วันเวลาปัจจุบัน 21 ก.ค. 2025, 20:36  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 64, 65, 66, 67, 68, 69, 70 ... 151  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 18:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ซ้อนรถ เตียงซ้อนเตียงที่สนามหลวง. แม้พระโพธิสัตว์อาบน้ำ
ลูบไล้กายแล้ว บริโภคอาหารมีรสเลิศต่าง ๆ แล้ว ให้ถือพิณ
ไปนั่งบนอาสนะสำหรับตน. ท้าวสักกเทวราชมาสถิตอยู่ใน
อากาศโดยไม่ปรากฏกาย. พระโพธิสัตว์เท่านั้นเห็นท้าวสักก-
เทวราช. ฝ่ายมุสิละมานั่งบนอาสนะของตน. มหาชนแวดล้อม
แล้ว. แม้ทั้งสองก็ดีดพิณตั้งแต่เริ่มเสมอกัน. มหาชนต่างโห่ร้อง

ยินดีด้วยการบรรเลงของทั้งสองคน. ท้าวสักกเทวราชสถิตอยู่
บนอากาศ บอกให้ได้ยินแต่พระโพธิสัตว์เท่านั้นว่า ท่านจงเด็ด
พิณเสียสายหนึ่ง. พระโพธิสัตว์เด็ดพิณสายที่ ๑ ทิ้งแล้ว แม้
เด็ดสายที่ ๑ ออกแล้ว เสียงยังดังออกได้จากเงื่อนที่ขาดแล้ว
ดุจเสียงพิณเทพคนธรรพ์. ฝ่ายมุสิละก็เด็ดสายพิณบ้าง แต่เสียง

หาดังออกไม่. อาจารย์ได้เด็ดสายที่ ๒ ที่ ๓ ที่ ๔ ที่ ๕ ที่ ๖
ที่ ๗. เมื่อดีดแต่คันพิณเปล่า ๆ เสียงยังดังตลบทั่วพระนคร.
เสียงโห่ร้องและธงโบกสะบัดเป็นจำนวนพันได้เป็นไปแล้ว.
พระโพธิสัตว์ได้โยนห่วงที่ ๑ ไปในอากาศ ในคราวนั้นนางอัปสร
๓๐๐ นางลงมาขับฟ้อน เมื่อโยนห่วงที่ ๒ และที่ ๓ ไปแล้ว

นางอัปสรทั้ง ๙๐๐ ได้ลงมาฟ้อนรำตามนัยที่กล่าวแล้ว. ขณะ
พระราชาได้ให้อิงคิตสัญญาโครงพระเศียรแก่มหาชน. มหาชน
ต่างพากันลุกขึ้นคุกคามมุสิละว่า ท่านแข็งข้อกับอาจารย์ พยายาม
ทำอาการตีเสมอ ท่านไม่รู้จักประมาณตน ทุบตีด้วยก้อนหิน
ต้นไม้เป็นต้น ที่ฉวยได้นั่นเองจนแหลกเหลว ให้ถึงแก่ความตาย

จับเท้าลากไปทิ้งที่กองหยากเยื่อ. พระราชามีพระทัยยินดีพระ-
ราชทานทรัพย์เป็นอันมากแก่พระโพธิสัตว์ ดุจฝนลูกเห็บโปรย-
ปรายลงมา. ชาวนครก็ให้เหมือนอย่างนั้น. แม้ท้าวสักกะทรง
ทำปฏิสันถารกับพระโพธิสัตว์ว่า ท่านบัณฑิต ข้าพเจ้าจะให้
มาตลีเทพบุตรเอารถเทียมม้าอาชาไนยหนึ่งพันมารับท่านภาย

หลัง. ท่านพึงขึ้นรถเวชยันต์เทียมม้าหนึ่งพันไปเทวโลกเถิด
ตรัสแล้วเสด็จกลับ. ครั้งนั้นเทพธิดาทั้งหลายได้ทูลถามท้าว-

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 18:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
สักกเทวราช ผู้เสด็จมาถึงประทับนั่งบนบัณฑุกัมพลศิลาอาสน์
ว่า ข้าแต่เทวราช พระองค์เสด็จไปไหนมา. ท้าวสักกะตรัสเล่า
เหตุนั้นแก่พวกเทพธิดาโดยพิสดารแล้วพรรณนาศีล และคุณธรรม
ของพระโพธิสัตว์. พวกเทพธิดากราบทูลว่า ข้าแต่เทวราช
แม้พวกหม่อมฉันก็ใคร่จะเห็นท่านอาจารย์ ขอพระองค์จงให้

พามาที่นี่เถิด. ท้าวสักกเทวราชตรัสเรียกมาตลีเทพบุตรมาตรัส
ว่า แน่ะพ่อ นางเทพอัปสรอยากจะเห็นคุตติลคนธรรพ์ ท่านจง
ไปให้นั่งรถเวชยันต์พามาเถิด. มาตลีเทพบุตรรับเทวโองการ
ไปนำพระโพธิสัตว์มาแล้ว. ท้าวสักกะทรงชื่นชมกับพระโพธิสัตว์
ตรัสว่า ท่านอาจารย์พวกเทพกัญญาใคร่จะฟังการบรรเลงของ

ท่าน. พระโพธิสัตว์กราบทูลว่า ข้าแต่เทวราช พวกข้าพระองค์
ชื่อว่าเป็นคนธรรพ์อาศัยศิลปะเลี้ยงชีพ เมื่อได้ค่ากำนัลจึงจะ
บรรเลง. ท้าวสักกะตรัสว่า จงบรรเลงเถิด เราจะให้ค่ากำนัล
แก่ท่าน. พระโพธิสัตว์กราบทูลว่า ข้าพระองค์ไม่ต้องการค่า
กำนัลอย่างอื่น ขอแต่ให้นางเทพธิดาเหล่านี้บอกกัลยาณธรรม

ของตนแก่ข้าพระองค์เถิด ถ้าอย่างนี้ข้าพระองค์จะบรรเลง.
ลำดับนั้นนางเทพธิดาทั้งหลายได้กล่าวกะพระโพธิสัตว์ว่า พวก
ข้าพเจ้าจักบอกกัลยาณธรรมที่ทำไว้แก่ท่านในภายหลัง ขอท่าน
อาจารย์จงทำการบรรเลงก่อนเถิด. พระโพธิสัตว์ทำการบรรเลง
แก่เทพยดาทั้งหลายตลอด ๗ วัน. เสียงพิณนั้นเสนาะสนั่นยิ่ง
กว่าพิณทิพยคนธรรพ์. ครั้นครบ ๗ วัน พระโพธิสัตว์จึงเริ่ม
ถามเทพธิดาทั้งหลายถึงกัลยาณกรรม.

เทพธิดานางหนึ่งได้ถวายผ้าอย่างดีแก่ภิกษุรูปหนึ่ง ครั้ง
ศาสนาพระกัสสปสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้เกิดมาเป็นนางบริจาริกา
ของท้าวสักกเทวราช มีนางอัปสรหนึ่งพันเป็นบริวาร พระ-
โพธิสัตว์จึงถามนางเทพกัญญา ผู้ทรงพัสตราภรณ์อันล้ำเลิศ
ว่า ในภพก่อนท่านได้ทำกรรมอะไรไว้. อาการที่พระโพธิสัตว์
ถามและนางกล่าวตอบมาแล้วในวิมานวัตถุนั้นแล. ความใน
วิมานวัตถุนั้นพระโพธิสัตว์ถามว่า :-

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 18:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ดูก่อนนางเทพธิดา ท่านเป็นผู้มีผิวพรรณ
งามล้ำ ยืนอยู่สว่างไสวไปทั่วทิศ ดุจดาวประจำ
รุ่ง เพราะกรรมอันใด ท่านจึงมีผิวพรรณเช่นนี้
เพราะกรรมอันใดอิฐผลจึงสัมฤทธิ์แก่ท่านใน
ที่นี้ ทั้งบังเกิดโภคทรัพย์ทั้งหลายแก่ท่าน อัน
น่าชื่นใจไม่ว่าอย่างไหน

ดูก่อนนางเทพีผู้มีอานุภาพมาก ข้าพเจ้า
ขอถามท่านครั้งเป็นมนุษย์ ได้ทำบุญอะไรไว้
เพราะอะไร ท่านจึงมีอานุภาพรุ่งเรืองถึงอย่างนี้
ทั้งผิวพรรณของท่านก็สว่างจ้าไปทุกทิศ.
นางเทพธิดานั้นตอบว่า :-

นารีนางหนึ่งได้ถวายผ้าอย่างดี นับว่า
เป็นผู้ล้ำเลิศในชายหญิงทั้งหลาย นางนั้นผู้ถวาย
สิ่งของอันน่ารักอย่างนี้ จึงเลื่อนฐานะได้ทิพย-
สมบัติอันน่าปลื้มใจ. เชิญชมวิมานของข้าพเจ้า
นั่นเถิด ข้าพเจ้าเป็นอัปสรผู้มีผิวพรรณอันน่ารัก

ล้ำเลิศกว่านางอัปสรเป็นจำนวนพัน จงเห็นวิบาก
ของบุญเถิด เพราะกรรมนั้นข้าพเจ้าจึงมีผิวพรรณ
เช่นนี้ เพราะกรรมนั้นอิฐผลจึงสัมฤทธิ์แก่
ข้าพเจ้าในที่นี้ ทั้งบังเกิดโภคทรัพย์ทั้งหลายแก่
ข้าพเจ้า ล้วนแต่น่ารักไม่ว่าอย่างไหน เพราะ

กรรมนั้น ข้าพเจ้าจึงมีอานุภาพรุ่งเรืองอย่างนี้
ทั้งผิวพรรณของข้าพเจ้าจึงสว่างจ้าไปทุกทิศ.
อีกนางหนึ่ง ได้ถวายดอกไม้สำหรับบูชาภิกษุผู้เที่ยว
บิณฑบาต. อีกนางหนึ่ง เมื่อเขาบอกว่า ขอท่านทั้งหลายจงถวาย
ของหอม. สำหรับเจิมที่พระเจดีย์เถิด ได้ถวายของหอมแล้ว.

อีกนางหนึ่งได้ถวายผลไม้มีรสอร่อย. อีกนางหนึ่งได้ถวายอาหาร
รสเยี่ยม. นางหนึ่งได้ถวายของสำหรับเจิมที่เจดีย์ของพระกัสสป-
ทศพล. นางหนึ่งได้ฟังธรรมในสำนักภิกษุ ภิกษุณี ผู้เดินทาง
และพักที่หมู่บ้าน. นางหนึ่งยืนอยู่ในน้ำได้ถวายน้ำแก่ภิกษุผู้

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 18:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ฉันจังหันในเรือ. นางหนึ่งเมื่ออยู่ในครอบครัวไม่มักโกรธ ทำ
การปรนนิบัติพ่อผัวและแม่ผัว. นางหนึ่งต้องแบ่งส่วนที่ตนได้
ออกแจกจ่ายเสียก่อน จึงบริโภคทั้งเป็นผู้มีศีล. นางหนึ่งเป็นทาสี
อยู่บ้านผู้อื่น เป็นคนไม่โกรธ ไม่ถือตัว แบ่งส่วนที่ตนได้ออก
แจกจ่ายจึงได้มาเกิดเป็นนางบริจาริกาของท้าวสักกเทวราช.
ความทั้งหมดนี้ อยู่ในคุตติลวิมานวัตถุ. นางเทพธิดา ๓๗ นาง

ได้ทำกรรมใด ๆ ไว้จึงได้มาเกิดในเทวโลกนั้นทั้งหมด พระ-
โพธิสัตว์ซักถามได้กล่าวคาถาทั้งหลาย แสดงกรรมที่ตนได้
ทำไว้ ๆ. พระโพธิสัตว์ได้ฟังคำนั้นแล้วกล่าวว่า เป็นลาภของ
ข้าพเจ้าหนอ ข้าพเจ้าได้ดีแล้วหนอ ที่มาที่นี้ได้ฟังสมบัติที่ได้
มาด้วยกรรมแม้มีประมาณน้อย คราวนี้ตั้งแต่นี้ไป ข้าพเจ้ากลับ
ไปมนุษยโลกแล้ว จักทำแต่กุศลกรรมมีทานเป็นต้นเท่านั้น ได้
เปล่งอุทานดังนี้ว่า :-

วันนี้นับว่าเรามาดีแล้วหนอ เป็นฤกษ์งาม
ยามดีที่ได้มาเห็นนางเทพอัปสรทั้งหลาย ผู้มี
ผิวพรรณน่ารักใคร่ เราได้ฟังคำของนางเทพธิดา
นี้แล้ว จักทำกุศลให้มาก ด้วย ทาน การให้
สมจริยา ประพฤติชอบ สัญญม การสำรวม กับ
ทมะ การฝึกหัดตนอีกอย่างหนึ่ง ข้าพเจ้าจักต้อง
ไปเทวโลกนั้นให้ได้ เป็นที่ซึ่งไปแล้วไม่เสียใจ.

ครั้นครบ ๗ วันท้าวสักกเทวราชทรงบัญชาให้มาตลีเทพ-
สารถี พาพระโพธิสัตว์ให้นั่งรถไปส่งกรุงพาราณสีดังเดิม.
พระโพธิสัตว์ครั้นกลับมากรุงพาราณสีแล้ว ได้เล่าถึงเหตุการณ์
ที่ตนได้เห็นแล้วในเทวโลกให้พวกมนุษย์ฟัง. ตั้งแต่นั้นพวก
มนุษย์เหล่านั้นก็ตั้งหน้าอุตสาหะทำบุญกัน.

พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุม
ชาดก. มุสิละในครั้งนั้นได้เป็นเทวทัตในครั้งนี้ ท้าวสักกะได้
เป็นอนุรุทธ พระราชาได้เป็นอานนท์ ส่วนคุตติลคนธรรพ์ คือ
เราตถาคตนี้แล.
จบ อรรถกถาคุตติลชาดกที่ ๓

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 18:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรง
ปรารภปลายิปริพาชกผู้หนึ่ง. ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่ม
ต้นว่า ยํ ปสฺสติ น ตํ อิจฺฉติ ดังนี้.

ได้ยินว่า ปริพาชกผู้นั้นไม่ได้คำตอบโต้ในสกลชมพูทวีป
ทั้งสิ้น จึงมากรุงสาวัตถี ถามว่าใครจะสามารถโต้วาทะกับเรา
บ้าง ได้ฟังว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสามารถ จึงแวดล้อม
ด้วยมหาชนพากันไปเชตวันมหาวิหาร ทูลถามปัญหากะพระ-
ผู้มีพระภาคเจ้า ซึ่งกำลังทรงแสดงธรรมในท่ามกลางบริษัทสี่.

ลำดับนั้น พระศาสดาทรงแก้ปัญหาแก่ปริพาชกนั้น แล้ว
ตรัสถามว่า อะไรชื่อว่าหนึ่ง. ปริพาชกนั้นไม่สามารถแก้ปัญหา
ได้ จึงลุกหนีไป. บริษัทที่นั่งอยู่ต่างกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์
ปริพาชกถูกพระองค์ข่มด้วยปัญหาบทเดียวเท่านั้น. พระศาสดา

ตรัสว่า ดูก่อนอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลาย เรามิได้ข่มปริพาชก
นั้นด้วยปัญหาบทเดียวในบัดนี้เท่านั้น แม้เมื่อก่อนเราก็ข่มได้
เหมือนกัน ทรงนำเรื่องอดีตมาตรัสเล่า.

ในอดีตกาลครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
กรุงพาราณสี พระโพธิสัตว์อุบัติในตระกูลพราหมณ์ ในแคว้น
กาสี ครั้นเจริญวัย ละกามสมบัติกามคุณออกบวชเป็นฤาษี
อยู่ในหิมวันตประเทศเป็นเวลานาน ต่อมาพระโพธิสัตว์ลงจาก

ภูเขาอาศัยหมู่บ้านตำบลหนึ่ง พำนักอยู่ ณ บรรณศาลาใกล้
แม่น้ำวน.

ลำดับนั้น ปริพาชกผู้หนึ่งไม่ได้วาทะโต้ตอบในชมพูทวีป
ทั้งสิ้น จึงไปถึงตำบลนั้นถามว่า มีใครบ้างหนอที่สามารถโต้ตอบ
วาทะกับเราได้ รู้ว่ามีทั้งได้ฟังถึงความอาจหาญของพระโพธิสัตว์
จึงแวดล้อมด้วยมหาชนไปยังที่อยู่ของพระโพธิสัตว์นั้น กระทำ
ปฏิสันถารนั่งอยู่. ลำดับนั้นพระโพธิสัตว์ถามปริพาชกนั้นว่า

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 18:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ท่านจักดื่มน้ำแม่คงคา มีสีและกลิ่นอบอวลบ้างไหม. ปริพาชก
เมื่อจะเล่นสำนวน จึงกล่าวว่า อะไรคือคงคา คงคาทราย คงคาน้ำ
คงคาฝั่งนี้ หรือคงคาฝั่งโน้น. พระโพธิสัตว์กล่าวโต้ว่า ดูก่อน

ปริพาชกก็ท่านจะแยกน้ำกับทรายและฝั่งนี้ฝั่งโน้นออกเสียแล้ว
จักได้คงคาที่ไหนเล่า. ปริพาชกสิ้นปฏิภาณลุกหนีไป. เมื่อ
ปริพาชกหนีไป พระโพธิสัตว์เมื่อจะแสดงธรรมแก่บริษัทที่นั่ง
อยู่ ได้กล่าวคาถาเหล่านี้ว่า :-

บุคคลเห็นสิ่งใด ไม่ปรารถนาสิ่งนั้น อนึ่ง
บุคคลไม่เห็นสิ่งใด ย่อมปรารถนาสิ่งนั้น เราเข้า
ใจว่า บุคคลนั้นจักท่องเที่ยวไปอีกนาน อยากได้
สิ่งใด ก็จักไม่ได้สิ่งนั้นเลย.

บุคคลได้สิ่งใด ไม่ยินดีด้วยสิ่งนั้น
ปรารถนาสมบัติอันใด ก็ติเตียนสมบัติที่ได้มา
นั้น เพราะขึ้นชื่อว่าความปรารถนามีอารมณ์ไม่
สิ้นสุด เราขอกระทำความนอบน้อมแด่ท่านผู้
ปราศจากความปรารถนา.

ในบทเหล่านั้น บทว่า ยํ ปสฺสติ ความว่า บุคคลเห็นน้ำ
เป็นต้น ก็ไม่ปรารถนาว่าเป็นแม่คงคา. บทว่า ยญฺจ น ปสฺสติ
ความว่า บุคคลไม่เห็นคงคาที่ไม่มีน้ำเป็นต้น นัยว่ายังปรารถนา
แม่คงคานั้น. บทว่า มญฺญามิ จิรํ จริสฺสติ ความว่า ข้าพเจ้า

เข้าใจอย่างนี้ว่า ปริพาชกนี้แสวงหาแม่คงคา เห็นปานนี้จักเที่ยว
ไปอีกนาน หรือนัยหนึ่งเมื่อแสวงหาตนอันพ้นไปจากรูปเป็นต้น
ิเหมือนหาแม่คงคาที่ไม่มีน้ำเป็นต้น ฉะนั้น จักเที่ยวไปในสงสาร
สิ้นกาลนาน แม้เที่ยวไปสิ้นกาลนาน ก็ย่อมไม่ได้แม่คงคาหรือ
ตนตามที่ปรารถนา เมื่อได้น้ำเป็นต้น หรือรูปเป็นต้น ก็ย่อม

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 18:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ไม่พอใจ เมื่อไม่พอใจในสิ่งที่ได้อย่างนี้ ปรารถนาสมบัติใด ๆ
ครั้นได้แล้วย่อมดูหมิ่นดูแคลนเสียด้วยคิดว่า จะมีประโยชน์
อะไรด้วยสมบัตินี้. ตัณหาอันชื่อว่าความปรารถนานี้ มีอารมณ์

หาที่สุดมิได้ เพราะดูหมิ่นสิ่งที่ได้แล้วไปปรารถนาอารมณ์อื่น ๆ.
ฉะนั้นบัณฑิตเหล่าใด เป็นผู้ปราศจากความปรารถนา มีพระ-
พุทธเจ้าเป็นต้น เราทั้งหลายขอทำความเคารพนอบน้อมท่าน
บัณฑิตเหล่านั้น ดังนี้.

พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุม
ชาดก. ปริพาชกในครั้งนั้นได้เป็นปริพาชกในครั้งนี้. ส่วน
ดาบส คือเราตถาคตนี้แล.
จบ อรรถกถาวิคติจฉชาดกที่ ๔

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 18:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ สุภควัน อาศัยอุกกัฏฐธานี
ทรงปรารภ มูลปริยายสูตร ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่ม
ต้นว่า กาโล ฆสติ ภูตานิ ดังนี้.

ได้ยินว่า ในกาลนั้นมีพราหมณ์ ๕๐๐ จบไตรเพทแล้ว
ออกบวชในพระศาสดาเรียนพระไตรปิฎก เป็นผู้มัวเมาด้วยความ
ทะนงตนคิดว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงรู้พระไตรปิฎก แม้เรา
ก็รู้พระไตรปิฎก เมื่อเป็นอย่างนี้ เรากับพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
จะต่างกันอย่างไร จึงไม่ไปเฝ้าพระพุทธเจ้า ตั้งตนเป็นปฏิปักษ์.

อยู่มาวันหนึ่ง พระศาสดาเมื่อภิกษุเหล่านั้นประชุมกันในสำนัก
ของพระองค์ ตรัสมูลปริยายสูตรประดับด้วยภูมิ ๘. ภิกษุเหล่านั้น
กำหนดอะไรไม่ได้. จึงมีความคิดว่า พวกเราทะนงตนว่า ไม่มี
ใครฉลาดเท่ากับพวกเรา แต่บัดนี้พวกเราไม่รู้อะไรเลย ชื่อว่า

ผู้ฉลาดเช่นกับพระพุทธเจ้าย่อมไม่มี ชื่อว่าพระพุทธคุณน่า
อัศจรรย์. ตั้งแต่นั้นมาภิกษุเหล่านั้นก็หมดความทะนงตน สิ้น
ความหลงผิด ดังงูพิษที่ถูกถอนเขี้ยวแล้วฉะนั้น.

พระศาสดาประทับอยู่ ณ อุกกัฏฐธานี ตามพระสำราญ
แล้วเสด็จไปกรุงเวสาลี ตรัสโคตมกสูตรที่โคตมกเจดีย์. ทั้ง
หมื่นโลกธาตุหวั่นไหวแล้ว. ภิกษุเหล่านั้นฟังโคตมกสูตรนั้นแล้ว
ได้บรรลุพระอรหัต. เมื่อจบมูลปริยายสูตร พระศาสดายังประทับ

อยู่ ณ อุกกัฏฐธานีนั่นเอง ภิกษุทั้งหลายประชุมสนทนากันใน
โรงธรรมว่า อาวุโสทั้งหลายน่าอัศจรรย์พระพุทธานุภาพ พระ-
ผู้มีพระภาคเจ้าทรงทำให้ภิกษุเหล่านั้นเป็นพราหมณ์ออกบวช
มัวเมาด้วยความทะนงตนอย่างนั้น หมดความทะนงตนด้วย
มูลปริยายเทศนา.

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 18:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
บัดนี้พวกเธอนั่งสนทนากันด้วยเรื่องอะไร เมื่อภิกษุเหล่านั้น
กราบทูลให้ทรงทราบแล้ว จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่
ในบัดนี้เท่านั้น แม้เมื่อก่อนเราก็ได้ทำภิกษุเหล่านั้นผู้มีหัวรุนแรง
ด้วยความทะนงตนให้หมดความทะนงตนแล้ว ทรงนำเรื่องอดีต
มาตรัสเล่า.

ในอดีตกาลครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
กรุงพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดในตระกูลพราหมณ์ ครั้น
เจริญวัยสำเร็จไตรเพท เป็นอาจารย์ทิศาปาโมกข์ สอนมนต์แก่
มาณพ ๕๐๐. มาณพทั้ง ๕๐๐ นั้น ครั้นเรียนจบศิลปะผ่านการ

ซักซ้อมสอบทานในศิลปะทั้งหลายแล้ว เกิดกระด้างด้วยความ
ทะนงตนว่า พวกเรารู้เท่าใด แม้อาจารย์ก็รู้เท่านั้นเหมือนกัน
ไม่มีความพิเศษกว่ากัน ไม่ไปสำนักอาจารย์ ไม่กระทำวัตร
ปฏิบัติ. ครั้นวันหนึ่งเมื่ออาจารย์นั่งอยู่โคนต้นพุทรา. พวกมาณพ

เหล่านั้นประสงค์จะดูหมิ่นอาจารย์จึงเอาเล็บมือเคาะต้นพุทรา
พูดว่า ต้นไม้นี่ไม่มีแก่น. พระโพธิสัตว์ก็รู้ว่าดูหมิ่นตน จึงกล่าว
กะอันเตวาสิกว่า เราจักถามปัญหาพวกท่านข้อหนึ่ง. มาณพ
เหล่านั้นต่างดีอกดีใจกล่าวว่า จงถามมาเถิด พวกผมจักแก้.
อาจารย์เมื่อจะถามปัญหา ได้กล่าวคาถาแรกว่า :-

กาลย่อมกินสัตว์ทั้งปวงกับทั้งตัวเองด้วย
ก็ผู้ใดกินกาล ผู้นั้นเผาตัณหาที่เผาสัตว์ได้แล้ว.

ในบทเหล่านั้น บทว่า กาโล ได้แก่ เวลาเป็นต้น เช่น
เวลาก่อนอาหาร หลังอาหาร. บทว่า ภูตานิ นี้เป็นชื่อของสัตว์
กาลมิได้ถอนหนังและเนื้อเป็นต้นของสัตว์ไปกิน เป็นแต่ยังอายุ
วรรณและพละของสัตว์เหล่านั้นให้สิ้นไป ย่ำยีวัยหนุ่มสาว ทำ
ความไม่มีโรคให้พินาศ เรียกว่า กินสัตว์ คือ เคี้ยวกินสัตว์.

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 18:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ก็กาลที่กินสัตว์อยู่อย่างนี้ ไม่เว้นใคร ๆ ย่อมกินหมดทั้งนั้น.
อนึ่งมิได้กินแก่สัตว์ทั้งหลายเท่านั้น ย่อมกินแม้ตนเองด้วยกาล
ก่อนอาหาร ย่อมไม่เหลืออยู่ในเวลาหลังอาหาร. ในเรื่องเวลา
หลังอาหารเป็นต้น ก็นัยเดียวกัน. ที่ว่าสัตว์ผู้กินกาลนั้น หมาย

ถึงพระขีณาสพ. จริงอยู่พระขีณาสพนั้นเรียกว่าผู้กินกาล เพราะ
ยังกาลปฏิสนธิต่อไปให้สิ้นด้วยอริยมรรค. บทว่า ส ภูตปจนึ ปจิ
ความว่า พระขีณาสพนั้นเผา คือทำให้ไหม้เป็นเถ้าซึ่งตัณหาที่
เผาสัตว์ในอบาย ด้วยไฟคือญาณ.

พวกมาณพเหล่านั้นฟังปัญหานี้แล้ว ไม่มีผู้สามารถจะรู้
ได้แม้คนเดียว. ลำดับนั้นพระโพธิสัตว์จึงกล่าวกะมาณพเหล่า
นั้นว่า พวกท่านอย่าได้เข้าใจว่าปัญหานี้มีอยู่ในไตรเพท พวก
ท่านสำคัญว่าอาจารย์รู้สิ่งใด เราก็รู้สิ่งนั้นทั้งหมด จึงได้เปรียบ

เราเช่นกับด้วยต้นพุทรา พวกท่านมิได้รู้ว่า เรารู้สิ่งที่พวก
ท่านยังไม่รู้อีกมาก จงไปเถิด เราให้เวลา ๗ วัน จงช่วยกัน
คิดปัญหานี้ตามกาลกำหนด. มาณพเหล่านั้นไหว้พระโพธิสัตว์
แล้วกลับไปยังที่อยู่ของตน แม้คิดกันตลอด ๗ วัน วันก็มิได้เห็น
ที่สุด มิได้เห็นเงื่อนงำแห่งปัญหา. ครั้นวันที่ ๗ จึงพากันมาหา

อาจารย์ไหว้แล้วนั่งลง เมื่ออาจารย์ถามว่า พวกท่านมีหน้าตา
เบิกบาน รู้ปัญหานี้หรือ กล่าวว่า ยังไม่รู้. พระโพธิสัตว์เมื่อ
จะตำหนิมาณพเหล่านั้นอีก จึงถามปัญหาที่ ๒ ว่า :-

ศีรษะของนรชนปรากฏว่ามีมาก มีผม
ดำยาว ปกคลุมถึงคอ บรรดาคนทั้งหลายนี้จะ
หาคนที่มีปัญญาสักคนก็ไม่ได้.

ความของคาถานั้นว่า ศีรษะคนปรากฏมีมากหลาย และ
ศีรษะเหล่านั้นมีผมดกดำประถึงคอ เอามือจับดูไม่เหมือนผลตาล
บุคคลเหล่านั้นไม่มีข้อแตกต่างกันด้วยธรรมเหล่านี้เลย. บทว่า
กณฺณวา คือผู้มีปัญญา. ก็ช่องหูจะไม่มีแก่ใคร ๆ ก็หามิได้.

พระโพธิสัตว์ติเตียนพวกมาณพเหล่านั้นว่า พวกท่านเป็น
คนโง่ มีแต่ช่องหูเท่านั้น ไม่มีปัญญา ฉะนี้แล้วจึงแก้ปัญหา.
มาณพเหล่านั้นฟังแล้วกล่าวว่า ธรรมดาอาจารย์เป็นผู้ยิ่งใหญ่
อย่างน่าอัศจรรย์ขอขมาอาจารย์แล้วต่างก็หมดความทะนงตน
ปรนนิบัติพระโพธิสัตว์ตามเดิม.

พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ทรง
ประชุมชาดก. มาณพทั้ง ๕๐๐ ในครั้งนั้นได้เป็นภิกษุเหล่านี้
ส่วนอาจารย์คือเราตถาคตนี้แล.
จบ อรรถกถามูลปริยายชาดกที่ ๕

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 18:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ กูฏาคารศาลา เสด็จเข้า
ไปอาศัยกรุงเวสาลี ทรงปรารภสีหเสนาบดี ตรัสพระธรรม-
เทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า หนฺตฺวา ฆตฺวา วธิตฺวา จ ดังนี้.

ความย่อมีอยู่ว่า สีหเสนาบดีนั้นถึงพระผู้มีพระภาคเจ้า
ว่าเป็นที่พึ่งแล้วนิมนต์ไปถวายภัตตาหารปรุงด้วยเนื้อ. พวก
นิครนถฟังข่าวแล้วไม่พอใจ ใคร่จะเบียดเบียนพระตถาคตเจ้า
จึงกล่าวใส่ไคล้ว่าพระสมณโคดมเสวยเนื้อที่เขาอุทิศถวายทั้งที่

รู้อยู่. ภิกษุทั้งหลายสนทนากันในโรงธรรมว่า ดูก่อนอาวุโส
ทั้งหลาย นิครนถนาฏบุตรกับพวกบริษัทเที่ยวใส่ใคล้ว่าพระ-
สมณโคดมเสวยเนื้อที่เขาอุทิศถวายทั้งที่รู้อยู่. พระศาสดาสดับ
เรื่องนั้นแล้วตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นิครนถนาฏบุตร

นินทาเราเพราะบริโภคเนื้อที่เขาอุทิศถวายแต่ในบัดนี้เท่านั้น
ก็หามิได้ แม้ในกาลก่อนก็ได้ติเตียนแล้วเหมือนกัน ทรงนำเรื่อง
อดีตมาตรัสเล่า.

ในอดีตกาลครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
กรุงพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดในตระกูลพราหมณ์ ครั้น
เจริญวัยแล้วออกบรรพชาเป็นฤๅษีมาจากป่าหิมพานต์ เพื่อ
ต้องการเสพรสเปรี้ยวเค็มในกรุงพาราณสี. รุ่งขึ้นจึงเที่ยว
ภิกษาจารไปในพระนคร. ครั้งนั้นกุฎุมพีผู้หนึ่งคิดว่า เราจัก

แกล้งดาบสให้ลำบาก จึงนิมนต์ให้เข้าไปสู่เรือน นิมนต์ให้นั่ง
บนอาสนะที่จัดปูไว้แล้ว อังคาสด้วยปลาและเนื้อ ครั้นเสร็จ
ภัตตกิจแล้วนั่ง ณ ส่วนข้างหนึ่งตรัสว่า เนื้อนี้ข้าพเจ้าฆ่าสัตว์
ปรุงเป็นอาหารเฉพาะท่านโดยตรง ขออกุศลนี้อย่าได้มีแก่
ข้าพเจ้าเลย จงตกเป็นของท่านเถิดแล้วกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :-

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 18:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
บุคคลผู้ไม่สำรวมประหารสัตว์ เบียด
เบียนและฆ่าสัตว์ให้ทานแก่สมณะใด สมณะ
นั้นบริโภคภัตรเช่นนี้ ย่อมเข้าไปติดบาปด้วย.
พระโพธิสัตว์ฟังแล้ว จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :-

ถ้าสมณะผู้มีปัญญาแม้บริโภคทานที่บุคคล
ผู้ไม่สำรวม ฆ่าบุตรและภรรยาถวาย ก็ไม่เข้า
ไปติดบาปเลย.

ในบทเหล่านั้น บทว่า ภุญฺชมาโนปิ สปฺปญฺโญ ความว่า
เนื้อของผู้อื่นที่บุคคลผู้ทุศีลแม้ฆ่าบุตรภรรยาให้แล้ว ยกไว้เถิด
ท่านผู้มีปัญญาผู้ถึงพร้อมด้วยคุณ มีขันติและเมตตาเป็นต้น
แม้บริโภคเนื้อนั้น ย่อมไม่แปดเปื้อนด้วยบาป.
พระโพธิสัตว์แสดงธรรมแก่กุฎุมพีอย่างนั้นแล้ว ลุกจาก
อาสนะหลีกไป.

พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุม
ชาดก. นิครนถนาฏบุตรได้เป็นกุฎุมพี ส่วนดาบส คือเราตถาคต
นี้แล.
จบ อรรถกถาพาโลวาทชาดกที่ ๖

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 18:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรง
ปรารภพระโลฬุทายีเถระ ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้น
ว่า อทฺธา ปาทญฺชลี สพฺเพ ดังนี้.

ในวันหนึ่ง พระมหาสาวกทั้งสองวินิจฉัยปัญหาอยู่. ภิกษุ
ทั้งหลายฟังปัญหาต่างก็สรรเสริญพระเถระทั้งสอง. พระโลฬุ-
ทายีเถระนั่งอยู่ในระหว่างบริษัท ขัดคอขึ้นว่า พระมหาสาวก
เหล่านี้จะรู้อะไรทัดเทียมเราหรือ. พระเถระทั้งสองเห็นพระ-
โลฬุทายีเถระนั้นแล้ว จึงลุกจากอาสนะหลีกไป. บริษัทเลยแยก

ย้ายกัน. ภิกษุทั้งหลายประชุมสนทนากันในโรงธรรมว่า ดูก่อน
อาวุโสทั้งหลาย พระโลฬุทายีติเตียนพระอัครสาวกทั้งสอง
แล้วขัดคอขึ้น. พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลายมิใช่ใน
บัดนี้เท่านั้น แม้เมื่อก่อนโลฬุทายีก็ไม่รู้อะไร ๆ อย่างอื่นยิ่งกว่า
นั้น นอกจากขัดคอแล้วทรงนำเรื่องอดีตมาตรัสเล่า.

ในอดีตกาลครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
กรุงพาราณสี พระโพธิสัตว์ได้เป็นอำมาตย์ผู้สอนอรรถและ
ธรรมของพระองค์. ก็พระราชานั้นมีโอรสพระนามว่า ปาทัญชลี
มีพระทัยโลเล เชื่องช้า. ต่อมาพระราชาสวรรคต. พวกอำมาตย์

จัดการถวายพระเพลิง แล้วปรึกษากันว่าจักอภิเษกปาทัญชลี
ราชบุตรครองราชสมบัติ. แต่พระโพธิสัตว์กล่าวว่า พระกุมารนี้
มีพระทัยโลเล เชื่องช้า พวกเราจักควรทดลองดูก่อน แล้วจึง
จักอภิเษกพระกุมารนั้น. พวกอำมาตย์จึงเตรียมการตัดสินความ
ให้พระกุมารประทับนั่งในที่ใกล้ ๆ เมื่อจะตัดสินคดี แกล้งตัดสิน

ไม่ถูก. ตัดสินให้ผู้มิใช่เจ้าของเป็นเจ้าของแล้วทูลพระกุมารว่า
ข้าแต่พระกุมาร พวกข้าพระองค์ตัดสินความชอบธรรมหรือไฉน.
พระกุมารเม้มพระโอฐ. พระโพธิสัตว์สำคัญว่า พระกุมารเห็น
จะทรงเฉลียวฉลาด คงจักทราบว่าตัดสินไม่ชอบ จึงกล่าวคาถา
แรกว่า :-

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 18:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ปาทัญชลีราชกุมารย่อมรุ่งเรืองกว่าเรา
ทั้งหมด ด้วยพระปรีชาแน่นอน เมื่อเช่นนั้นทำไม
จึงทรงเม้มพระโอฐอยู่เล่า จะทรงเห็นเหตุอื่นยิ่ง
กว่านี้เป็นแน่.

ครั้นวันอื่นพวกอำมาตย์เหล่านั้นตระเตรียมการตัดสินความ
แล้ว ตัดสินความอีกเรื่องหนึ่งโดยชอบธรรม แล้วทูลถามว่า
ข้าแต่พระกุมาร ข้าพระองค์ตัดสินความถูกต้องแล้วหรือไฉน
พระกุมารทรงเม้มพระโอฐอีกเหมือนอย่างเดิม. ลำดับนั้น พระ-
โพธิสัตว์จึงทราบว่า พระกุมารนี้โง่เขลาจึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :-

ปาทัญชลีราชกุมารพระองค์นี้ จะทรง
ทราบสิ่งที่เป็นธรรม หรือไม่เป็นธรรม สิ่งที่เป็น
ประโยชน์และไม่เป็นประโยชน์ ก็หาไม่ได้
ปาทัญชลีราชกุมารพระองค์นี้ นอกจากจะเม้ม
พระโอฐแล้ว ย่อมไม่ทรงทราบเหตุการณ์สักนิด
หนึ่งเลย.

พวกอำมาตย์รู้ว่า ปาทัญชลีราชกุมารทรงเหลวไหล จึง
อภิเษกพระโพธิสัตว์ขึ้นครองราชสมบัติ.
พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุม
ชาดก. ปาทัญชลีราชกุมารในครั้งนั้น ได้เป็นพระโลฬุทายีใน
ครั้งนี้ ส่วนอำมาตย์บัณฑิต คือเราตถาคตนี้แล.
จบ อรรถกถาปาทัญชลิชาดกที่ ๗

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 ธ.ค. 2018, 18:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรง
ปรารภกิงสุโกปมสูตร ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า
สพฺเพหิ กึสุโก ทิฏฺโฐ ดังนี้

ได้ยินว่า ภิกษุ ๔ รูปเข้าไปเฝ้าพระตถาคตทูลขอกรรมฐาน
พระศาสดาทรงบอกกรรมฐานแก่ภิกษุเหล่านั้น. ภิกษุเหล่านั้น
เรียนกรรมฐานไปสู่ที่พักกลางคืนที่พักกลางวัน. ในภิกษุเหล่านั้น
ภิกษุรูปหนึ่งกำหนดผัสสายตนะ ๖ บรรลุพระอรหัตแล้ว. รูปหนึ่ง
กำหนดขันธ์ ๕. รูปหนึ่งกำหนดมหาภูต ๔. รูปหนึ่งกำหนด

ธาตุ ๑๘. ภิกษุเหล่านั้นกราบทูลคุณวิเศษที่ตนบรรลุแด่พระ-
ศาสดา. ในบรรดาภิกษุเหล่านั้นมีรูปหนึ่งเกิดความปริวิตกว่า
กรรมฐานเหล่านั้นมีข้อแตกต่างกัน แต่นิพพานเป็นอย่างเดียว
กัน ภิกษุทั้งหมดบรรลุอรหัตได้อย่างไร. จึงทูลถามพระศาสดา

พระศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุเธอก็ไม่ต่างกันกับพี่น้อง ๔ คน
ที่เห็นต้นทองกวาว ภิกษุทั้งหลายกราบทูลอาราธนาว่า ข้าแต่
พระองค์ผู้เจริญ ขอพระองค์ทรงแสดงเหตุนี้แก่ข้าพระองค์เถิด
ทรงนำเรื่องอดีตมาตรัสเล่า.

ในอดีตกาลครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
กรุงพาราณสี พระองค์มีพระโอรส ๔ พระองค์. วันนี้โอรสทั้ง
๔ ตรัสเรียกสารถีมาตรัสว่า ดูก่อนสหาย พวกเราอยากเห็นต้น
ทองกวาว ท่านจงแสดงต้นทองกวาวมาให้พวกเราดูเถิด. สารถี

รับว่า ดีละ พระเจ้าข้า ข้าพระองค์จักแสดง แต่ไม่แสดงแก่
ราชบุตรทั้ง ๔ พร้อมกัน ให้ราชบุตรองค์ประทับนั่งบนรถไป
ก่อน พาไปในป่าแล้วชี้ให้ดูต้นทองกวาวในเวลาสลัดใบว่า นี้
คือต้นทองกวาว. อีกองค์หนึ่งให้ดูในเวลาออกใบอ่อน อีกองค์

หนึ่งให้ดูเวลาออกดอก อีกองค์หนึ่งให้ดูในเวลาออกผล. ต่อมา
ราชบุตรทั้ง ๔ พี่น้องประทับนั่งพร้อมหน้ากัน จึงไต่ถามกัน

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
* ห่างไกลธรรม ย่อมยังชีวิตตนให้ตกต่ำ
* คิดก่อนพูด ก่อนจะรูดบัตรเครดิตควรคิดให้ดีฃ
* ใช้จ่ายง่าย ระวังจะหมดตัว
* หาเงินทองนั้นยากแท้ แต่หาเพื่อนแท้นั้นยากกว่า หาคนดียากที่สุด
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 64, 65, 66, 67, 68, 69, 70 ... 151  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร