมทย์ ใจหนีไปคิดก็รู้ ก็ทำไม่ได้เหมือนกำลังสมาธิไม่มี)

วันหนึ่งก่อนนอนสวดมนต์ นั่งสมาธิตามปกติ
นั่งอยู่เฉยๆ แต่ใจก็คิดฟุ้งซ่าน เครียด
.....อยู่ๆก็มีเสียงในใจพูดว่า "ความทุกข์เกิดที่ใจไช่ไหม ก็ดับที่ใจสิ"
.....แล้วก็หยุดฟุ้งซ่าน โล่ง สบาย ไปเฉยๆ นี่ไม่รู้ว่าเสียงนี้เราคิดเอาเองหรือยังไง

คำถาม
1. วิธีระงับความฟุ้งซ่านมีกี่วิธี อะไรบ้าง เนื่องจากผมเป็นคนคิดมาก บางทีทำสมาธิใจก็ไม่เป็นสมาธิ
(ไม่อยากรอให้หายเองแบบอาการข้างต้น)


พอมองออกไหมครับ เกิดอะไรขึ้นแก่เขา


ปัญหาหลักของคนปฏิบัติคือ การมุ่งหวังความสงบ โดยแยกไม่ออกว่าความสงบเป็นสมาธิ กับความตั้งมั่นของจิตแตกต่างกันอย่างไร เมื่อเกิดสภาวะเสพอารมณ์เพราะเกิดการกระทบเป็นผัสสะ การที่อยู่ๆมีเสียงในใจที่พูดว่า "ความทุกข์เกิดที่ใจใช่ไหม ก็ดับที่ใจสิ" ความเห็นผมคือผัสสะที่เกิดจากมโน เป็นความคิดที่เป็นกุศล จึงทำให้เกิดความโล่งสบาย คือเป็นความเพลิดเพลินในธรรมที่ปรุ่งแต่ง แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่รู้ร้อนรู้หนาว ไม่รู้ความเกิดดับตามปสาทรูป

อีกท่านที่เหมือนถูกลมเป่าที่หน้า อันนี้ไม่รู้ครับไม่มีความเห็น

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ม.ค. 2014, 04:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
อโศกะ

สุดท้ายก็เป็นไปตามคาด คือ กรัชกายต้องการให้ทุกตนเห็นอย่างที่กรัชกายอยากจะให้มันเป็น


แน่ะ ตรงไหน ที่กรัชกายสื่อย่างอโศกพูด ยกมาหน่อยสิขอรับ :b1: คิกๆๆ




ปรึกษาคุณอโศกหน่อย สองตัวอย่างนี้ เขาเป็นอะไร แล้วทำไงต่อ :b1:

อ้างคำพูด:
หัดนั่งสมาธิโดยแรกๆ ท่องพุทโธ เอา พักหลังๆพอเห็นว่าจิตนิ่งสงบ และสามารถนั่งได้นานขึ้น เลยลองมาท่อง นะมะพะธะ เอา ตอนนั่งแรกๆไม่มีอะไร พอนั่งไปนานมีความรู้สึกว่าคนมาเป่าลมใส่ที่หน้า มีเสียงให้ได้ยินเลย เลยทำให้ตกใจแล้วกระโดดลุกเลย ไม่นั่งสมาธิต่อ ทำไงให้หายค่ะ ขอบคุณค่ะ




อ้างคำพูด:
ใจมันพูดเองเออเองได้ด้วยหรอคับ

มีอยู่ช่วงนึงขยันปฏิบัติมากขึ้น ก็ยิ่งฟุ้งซ่านมากขึ้น เครียดขึ้น มึนไปหมด
ใครพูดไรไม่ถูกใจหน่อย ก็คิดมาก วนอยู่ในหัว โดยที่ระงับไม่อยู่ ไม่รู้เป็นอะไร ตั้งหลายวัน
(เคยทำตามหลวงพ่อปราโมทย์ ใจหนีไปคิดก็รู้ ก็ทำไม่ได้เหมือนกำลังสมาธิไม่มี)

วันหนึ่งก่อนนอนสวดมนต์ นั่งสมาธิตามปกติ
นั่งอยู่เฉยๆ แต่ใจก็คิดฟุ้งซ่าน เครียด
.....อยู่ๆก็มีเสียงในใจพูดว่า "ความทุกข์เกิดที่ใจไช่ไหม ก็ดับที่ใจสิ"
.....แล้วก็หยุดฟุ้งซ่าน โล่ง สบาย ไปเฉยๆ นี่ไม่รู้ว่าเสียงนี้เราคิดเอาเองหรือยังไง

คำถาม
1. วิธีระงับความฟุ้งซ่านมีกี่วิธี อะไรบ้าง เนื่องจากผมเป็นคนคิดมาก บางทีทำสมาธิใจก็ไม่เป็นสมาธิ
(ไม่อยากรอให้หายเองแบบอาการข้างต้น)


พอมองออกไหมครับ เกิดอะไรขึ้นแก่เขา


ปัญหาหลักของคนปฏิบัติคือ การมุ่งหวังความสงบ โดยแยกไม่ออกว่าความสงบเป็นสมาธิ กับความตั้งมั่นของจิตแตกต่างกันอย่างไร เมื่อเกิดสภาวะเสพอารมณ์เพราะเกิดการกระทบเป็นผัสสะ การที่อยู่ๆมีเสียงในใจที่พูดว่า "ความทุกข์เกิดที่ใจใช่ไหม ก็ดับที่ใจสิ" ความเห็นผมคือผัสสะที่เกิดจากมโน เป็นความคิดที่เป็นกุศล จึงทำให้เกิดความโล่งสบาย คือเป็นความเพลิดเพลินในธรรมที่ปรุ่งแต่ง แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่รู้ร้อนรู้หนาว ไม่รู้ความเกิดดับตามปสาทรูป

อีกท่านที่เหมือนถูกลมเป่าที่หน้า อันนี้ไม่รู้ครับไม่มีความเห็น



ก็สภาวธรรมปรากฏตัวมันยังงั้น (อย่างที่นำั 2 ตัวอย่างให้ดู) มันก็เป็นยังงั้น (คุณจะเอายังไงกับมัน) แต่นักปฏิบัติเช่นพวกเรา กลับปฏิเสธความจริง คิดวาดภาพ นั่น นี่ โน่น โน้น อะไำรต่ออะไรก็ว่ากันไปวาดภาพ (จินตภาพ) กันไป ...จะเอาตามที่ตนเองต้องการ คุณ student ชัดเจน :b1: วาดภาพตามที่ตนเองต้องการ

ส่วนคุณอโศกก็วาดภาพ นิพพาน วาดภาพวิปัสสนา วาดภาพตัวกู บทกลอนคำคม...ตะบอย ตะบี้ตะบันอะไรของตนก็ว่าไป :b13: จะเอานั่น เอานี่ ตามที่ตัวเองอยากได้

ขอพูดดังๆ ผู้ปฏิบัติภาวนา (หรือตั้งชื่อเอา) คิดทำอย่างคุณ student คุณอโศกเนื่ยะ ให้คิดให้ทำจนวันตาย :b9: ไม่มีทางพบเห็นสัจธรรมความจริง :b32: เพราะคิดสวนปรมัตถสัจจะหมดเลย :b13:

ลงท้ายด้วยคำพูดที่ว่า "รู้เห็นตามที่มันเป็น มิใช่รู้เห็นตามที่ตัวเองอยากให้มันเป็น" :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ม.ค. 2014, 12:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
อโศกะ

สุดท้ายก็เป็นไปตามคาด คือ กรัชกายต้องการให้ทุกตนเห็นอย่างที่กรัชกายอยากจะให้มันเป็น


แน่ะ ตรงไหน ที่กรัชกายสื่อย่างอโศกพูด ยกมาหน่อยสิขอรับ :b1: คิกๆๆ




ปรึกษาคุณอโศกหน่อย สองตัวอย่างนี้ เขาเป็นอะไร แล้วทำไงต่อ :b1:

อ้างคำพูด:
หัดนั่งสมาธิโดยแรกๆ ท่องพุทโธ เอา พักหลังๆพอเห็นว่าจิตนิ่งสงบ และสามารถนั่งได้นานขึ้น เลยลองมาท่อง นะมะพะธะ เอา ตอนนั่งแรกๆไม่มีอะไร พอนั่งไปนานมีความรู้สึกว่าคนมาเป่าลมใส่ที่หน้า มีเสียงให้ได้ยินเลย เลยทำให้ตกใจแล้วกระโดดลุกเลย ไม่นั่งสมาธิต่อ ทำไงให้หายค่ะ ขอบคุณค่ะ




อ้างคำพูด:
ใจมันพูดเองเออเองได้ด้วยหรอคับ

มีอยู่ช่วงนึงขยันปฏิบัติมากขึ้น ก็ยิ่งฟุ้งซ่านมากขึ้น เครียดขึ้น มึนไปหมด
ใครพูดไรไม่ถูกใจหน่อย ก็คิดมาก วนอยู่ในหัว โดยที่ระงับไม่อยู่ ไม่รู้เป็นอะไร ตั้งหลายวัน
(เคยทำตามหลวงพ่อปราโมทย์ ใจหนีไปคิดก็รู้ ก็ทำไม่ได้เหมือนกำลังสมาธิไม่มี)

วันหนึ่งก่อนนอนสวดมนต์ นั่งสมาธิตามปกติ
นั่งอยู่เฉยๆ แต่ใจก็คิดฟุ้งซ่าน เครียด
.....อยู่ๆก็มีเสียงในใจพูดว่า "ความทุกข์เกิดที่ใจไช่ไหม ก็ดับที่ใจสิ"
.....แล้วก็หยุดฟุ้งซ่าน โล่ง สบาย ไปเฉยๆ นี่ไม่รู้ว่าเสียงนี้เราคิดเอาเองหรือยังไง

คำถาม
1. วิธีระงับความฟุ้งซ่านมีกี่วิธี อะไรบ้าง เนื่องจากผมเป็นคนคิดมาก บางทีทำสมาธิใจก็ไม่เป็นสมาธิ
(ไม่อยากรอให้หายเองแบบอาการข้างต้น)


พอมองออกไหมครับ เกิดอะไรขึ้นแก่เขา


ปัญหาหลักของคนปฏิบัติคือ การมุ่งหวังความสงบ โดยแยกไม่ออกว่าความสงบเป็นสมาธิ กับความตั้งมั่นของจิตแตกต่างกันอย่างไร เมื่อเกิดสภาวะเสพอารมณ์เพราะเกิดการกระทบเป็นผัสสะ การที่อยู่ๆมีเสียงในใจที่พูดว่า "ความทุกข์เกิดที่ใจใช่ไหม ก็ดับที่ใจสิ" ความเห็นผมคือผัสสะที่เกิดจากมโน เป็นความคิดที่เป็นกุศล จึงทำให้เกิดความโล่งสบาย คือเป็นความเพลิดเพลินในธรรมที่ปรุ่งแต่ง แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่รู้ร้อนรู้หนาว ไม่รู้ความเกิดดับตามปสาทรูป

อีกท่านที่เหมือนถูกลมเป่าที่หน้า อันนี้ไม่รู้ครับไม่มีความเห็น



ก็สภาวธรรมปรากฏตัวมันยังงั้น (อย่างที่นำั 2 ตัวอย่างให้ดู) มันก็เป็นยังงั้น (คุณจะเอายังไงกับมัน) แต่นักปฏิบัติเช่นพวกเรา กลับปฏิเสธความจริง คิดวาดภาพ นั่น นี่ โน่น โน้น อะไำรต่ออะไรก็ว่ากันไปวาดภาพ (จินตภาพ) กันไป ...จะเอาตามที่ตนเองต้องการ คุณ student ชัดเจน :b1: วาดภาพตามที่ตนเองต้องการ

ส่วนคุณอโศกก็วาดภาพ นิพพาน วาดภาพวิปัสสนา วาดภาพตัวกู บทกลอนคำคม...ตะบอย ตะบี้ตะบันอะไรของตนก็ว่าไป :b13: จะเอานั่น เอานี่ ตามที่ตัวเองอยากได้

ขอพูดดังๆ ผู้ปฏิบัติภาวนา (หรือตั้งชื่อเอา) คิดทำอย่างคุณ student คุณอโศกเนื่ยะ ให้คิดให้ทำจนวันตาย :b9: ไม่มีทางพบเห็นสัจธรรมความจริง :b32: เพราะคิดสวนปรมัตถสัจจะหมดเลย :b13:

ลงท้ายด้วยคำพูดที่ว่า "รู้เห็นตามที่มันเป็น มิใช่รู้เห็นตามที่ตัวเองอยากให้มันเป็น" :b1:


คุณกรัชกายเอาคำสองคำมาต่อกันครับ ความหมายสองคำนี้พิจารณาได้เป็นกุศลทั้งคู่

รู้เห็นตามที่มันเป็น ก็บอกอยู่แล้วว่ารู้เห็น

รู้เห็นตามที่ตัวเองอยากให้มันเป็น ไปในทางที่ควรจะเป็นก็ได้ ไม่ขัดแย้งกันครับ

คุณกรัชกายเหมือนจะชี้ออกมาให้เข้าใจว่าขัดแย้งกัน ครับ

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ม.ค. 2014, 12:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


ธรรมที่ขัดแย้งกัน ยกตัวอย่าง ความกรุณา ขัดแย้งกับความอาฆาตพยาบาท นี่เรียกว่าขัดแย้งกันครับ

เวลาปฏิบัติธรรม เกิดความอาฆาตขึ้นในจิตใจ คุณกรัชกายจะทำอย่างไรครับ จะตามอารมณ์ความอาฆาตจนถึงที่สุด หรือ จะหาแนวทางดับความอาฆาตนั้นลง

คุณกรัชกายจะเอาธรรมที่พิจารณาแล้วเกิดกุศล มาเป็นอยากให้มันเป็นอย่างนั้นเหรอครับ

คุณกรัชกายจะเอาข้อความมาต่อกันก็ต้องพิจารณาว่า เป็นแนวทางได้ทั้งสองทางสิครับ ไม่ใช่ให้เกิดความขัดแย้งของความหมาย

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ม.ค. 2014, 12:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
ธรรมที่ขัดแย้งกัน ยกตัวอย่าง ความกรุณา ขัดแย้งกับความอาฆาตพยาบาท นี่เรียกว่าขัดแย้งกันครับ

เวลาปฏิบัติธรรม เกิดความอาฆาตขึ้นในจิตใจ คุณกรัชกายจะทำอย่างไรครับ จะตามอารมณ์ความอาฆาตจนถึงที่สุด หรือ จะหาแนวทางดับความอาฆาตนั้นลง

คุณกรัชกายจะเอาธรรมที่พิจารณาแล้วเกิดกุศล มาเป็นอยากให้มันเป็นอย่างนั้นเหรอครับ

คุณกรัชกายจะเอาข้อความมาต่อกันก็ต้องพิจารณาว่า เป็นแนวทางได้ทั้งสองทางสิครับ ไม่ใช่ให้เกิดความขัดแย้งของความหมาย



พูดจากใจนะขอรับ เราสองคนเนี่ยะนะ ต่อให้โต้เถียงกันจนตาย :b32: ก็ไม่มีวันบรรจบกันได้ เหมือนเส้นทางขนานกัน คือ คุณคิดเอาแบบนั้น แต่กรัชกายเอาสภาวธรรมซึ่งปรากฎ ณ ขณะจิตนั้นๆ ประกอบคำพูดคำอธิบาย เช่น ตัวอย่างนี้


อ้างคำพูด:
หัดนั่งสมาธิโดยแรกๆ ท่องพุทโธ เอา พักหลังๆพอเห็นว่าจิตนิ่งสงบ และสามารถนั่งได้นานขึ้น เลยลองมาท่อง นะมะพะธะ เอา ตอนนั่งแรกๆไม่มีอะไร พอนั่งไปนานมีความรู้สึกว่าคนมาเป่าลมใส่ที่หน้า มีเสียงให้ได้ยินเลย เลยทำให้ตกใจแล้วกระโดดลุกเลย ไม่นั่งสมาธิต่อ ทำไงให้หายค่ะ ขอบคุณค่ะ


กับตัวอย่างนี้


อ้างคำพูด:
ใจมันพูดเองเออเองได้ด้วยหรอคับ

มีอยู่ช่วงนึงขยันปฏิบัติมากขึ้น ก็ยิ่งฟุ้งซ่านมากขึ้น เครียดขึ้น มึนไปหมด
ใครพูดไรไม่ถูกใจหน่อย ก็คิดมาก วนอยู่ในหัว โดยที่ระงับไม่อยู่ ไม่รู้เป็นอะไร ตั้งหลายวัน
(เคยทำตามหลวงพ่อปราโมทย์ ใจหนีไปคิดก็รู้ ก็ทำไม่ได้เหมือนกำลังสมาธิไม่มี)

วันหนึ่งก่อนนอนสวดมนต์ นั่งสมาธิตามปกติ
นั่งอยู่เฉยๆ แต่ใจก็คิดฟุ้งซ่าน เครียด
.....อยู่ๆก็มีเสียงในใจพูดว่า "ความทุกข์เกิดที่ใจไช่ไหม ก็ดับที่ใจสิ"
.....แล้วก็หยุดฟุ้งซ่าน โล่ง สบาย ไปเฉยๆ นี่ไม่รู้ว่าเสียงนี้เราคิดเอาเองหรือยังไง

คำถาม
1. วิธีระงับความฟุ้งซ่านมีกี่วิธี อะไรบ้าง เนื่องจากผมเป็นคนคิดมาก บางทีทำสมาธิใจก็ไม่เป็นสมาธิ
(ไม่อยากรอให้หายเองแบบอาการข้างต้น)




หรือพูดอีกอย่างหนึ่งเราสองคนเหมือนขมิ้นกับปูน คิกๆๆ

http://www.youtube.com/watch?v=BZVGuy5K0bA

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ม.ค. 2014, 13:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
ธรรมที่ขัดแย้งกัน ยกตัวอย่าง ความกรุณา ขัดแย้งกับความอาฆาตพยาบาท นี่เรียกว่าขัดแย้งกันครับ

เวลาปฏิบัติธรรม เกิดความอาฆาตขึ้นในจิตใจ คุณกรัชกายจะทำอย่างไรครับ จะตามอารมณ์ความอาฆาตจนถึงที่สุด หรือ จะหาแนวทางดับความอาฆาตนั้นลง

คุณกรัชกายจะเอาธรรมที่พิจารณาแล้วเกิดกุศล มาเป็นอยากให้มันเป็นอย่างนั้นเหรอครับ

คุณกรัชกายจะเอาข้อความมาต่อกันก็ต้องพิจารณาว่า เป็นแนวทางได้ทั้งสองทางสิครับ ไม่ใช่ให้เกิดความขัดแย้งของความหมาย



เอาอีกเอ้า :b1:

อ้างคำพูด:
เมื่อคืนนั่งสมาธิ แล้วรู้สึกว่าร่างกายเป็นกรอบหนาๆ ที่ห่อหุ้ม พอผ่านไปซักพักรู้สึกว่าภายในกรอบที่ห่อหุ้มเหมือนเป็นน้ำที่มีการกระเพื่อม มีการสั่นไหว นี่เป็นเรื่องปรกติของคนนั่งสมาธิหรือเปล่าค่ะ หรือว่าจิตคิดไปเอง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 139 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 ... 10  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร