วันเวลาปัจจุบัน 06 พ.ค. 2025, 00:54  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


รวมกระทู้จากบอร์ดเก่า http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=7



กลับไปยังกระทู้  [ 1 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ค. 2010, 18:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกใหม่
สมาชิกใหม่
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ก.ค. 2010, 22:44
โพสต์: 9

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


สิ่งที่เรียกว่าธรรมมะนั้นจะอำนวยให้สำเร็จประโยชน์อย่างนั้นที่ซึ่งมีความ เจริญงอกงามในหน้าที่การงานซึ่งเรียกว่าธรรมโดยใจความสำคัญคือ สร้างความถูกต้อง ที่นั้นที่นี้ก็หมายถึงสร้างความเป็นมนุษย์ที่ถูกต้องเมื่อมีธรรมมะก็มีความ ที่จะเป็นมนุษย์ที่ถูกต้องจึงต้องอาศัยในซึ่งที่เรียกว้าธรรมมะเราจะต้องมี ความเป็นมนุษย์ที่ถูกต้องเป็นแกนกลางเราจึงจะไปทำหน้าที่โดยเฉพาะออกไปจะ เป็นตำรวจ เป็นทหาร เป็นข้าราชการ เป็นนักการเมือง

แม้จะเป็นพ่อค้าประชาชนจะเป็นคนประเภทไหนก็ขอให้เป็นแกนกลางเป็นความเป็น มนุษย์ที่ถูกต้องเท่านี้เท่านั้นก็จะช่วยได้ให้มีความเป็นมนุษย์ที่ถูกต้อง แล้วก็เป็นแกนกลางสำหรับจะเป็นที่ตั้งจะเป็นอะไรๆต่อไปที่มีความถูกต้องที่ ถูกต้องข้อนี้มีความหมายเฉพาะในทางศาสนาว่าเป็นประโยชน์ในส่วนเดียวไม่มีโทษ เราจะเอาความหมายของคำๆนี้ตามทางศาสนาถูกต้องตามหลักศาสนาคือมีแต่ประโยชน์ ไม่มีโทษนี่จะไปเอาความถูกต้องทางหลักวิชาสากลมันยุ่งถูกต้องทางลักสิก็ อย่างต้องทางจุนซิฟีย์ก็อย่างจึงไม่รู้จะถูกต้องอย่างไร ยุ่งยิ่งหยุงหยิงจนไม่ลงรอยนี่ขอให้มีความถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนาคือว่า มีประโยชน์ไม่มีโทษนี่เรียกว่าความถูกต้องตามหลักของพระพุทธศาสนา

ชีวิตที่ถูกต้องมีความสงบเย็นและก็เป็นประโยชน์สองคำเท่านั้นล่ะชีวิตนี้ก็ ยังมีความสงบเย็นอยู่มีความสงบสุขวิธีนี้ก็เป็นประโยชน์แก่ทุกคนทุก ฝ่ายอย่างนี้เรียกว่าในความถูกต้องท่านทั้งหลายเป็นข้าราชการเป็นตำรวจทีนี้ ก็ความหมายมากคำว่าข้าราชการตำรวจ ทหารมันก็มีค่าเป็นข้าราชการแล้วก็แปลว่าผู้ที่ทำงานของพระราชาข้าราชการที่ จัดไว้ในวรรณะกษัตริย์แต่โบราณกาลสมัยโบราณ วรรณะมี4วรรณะ กษัตริย์ พราหมณ์ แพทย์ สูตร ข้าราชการถูกรวมไว้ในวรรณะกษัตริย์เป็นเกียรติยศอันสูงสุดของให้เรามีความ เป็นวรรณะหรือในวรรณะที่อันสูงสุดโสมตามข้อเท็จจริง


อันนี้เรามีมนุษย์สัจธรรมความถูกต้องเป็นมนุษย์แล้วเราจะเป็นอะไรได้ ทุกอย่างตามที่ควรจะเป็นแล้วก็เป็นได้อย่างดีธรรมมะจะช่วยได้อย่างนี้เราก็ จะเป็นข้าราชการที่ดีเป็นตำรวจที่ดีแล้วแต่ว่าเราจะเป็นอะไรความเป็นมนุษย์ ที่ถูกต้องเป็นพื้นฐานมีอีกอย่างหนึ่งความเป็นตำรวจมีอุดมคติอย่างเดียวกับ อุดมคติของพระโพธิ์สัตย์ ผู้เสียสละผู้เป็นประโยชน์ของผู้อื่นอย่างนี้เรียกว่าโพธิ์สัตย์เสียสละให้ ได้เพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่นนี่คืออุดมคติของพระโพธิ์สัตย์ที่จะช่วยให้มีแต่ ความสงบสุขมีอุดมคติของพระโพธิ์สัตย์นั้นนั้นก็มีหลักใหญ่ๆที่ว่ามีสุทธิ ความบริสุทธิ์ มีปัญญา ความรอบรู้ มีเมฆตา มีความรักความกรุณา และก็มีขันติ อดกลั้น อดทน จริงๆไม่ใช่ของง่ายที่จะใช้โพธิ์มีธรรมมะที่สูงๆอยู่อย่างนี้มีสุทธิคือความ มีบริสุทธิ์ไม่มีมลทินไม่มีความด่างคล้อยเราจะเล็งถึงธรรมมะทั่วไปธรรมมะ พื้นฐาน4ประการมี สัจจะความจริงใจ จริงจังในหน้าที่คือว่าจริงใจในความเป็นมนุษย์ที่ถูกต้องก็ต้องการเป็น มนุษย์ที่ถูกต้องเป็นแกนกลางแล้วก็มีสัจจะความจริงใจต่อความเป็นมนุษย์ที่ ถูกต้องอุดมคติความเป็นมนุษย์เป็นอย่างไรต้องจริงใจกับอุดมคตินั้นนี่เรียก ว่ามีสัจจะ ผู้มีทะมะบังคับบังคับให้มันเป็นอย่างนั้นสัจจะมีอยู่อย่างไรก็มีไว้บังคับ บังคับให้ได้บังคับให้เป็นอย่างนั้นคือบังคับอย่างมีฝีหมายลายมือในบาลีเขา เปรียบเป็นช้างที่ตกมันขวานช้างที่สามารถบังคับช้างที่ตกมันจนได้นี่เรียก บังคับยังดีที่สุด


มีการบังคับแล้วก็ต้องมีขันติมีความอดกั้นอดทนเพราะว่าก็ในการ บังคับนั้นมีความยุ่งยากลำบากเจ็บปวดเป็นธรรมดาเมื่อเรามีความอดกั้นอดทนดู แล้วสุดท้ายก็ต้องจาคะคือสละสิ่งที่ไม่ควรจะมีอยู่สิ่งใดเป็นเหตุให้เหลวไหล บกพร่องในหน้าที่ของตนจะเป็นกิเลสหรือเป็นอะไรก็ตามสิ่งเหล่านี้จะต้องสละ ออกไปเมื่อได้อย่างนี้มันมีสิ่งที่เรียกว่าสุทธิบริสุทธิ์สะอาดหมดจดโดยหัว ข้อมีความสะอาดจริงใจมีอุดมคติที่จะทำนั้นก็บังคับให้ทำก็อดทนอดกั้นให้ทำ สละสิ่งที่เป็นอุปสรรคขัดขวางออกไปเสียอย่างนี้ก็เรียกว่าสุทธิบริสุทธิ์ใน หน้าที่การงานขัดกันก็เรียกว่าปัญญาเรียกว่ารู้สิ่งที่ควรจะรู้ไม่ต้องรู้ ทั้งหมด


นี่พระพุทธเจ้าท่านก็ยังตรัสรู้สิ่งที่จะดับทุกได้นอกนั้นก็ไม่ต้องรู้ปัญญา รู้สิ่งที่ควรรู้เพื่อขจัดปัญหาที่ท่านทั้งหลายอย่าได้บกพร่องในหน้าที่ใน ความรู้ที่ตัวเองจะนำมาใช้ในหน้าที่ในความรู้นั้นสมบูรณ์ความรู้ที่สมบูรณ์ นี่มันมีทั้งตัวความรู้หลักตัวความรู้ประกอบและอุปกรณ์นาๆอย่างที่มันจะช่วย ให้ความรู้ที่ถูกต้องดำเนินไปด้วยที่คอยจะยกธรรมมะที่สำคัญบทหนึ่งมาพูดกัน เรียกว่าสัพปุริสะธรรม ธรรมมะสำหรับผู้เป็นสัตบุรุษคือผู้มีปัญญารอบรู้ในธรรมที่ควรรู้ด้วยหัวข้อ มันก็มีง่ายๆว่ารู้เหตุรู้ผลรู้ตนตนเองและรู้ประมาณรู้เวลา


58578




รู้จักหมู่คณะและรู้จักบุคคลแต่ละคนทีนี้มันฉลาดรอบรู้ในเหตุที่เป็นเหตุถ้า ไม่รู้จักเหตุอย่างถูกต้องก็ไม่อาจจะสร้างคนดีอะไรขึ้นมาและจะรู้จักสิ่งที่ เป็นเหตุแห่งความเจริญแห่งความรอดแห่งความก้าวหน้าทุกชนิดเราต้องมีปัญญารู้ ที่เป็นเหตุและข้อ 2 ก็รู้ผลว่าผลอะไรมันจะเกิดขึ้นจากเหตุอันนั้นเมื่อเรารู้เหตุเราก็สามารถจะ สร้างผลขึ้นมาได้แม้ว่าผลมันเกิดขึ้นแล้วเราก็รู้ต้นเหตุว่าเกิดจากอะไรความ ผิดพลาดอันนี้เกิดจากอะไรความถูกต้องอันนี้เกิดจากอะไร1 รู้เหตุ 2ก็รู้ผล 3ก็รอบรู้ตัวเองรู้จักตัวเองว่าเราเป็นอย่างไรสามารถทำอย่างไรมีกิเลสอย่าง ไรมีความดีความชั่วอย่างไรรู้ตัวเองหมดสามารถบังคับตัวเองให้ได้ทีนี้ก็จะ รู้จักตนเองทีนี้ต่อไปก็รู้จักความพอดีเรียกว่าประมาณประมาณแปลว่าความพอดี พอเหมาะพอสมไม่เกินไม่หย่อนไม่ยานไม่เคร่งไม่เครียดคำว่าเคร่งๆนี้ในภาษา ธรรมมะหมายถึงความพอดีเคร่ง


เพื่ออวดคนไม่ใช่ความพอดีเคร่งจนเครียดแล้วก็บ้าเลยมีความพอดีมีความถูกต้อง ไม่ขาดไม่เกินไม่หย่อน ไม่ตึงไม่เอียงสุดโด่งในฝ่ายใดนี่เรียกว่าประมาณพอดีทีนี้ต้องรู้จักเวลาว่า เวลานี้ควรทำอะไรควรจะทำอะไรเวลาไหน ให้รุจัก เวลาสำหรับประกอบการงานในการที่จะต่อสู้ข้าศึกศัตรูก็ดีในการที่จะกอบการงาน ของตนก็ดีต้องฉลาดแตกฉานในเรื่องของเวลาๆทำผิดเวลานิดเดียวก็ละลายก็ผิดเวลา นิดเดียวนี่ต้องฉลาดในเวลาต่อไป


ก็รู้เรื่องบริษัทหรือสังคมให้สังคมมันใหญ่โตก็ได้ว่าไอ้บริษัทนี้สังคมนี้ เราจะต้องเกี่ยวข้องกับเขาอย่างใดในฐานะที่มันเป็นสังคมใหญ่มันมีอำนาจมาก เราต้องรู้จักมันให้ดีจึงจะเอาชนะน้ำใจเขาได้ข้อสุดท้ายรู้จักบุคคลปุจถุชน คน คนๆนี้คนเดียวก็ต้องรู้จักเขาให้เยอะที่สุดเพราะว่าเราจะชนะน้ำใจเขาได้ อย่างไรจะดึงเขาไปได้อย่างไรหรือว่าแม้แต่จะช่วยเหลือเขาได้อย่างไรปุจถุชน


เราก็รู้จักบุคคลนั้นให้ถูกต้องพอดีนี่ปัญญา ปัญญา 1. รู้จักเหตุ 2. รู้จักผล 3. รู้จักตนเนี่ยคือตัวเอง 4.รู้จักประมาณที่พอดี 5.รู้จักเวลาที่เหมาะสม 6.รู้จักคณะหรือสังคมความที่มันเป็นอย่างไร 7.ก็รู้จักบุคคลแต่ละคนๆว่าเป็นอย่างไรขอศึกษาให้แตกฉานให้คล่องแคลาวในความ รู้หลายอย่างนี้เราจะสามารถปฏิบัติการงานที่ยากเย็นได้โดยสะดวกเหมือนๆว่า เล่นกันการงาน จะอยู่ ในอำนาจเราถ้าเราเป็นผู้รอบรู้แตกฉานมีสิ่งที่ควรจะเล่ารู้แตกฉานแล้วที่ เรียกว่าปัญญาข้อที่ไม่มีสะอาดหมดจด


ที่กล่าวไว้ข้อที่ 2 มีปัญญาครบถ้วนนี้ข้อที่ 3 มีเมตตาเมตตานี้แปลว่าความเป็นมิตร แปลว่ารัก ผู้อื่นอยู่ในลักษณะที่เป็นมิตรทั้งหมดเป็นมิตรมาช่วยกันทำความดีไม่ใช่ชวน พวกไปทำความชั่วอย่างนั้นไม่ได้เรียกว่ามิตรมาช่วยกันทำความดีให้สำเร็จ ประโยชน์กระทั่งว่าเป็นเพื่อนเกิด เพื่อนแก่ เพื่อนเจ็บ เพื่อนตายนั้นเรามีมิตรที่แท้จริง เป็นเพื่อนเกิด เพื่อนแก่ เพื่อนเจ็บ เพื่อนตายนั้นเราก็ทำอะไรไม่มากแต่ทางธรรมมะทางศาสนานี่สอนให้มีความเป็น มิตรสากลไม่ยกเว้นอะไรเป็นมิตรกับสิ่งที่มีชีวิตทุกชนิดและทุกระดับเป็นมิตร แก่มนุษย์เป็นมิตรแก่สัตว์เดรัชฉานทั่วไป


แม้แต่สิ่งมีชีวิตในระดับต้นไม้ต้นไร่นั้นก็มีรู้จักตายและตัวตายบรรดาสิ่ง ที่มีความรู้สึกคือตัวตายแล้วอะไรมันก็เป็นมิตรกันเสียจะได้สบาย จะได้เยือกเย็น จะได้อยู่กันอย่างมิตรมีคำประหลาดคำหนึ่งในเรื่องเมตตาว่าอุเบกขามันจะแปล กันว่าเฉยเมื่อช่วยอะไรไม่ได้ก็เฉยอุเบกขาของมิตรไม่ใช่อย่างนั้นที่คอยจ้อง ดูว่าเมื่อไหล่ช่วยได้เมื่อไหล่ช่วยจึงดีเมื่อเดี๋ยวนี้ช่วยไม่ได้ก็คอยจ้อง ว่าเมื่อไหล่ช่วยจึงดีก็จะช่วยนั่นเรียกว่าอุเบกขาไม่ใช่เฉยทำไม่รู้ไม่ชี้


Onion_L ที่มา : http://www.vcharkarn.com/varticle/33156


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 1 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร


cron