วันเวลาปัจจุบัน 18 ก.ค. 2025, 06:52  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


“อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย”



กลับไปยังกระทู้  [ 3 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ก.ค. 2022, 09:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8580


 ข้อมูลส่วนตัว




20220715_093721.gif
20220715_093721.gif [ 1.72 MiB | เปิดดู 807 ครั้ง ]
เมื่อตรองดูว่าไฟ ๓ กองนี้เกิดจากไหน ก็จะเข้าใจได้ว่าเกิดจากความเห็นและการได้ยิน เป็นต้น
ในขณะที่เราเห็นสิ่งที่น่าชอบใจไฟราคะย่อมเกิดขึ้นผู้ที่ถูกไฟราคะนั้นเขาย่อมกระทำกรรม
ทางกายและทางวาจาด้วยความยึดติดผูกพันอันมีราคะเป็นเหตุส่งผลให้ทำบาปและตกในอบาย
ไปที่สุดไปธรรมชาติ อาจเผาไม่กี่ครั้งแต่ไฟราคะ ไฟโทสะและไฟโมหะเหล่านี้เขาอยู่ตลอดเวลา
ไม่เพียงเขาพบชาติเดียวหรือพันชาติแสนชาติ 1 กัปหรือแสนกลับชาวโลกก็ยังไม่อาจกำจัดกิเลส
ที่เริ่มเกิดมาจากการเห็นการได้ยิน ฯลฯ ในชีวิตประจำวันนั้นได้ทั้งยังส่งผลให้เกิดไฟกองอื่นคือ
ถ้าเชื้อชราและมรณะเป็นต้นตามมาอีกด้วย

กิเลสคือราคะโทสะและโมหะเหล่านี้เกิดขึ้นเพราะเหล่าสัตว์ไม่รู้เห็นตามความเป็นจริงในขณะเห็น
จึงเข้าใจผิดว่าเที่ยงเป็นสุขมีตัวตนจึงทำกรรมต่างๆส่งผลให้เวียนตายเวียนเกิดในสังสารวัฏแม้จะมิได้
เกิดในอบายภูมิก็อาจเกินเป็นมนุษย์เทวดาหรือพรหมในพบใดพบหนึ่งด้วยอำนาจของกรรมดีแก่
บุคคลนั้นก็ยังไม่อาจหลีกพ้นหรือต้องเวียนด้วย ใจเกิดในสังสารวัฏด้วยอำนาจของฝ่าย
กิเลสเหล่านั้นเมื่อมีการเกิดในภพก็ต้องมีความแก่และความตายเป็นที่แน่นอน

ไม่เพียงแต่ความตายเท่านั้นที่น่ากลัวแม้ในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่เราต้องพบกับสิ่งที่ไม่น่าชอบใจหรือ
ความเศร้าโศก บางครั้งเกิดจากความรำคาญคร่ำครวญที่เนื่องกับความเศร้าโศกบางขนาดต้องพบ
กับความทุกข์กายบ้างความทุกข์ใจบ้างความคับแค้นใจซึ่งเป็นความเร่าร้อนทางใจอย่างใหญ่หลวง
บ้างชาวโลกที่เวียนว่ายตายเกิดอยู่ในสังสารวัฏ นี้ ต้องพบกับไฟเหล่านี้เพราะไม่รู้เห็นรูปนามที่เกิดดับ
อยู่เสมอตามความเป็นจริงจึงก่อให้เกิดกิเลสและทำกรรมต่อมาเมื่อกรรมและให้ผลในปฏิสนธิจึง
ได้รับทุกข์และชรามรณะเป็นต้น (กิเลสวัฏ > กรรมวัฏ > วิปากวัฏ)

ไฟคือชาติมีได้ตามสมควรในภพนี้กล่าวคือจักษุรูปารมณ์และสภาวะเห็น จัดเป็นชาติโดยอ้อม สิ่งเหล่านี้
แก่ชราไป คือเกิดดับอยู่เสมอ แต่ไม่น่ากลัวมากนักเมื่อเทียบกับสังสารวัฏอันยาวนานและเราก็ไม่อาจ
ทำให้ใครคือชาติดังกล่าวดับไปได้ สิ่งเหล่านี้สำคัญก็คือต้องไม่ให้ไฟนั้นเกิด ขึ้นอีกในภพต่อไป

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ก.ค. 2022, 11:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8580


 ข้อมูลส่วนตัว




20220715_123656.gif
20220715_123656.gif [ 3.77 MiB | เปิดดู 535 ครั้ง ]
การปฏิบัติธรรมทำให้ไม่ถูกไฟกิเลสเผา

ดังนั้นสิ่งที่สำคัญที่เราต้องกระทำในปัจจุบันคือการทำตนให้พ้นไปจากไปทั้งหลายที่เนื่องจากการเห็น
รวมไปถึงสิ่งที่เป็นผลของไฟกิเลสคือกรรมและสังสารวัฏที่ต้องเกิดแก่เจ็บตายยิ่งไปกว่านั้นการ
ปฏิบัติธรรมยังทำให้เราไม่เกิดความเศร้าโศกและความคร่ำครวญเป็นต้นโดยเนื่องจากการเห็นอีกด้วย

ผู้ปฏิบัติธรรมควรเจริญวิปัสสนาโดยรู้เห็นรูปนามมีรูปารมณ์ที่ชาวโลกเห็นทั้งพี่เป็นสิ่งที่มีชีวิต
และไม่มีชีวิตทุกอย่างเป็นต้นในปัจจุบันขณะ ตามความเป็นจริงเพื่อไม่ให้เกิดความเศร้าโศก
ความคร่ำครวญและความคับแค้นใจโดยเนื่องจากการเห็นเพราะชาวโลกมักเกิดความรู้สึกดังกล่าว
ลากการเห็นและการได้ยินอยู่เสมอนี่คือลักษณะที่ไฟเหล่านี้เผาชาวโลกอยู่ในปัจจุบัน

สรุปความว่าไป ๑๑ กองเหล่านี้เกิดขึ้นโดยอาศัยการเห็นเป็นต้นเป็นเหตุและเผาสภาวะธรรม ๕ อย่าง
คือจักษุ รูปารมณ์ จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัสและเวทนาที่เนื่องกับจักขุสัมผัสไฟหล่านี้ถูกดับได้ใน
ทุกขณะด้วยวิปัสสนาญาณที่รู้เห็นรูปนามตามความเป็นจริงมิฉะนั้นไปเหล่านี้ก็จะเผาสัตว์อยู่เสมอ
มีเพียงพระอรหันต์ผู้กำกัดกิเลสโดยสิ้นเชิงแล้วจึงสามารถดับไฟเหล่านี้ได้

ผู้ที่เจริญวิปัสสนารู้เห็นรูปนามตามความเป็นจริงเช่นนี้ย่อมไม่เข้าใจผิดว่าจักษุและรูปอารมณ์เป็นต้น
น่าชอบใจหรือไม่น่าชอบใจโดยเข้าใจว่าสิ่งเหล่านั้นเป็นเพียงเหตุเกิดของ ราคะโทสะและโมหะเท่านั้น
นอกจากนั้นยังเป็นเหตุเกิดตามสมควรของการเกิดในภพใหม่ความแก่ความตายความเศร้าโศก
ความคร่ำครวญความทุกข์กายความทุกข์ใจและความคับแค้นใจซึ่งเกิดจากการเป็นของตนได้พบก่อน

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ก.ค. 2022, 13:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8580


 ข้อมูลส่วนตัว




20220612_112211.gif
20220612_112211.gif [ 2.24 MiB | เปิดดู 535 ครั้ง ]
วิปัสสนาทำให้เห็นประจักษ์ความไม่เที่ยงเป็นต้น

ผู้ที่เจริญวิปัสสนากำหนดรู้เท่าทันปัจจุบันในขณะเห็นได้ยิน รู้กลิ่น ลิ้มรส สัมผัส และนึกคิด
เรื่องราวทางทวาร ๖ ย่อมเข้าใจว่าจักษุ รูปารมณ์สภาวะเห็นมือจับหูวิญญาณสภาวะกระทบ
และความรู้สึกที่เกิดขึ้นในขณะเห็นเหล่านั้นไม่เที่ยงเป็นทุกข์และเป็นเพียงรูปนามไม่ใช่สัตว์บุคคล
แต่ในขณะที่ไม่ได้เจริญวิปัสสนาย่อมไม่เข้าใจว่าจักษุเป็นรูปคือสภาวะที่แปรปรวนเมื่อพบกับปัจจัย
ตรงกันข้ามมีความเย็นร้อนเป็นต้นไม่เข้าใจว่าสภาวะเห็นคือจักขุวิญญาณสภาวะกระทบคือจักขุสัมผัส
และสภาวะรู้สึกในขณะเห็นเหล่านี้เป็นเพียงนามที่รู้อารมณ์ได้เท่านั้นอีกทั้งย่อมเข้าใจผิดว่าสภาวะ
เหล่านั้นเที่ยงเป็นสุขมีตัวตน

ผู้ปฏิบัติที่เข้าใจรูปนามตามความเป็นจริงย่อมรู้เห็นว่าทั้งหมดมีเพียงรูปนาม ๓ ประการที่ดำเนินไป
ตามเหตุปัจจัยไม่มีสัตว์บุคคลเราเขาบุรุษหรือสตรีจักษุเป็นรูปสิ่งที่เห็นเป็นรูปสภาวะเห็นเป็นนามสภาวะ
ที่กระทบขณะที่เห็นเป็นนามสภาวะที่รู้สึกดีหรือไม่ดีขณะที่เห็นก็เป็นนามเช่นกันต่อมาย่อมเข้าใจว่ารูปนาม
เหล่านี้ไม่เที่ยงคือเมื่อบุคคลเห็นรูปารมณ์แล้วขณะนั้นสภาวะ เห็นก็ดับไปทันทีแม้สภาวะได้ยินรู้กลิ่น
รู้รสเป็นต้นก็เกิดขึ้นแล้วกลับไปกันดีมิได้คงอยู่ถาวรตลอดไป

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 3 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร