วันเวลาปัจจุบัน 28 ก.ค. 2025, 09:49  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 53, 54, 55, 56, 57, 58, 59 ... 151  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสต์ เมื่อ: 11 ธ.ค. 2018, 18:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อิมิสฺสา จ นํ นี้ เป็นเพียงนิบาต. อธิบายว่า ท่านทั้งหลายจง
ตัดหู และจมูก ของหญิงนี้ ผู้ปรนนิบัติผัวชั่ว ไม่มียางอาย เป็น
คนทุศีลทั้ง ๆ ยังเป็นอยู่.

พระโพธิสัตว์เมื่อไม่ทรงสามารถอดกลั้นความโกรธไว้ได้
แม้รับสั่งให้ลงอาญาแก่พวกเขาอย่างนี้ ก็มิได้ทรงให้กระทำ
อย่างนั้นได้. แต่ได้ทรงบรรเทาความโกรธให้เบาบางลง แล้ว
รับสั่งให้ผูกกระเช้านั้นจนแน่น โดยที่นางไม่อาจยกกระเช้า
ลงจากศีรษะได้ ขังชายชั่วนั้นไว้ในกระเช้าจนกระทั่งตาย.

พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประกาศ
สัจธรรม ทรงประชุมชาดก. เมื่อจบสัจธรรม ภิกษุผู้กระสัน
ได้บรรลุโสดาปัตติผล พี่น้องทั้งหกในครั้งนั้นได้เป็นพระเถระ
องค์ใดองค์หนึ่งในครั้งนี้. ภรรยาได้เป็นนางจิญจมาณวิกา ชายชั่ว
ได้เป็นเทวทัต พญาเหี้ย ได้เป็นอานนท์ ส่วนปทุมราชา คือ
เราตถาคตนี้แล.
จบ อรรถกถาจุลลปทุมชาดกที่ ๓

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 11 ธ.ค. 2018, 18:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ เวฬุวันมหาวิหาร ทรง
ปรารภพระเทวทัตผู้พยายามปลงพระชนม์ ตรัสพระธรรมเทศนา
นี้มีคำเริ่มต้นว่า น สนฺติ เทวา ปวสนฺติ ดังนี้.

พระศาสดาทรงสดับว่า พระเทวทัตพยายามปลงพระชนม์
จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เทวทัตพยายามฆ่าเรา ใช่ว่าใน
ครั้งนี้เท่านั้นก็หาไม่ แม้ครั้งก่อนก็พยายามฆ่าเราเหมือนกัน
ถึงแม้พยายามก็ไม่สามารถฆ่าเราได้ แล้วทรงนำเรื่องอดีตมา
ตรัสเล่า.

ในอดีตกาลครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
กรุงพาราณสี พระโพธิสัตว์อุบัติในตระกูลคหบดี ที่หมู่บ้าน
ไม่ไกลจากกรุงพาราณสี. ครั้นเจริญวัย มารดาบิดาจึงได้นำ
กุลธิดามาจากกรุงพาราณสี. นางเป็นที่รัก มีรูปสวย น่าดู

ดุจเทพอัปสร ดุจบุบผลดา (ดอกไม้เถา) และดุจกินรีเยื้องกราย
ปฏิบัติสามีดี ถึงพร้อมด้วยศีลาจารวัตร มีชื่อว่า สุชาดา. การ
ปฏิบัติสามีก็ดี การปฏิบัติแม่ผัวก็ดี การปฏิบัติพ่อผัวก็ดี หญิง
นี้ทำจนเสร็จสิ้น ตลอดกาลเป็นนิจ. นางจึงเป็นที่รัก เป็นที่
โปรดปรานของพระโพธิสัตว์. ทั้งสองสามีภรรยามีใจชุ่มชื่น
รักเดียวใจเดียว อยู่ร่วมกันด้วยความสมัครสมาน.

อยู่มาวันหนึ่ง นางสุชาดาบอกแก่พระโพธิสัตว์ว่า อยาก
จะไปเยี่ยมมารดาบิดา. พระโพธิสัตว์กล่าวว่า ดีละน้อง จงเตรียม
สะเบียงให้เพียงพอในการเดินทาง ให้ทอดของเคี้ยวต่างชนิด
แล้วบรรทุกของเคี้ยวเป็นต้น ลงบนยานน้อย นั่งข้างหน้ายาน
ขับไป ส่วนนางนั่งข้างหลัง. ทั้งสองไปใกล้พระนคร จึงปลด

ยานอาบน้ำบริโภคอาหาร. เสร็จแล้วพระโพธิสัตว์ก็เทียมยาน
นั่งไปข้างหน้า. นางสุชาดา ผลัดผ้าตกแต่งร่างกายนั่งอยู่ข้างหลัง.

ในเวลาที่ยานเข้าไปภายในพระนคร พระเจ้าพาราณสี
ประทับบนคอคชสารตัวประเสริฐ กระทำทักษิณพระนคร ได้
เสด็จมาถึงที่นั้น. นางสุชาดา ลงเดินด้วยเท้ามาข้างหลังยาน.
พระราชาทอดพระเนตรเห็นนาง ถูกรูปสมบัติของนางรัดรึง

พระทัย มีจิตปฏิพัทธ์ทรงส่งอำมาตย์คนหนึ่งไปด้วยพระดำรัสว่า
ท่านจงไป จงรู้ว่า นางมีสามีหรือยังไม่มี. ครั้นอำมาตย์ไปก็รู้
ว่า นางมีสามีแล้ว จึงกราบทูลพระราชาว่า ขอเดชะ นางมี
สามีแล้วพระเจ้าข้า บุรุษที่นั่งอยู่บนยานเป็นสามีของนาง.

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
• อ่านหนังสือไปแล้ว ท่านได้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วรู้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วเข้าใจมากน้อยแค่ไหน?
อ่านแล้วนำไปใช้งานได้มากน้อยเพียงใด?
อ่านแล้วใจผ่องใสขึ้นบ้างหรือไม่?
อ่านแล้วยังไม่เข้าก็คงต้องแล้วอ่านอีก
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 11 ธ.ค. 2018, 18:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระราชา ไม่อาจทรงอดกลั้นความมีพระทัยปฏิพัทธ์ได้ ทรง
เร่าร้อนไปด้วยกิเลส ทรงดำริว่า เราจักฆ่าเสียด้วยอุบายอย่าง
หนึ่ง แล้วยึดเอาหญิงนี้มา ทรงเรียกบุรุษคนหนึ่งมา แล้วตรัสว่า
เจ้าจงไป จงเอาปิ่นมณีนี้ไป ทำเป็นคนเดินถนน ซุกซ่อนไว้ในยาน
ของชายนี้แล้วกลับมา ทรงส่งปิ่นมณีให้ไป. เขาทูลรับพระดำรัส

จึงถือเอาปิ่นมณีนั้นไปวางไว้ในยานแล้วกลับมากราบทูลว่า
เสร็จแล้วพระเจ้าข้า. พระราชาตรัสว่า ปิ่นมณีของเราหายไป.
พวกมนุษย์ ต่างพากันแตกตื่นเป็นโกลาหล. พระราชาตรัสว่า
ท่านทั้งหลายจงปิดประตูทุกด้าน ตัดการสัญจรไปมาค้นหาโจร.
พวกราชบุรุษได้ทำตามพระราชโองการ. พระนครเกิดเกรียว-

กราวกันไปทั่ว. บุรุษคนหนึ่งพาพวกเจ้าหน้าที่ไปหาพระโพธิ-
สัตว์ กล่าวว่า จงหยุดยานก่อนพ่อคุณ ปิ่นมณีของพระราชา
หายไป เราจักตรวจยาน เมื่อตรวจยาน ยึดปิ่นมณีที่ตนซ่อนไว้
จับพระโพธิสัตว์โบยด้วยมือและเท้า กล่าวหาว่าเป็นโจรลักปิ่นมณี
แล้วมัดแขนไพล่หลัง นำไปมอบแด่พระราชา กราบทูลว่า ชาย

ผู้นี้เป็นโจรลักปิ่นมณี พระเจ้าข้า. พระราชามีพระบัญชาว่า
จงตัดศีรษะมันเสีย. พวกราชบุรุษเอาหวายเฆี่ยนพระโพธิสัตว์
ยกละสี่ ๆ นำออกจากพระนครทางประตูขวา. แม้นางสุชาดา
ก็ทิ้งยานประคองแขนคร่ำครวญเดินรำพันตามไปข้างหลังว่า

ข้าแต่สามี ท่านได้รับทุกข์นี้เพราะอาศัยข้าพเจ้า. พวกราชบุรุษ
ให้พระโพธิสัตว์นอนหงายด้วยหมายใจว่า จักตัดศีรษะของพระ-
โพธิสัตว์นั้น. นางสุชาดาเห็นดังนั้น จึงรำลึกถึงคุณแห่งศีล
ของตน แล้วรำพันเป็นต้นว่า ชื่อว่า เทพเจ้าผู้สามารถห้าม

เหล่ามนุษย์มีนิสัยชั่วช้าสาหัส ซึ่งเบียดเบียนผู้มีศีลทั้งหลาย
ในโลกนี้ เห็นจะไม่มีแล้วหนอ จึงกล่าวคาถาแรกว่า :-

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
• อ่านหนังสือไปแล้ว ท่านได้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วรู้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วเข้าใจมากน้อยแค่ไหน?
อ่านแล้วนำไปใช้งานได้มากน้อยเพียงใด?
อ่านแล้วใจผ่องใสขึ้นบ้างหรือไม่?
อ่านแล้วยังไม่เข้าก็คงต้องแล้วอ่านอีก
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 11 ธ.ค. 2018, 18:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เทพเจ้าทั้งหลาย ย่อมไม่มีอยู่ในโลกนี้
เป็นแน่ หรือเมื่อกิจเห็นปานนี้เกิดขึ้น ย่อมพา
กันไปค้างแรมเสียเป็นแน่ อนึ่ง สมณพราหมณ์
ทั้งหลายอันเขาสมมติว่า เป็นผู้รักษาโลก ไม่มี
อยู่ในโลกนี้เป็นแน่ เมื่อชนทุศีลกระทำกรรม
อันสาหัสบุคคลผู้ห้ามปรามไม่มีอยู่เป็นแน่.

ในบทเหล่านั้น บทว่า น สนฺติ เทวา ความว่า เทพเจ้า
ทั้งหลาย ผู้ดูแลผู้มีศีล และห้ามคนชั่วไม่มีอยู่ในโลกนี้เป็นแน่.
บทว่า ปวสนฺติ นูน ความว่า หรือเมื่อกิจเห็นปานนี้เกิดขึ้น เทพเจ้า
ทั้งหลาย ก็พากันไปค้างแรมเสีย คือ ไปอยู่ที่อื่นหมดเป็นแน่.
บทว่า อิธ โลกปาลา ความว่า แม้สมณพราหมณ์ทั้งหลาย ผู้มี

ศีล ผู้อนุเคราะห์ที่เขาสมมติว่าเป็นผู้รักษาโลก เห็นจะไม่มีอยู่
ในโลกนี้เป็นแน่. บทว่า สหสา กโรนฺตานํ อสญฺญตานํ ได้แก่
คนทุศีล ผู้กระทำกรรมสาหัส คือกรรมหยาบช้า ไม่สอบสวน
ให้ถ่องแท้. บทว่า ปฏิเสธตาโร คือผู้ห้ามว่า ท่านทั้งหลายอย่า
ทำกรรมเห็นปานนี้ จะทำดังนี้ไม่ได้ ดังนี้คงไม่มีเลย.

เมื่อนางผู้สมบูรณ์ด้วยศีลคร่ำครวญอยู่อย่างนี้ อาสนะ
ที่ประทับนั่งของท้าวสักกเทวราชก็แสดงอาการร้อน. ท้าวสักกะ
ทรงรำพึงว่า ใครหนอหวังจะให้เราเคลื่อนจากตำแหน่งสักกะ
ครั้นทรงทราบเหตุนี้ว่า พระราชาพาราณสีทรงทำกรรม

หยาบยิ่งนัก ทำให้นางสุชาดาผู้สมบูรณ์ด้วยศีลลำบาก เราควร
จะไปในบัดนี้ จึงเสด็จลงจากเทวโลก บันดาลให้พระราชาลามก
ซึ่งประทับนั่งบนหลังคชสารเสด็จลงจากคชสาร ให้บรรทม
หงายเหนือเขียงสัญญาณ แล้วทรงอุ้มพระโพธิสัตว์ให้ทรงเครื่อง
อลังการพร้อมสรรพ ทรงเพศเป็นพระราชาประทับนั่งเหนือ

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
• อ่านหนังสือไปแล้ว ท่านได้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วรู้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วเข้าใจมากน้อยแค่ไหน?
อ่านแล้วนำไปใช้งานได้มากน้อยเพียงใด?
อ่านแล้วใจผ่องใสขึ้นบ้างหรือไม่?
อ่านแล้วยังไม่เข้าก็คงต้องแล้วอ่านอีก
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 11 ธ.ค. 2018, 18:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
คอคชสาร. เพชฌฆาตผู้ยืนเงื้อขวานคอยจะตัดศีรษะ ก็ตัดเอา
พระเศียรของพระราชา. ในเวลาตัดนั่นเองจึงรู้ว่าเป็นพระเศียร
ของพระราชา. ท้าวสักกเทวราชทรงแสดงพระกายให้ปรากฏ
เข้าไปหาพระโพธิสัตว์ ทรงกระทำราชาภิเษกแก่พระราชา
ทรงตั้งตำแหน่งอัครมเหสีแก่นางสุชาดา.

พวกอำมาตย์ พราหมณ์ และคหบดีเป็นต้น เห็นท้าวสักก-
เทวราชแล้ว ต่างชื่นชมปรีดาว่า พระราชาผู้ปราศจากธรรม
สิ้นพระชนม์แล้ว บัดนี้พวกเราได้พระราชาผู้ทรงธรรม ซึ่ง
ท้าวสักกะทรงประทาน. ท้าวสักกะประทับอยู่บนอากาศ ทรง
ตรัสแก่บริษัททั้งหลายว่า พวกท่านได้พระราชาองค์นี้ที่ท้าว-

สักกะให้แล้ว. มีเทวดำรัสต่อไปว่า ดูก่อนมหาราช ตั้งแต่นี้ไป
ขอให้ท่านครองราชสมบัติโดยธรรมเถิด หากพระราชาไม่
ประกอบด้วยธรรม ฝนก็จะไม่ตกต้องตามฤดูกาล ภัยสามอย่าง

เหล่านี้คือ ภัยเกิดจากความอดหยาก ๑ ภัยเกิดจากโรค ๑ ภัย
เกิดจากศัตรู ๑ ก็จะบังเกิดขึ้นเมื่อจะถวายโอวาท จึงตรัส
คาถาที่ ๒ ว่า :-

ในรัชสมัยของพระเจ้าอธรรมิกราช ฝน
ย่อมตกในเวลาอันไม่ควรตก ในเวลาที่ควรตก
ก็ไม่ตก พระราชาผู้ไม่ตั้งอยู่ในธรรมนั้น ใช่ว่า
จะได้รับความยากเข็ญด้วยเหตุมีประมาณเท่านั้น
ก็หามิได้.

ในบทเหล่านั้น บทว่า อกาเล ความว่า ในรัชสมัยของ
พระเจ้าอธรรมิกราช ฝนย่อมตกในกาลอันไม่ควร คือในเวลา
ข้าวสุกแล้วบ้าง ในเวลาเกี่ยวบ้าง ในเวลานวดเป็นต้นบ้าง.
บทว่า กาเล ความว่า แต่ไม่ตก ในเวลาประกอบการงานและ
ขวนขวายในการงาน ในเวลาหว่าน ในเวลาข้าวกล้า ข้าวอ่อน

ในเวลาข้าวตั้งท้อง. บทว่า สคฺคา จ จวติ ฐานา ความว่า เคลื่อน
จากฐานะอันได้แก่สวรรค์ คือจากเทวโลก. จริงอยู่พระราชาผู้
ไม่ตั้งอยู่ในธรรมชื่อว่าเคลื่อนจากเทวโลก เพราะไม่ได้ลาภ

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
• อ่านหนังสือไปแล้ว ท่านได้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วรู้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วเข้าใจมากน้อยแค่ไหน?
อ่านแล้วนำไปใช้งานได้มากน้อยเพียงใด?
อ่านแล้วใจผ่องใสขึ้นบ้างหรือไม่?
อ่านแล้วยังไม่เข้าก็คงต้องแล้วอ่านอีก
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 11 ธ.ค. 2018, 18:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
หรือเมื่อครองราชสมบัติอยู่บนสวรรค์ ก็ชื่อว่าเคลื่อนจากสวรรค์
นั้น. บทว่า นนุ โส ตาวตา หโต ความว่า พระราชาผู้ไม่ตั้ง
อยู่ในธรรมนั้น จะถูกกำจัดด้วยเหตุเพียงนี้เป็นแท้. อีกอย่างหนึ่ง
จักเดือดร้อนในมหานรกแปดขุม และในอุสสทนรกสิบหกขุม
นี้เป็นอธิบายในบทนี้.

ท้าวสักกะประทานโอวาทแก่มหาชนอย่างนี้แล้ว ได้เสด็จ
กลับไปยังเทวสถานของพระองค์. แม้พระโพธิสัตว์ก็ครองราช-
สมบัติโดยธรรม ทรงบำเพ็ญทางไปสวรรค์ให้บริบูรณ์.

พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุม
ชาดก. พระราชาผู้ไม่ตั้งอยู่ในธรรมในครั้งนั้นได้เป็นเทวทัต
ในครั้งนี้ ท้าวสักกะได้เป็นอนุรุทธ นางสุชาดาได้เป็นมารดา
ราหุล ส่วนพระราชาที่ท้าวสักกะประทาน คือเราตถาคตนี้แล.
จบ อรรถกถามณิโจรชาดกที่ ๔

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 11 ธ.ค. 2018, 18:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหารทรง
ปรารภพระเจ้าโกสล ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า
ปพฺพตูปตฺถเร รมฺเม ดังนี้.

ได้ยินว่าอำมาตย์คนหนึ่ง ของพระเจ้าโกสลก่อการร้าย
ขึ้นภายในพระราชวัง พระราชาทรงสอบสวน ทรงทราบเรื่อง
นั้นโดยถ่องแท้แล้ว จึงเสด็จไปยังพระเชตวันด้วยทรงดำริว่า
จักกราบทูลพระศาสดา ถวายบังคมพระศาสดาแล้วตรัสถามว่า

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อำมาตย์คนหนึ่งก่อการร้ายขึ้นภายใน
พระราชวังของข้าพระองค์ จะควรทำอย่างไรแก่อำมาตย์ผู้นั้น
พระพุทธเจ้าข้า. ลำดับนั้น พระศาสดาตรัสถามพระราชานั้นว่า
มหาบพิตร ก็อำมาตย์ผู้นั้นมีอุปการะต่อพระองค์ และหญิงนั้น

เป็นที่รักของพระองค์หรือ กราบทูลว่า เป็นเช่นนั้นพระพุทธเจ้าข้า
อำมาตย์ผู้นั้นมีอุปการะยิ่งนัก ช่วยเหลือราชตระกูลทุกอย่าง
ทั้งหญิงนั้นก็เป็นที่รักของหม่อมฉัน มีพระพุทธดำรัสว่า มหา-
บพิตร ไม่ควรลงโทษในเสวกผู้มีอุปการะและในหญิงซึ่งเป็นที่รัก

ของพระองค์ แม้แต่ก่อนพระราชาทั้งหลายทรงสดับถ้อยคำของ
เหล่าบัณฑิต ก็ยังไม่ทรงวางพระทัยเป็นกลาง เมื่อพระราชา
ทูลอาราธนา จึงทรงนำเรื่องอดีตมาตรัสเล่า.

ในอดีตกาลครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
กรุงพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดในตระกูลอำมาตย์ ครั้น
เจริญวัย ก็ได้มีหน้าที่ถวายอรรถและธรรมของพระองค์. ครั้งนั้น
อำมาตย์คนหนึ่งของพระราชา ก่อเหตุร้ายภายในพระราชวัง
พระราชาทรงทราบเรื่องนั้นโดยถ่องแท้ จึงทรงดำริว่า ทั้ง

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
• อ่านหนังสือไปแล้ว ท่านได้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วรู้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วเข้าใจมากน้อยแค่ไหน?
อ่านแล้วนำไปใช้งานได้มากน้อยเพียงใด?
อ่านแล้วใจผ่องใสขึ้นบ้างหรือไม่?
อ่านแล้วยังไม่เข้าก็คงต้องแล้วอ่านอีก
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 11 ธ.ค. 2018, 18:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อำมาตย์ก็มีอุปการะแก่เรามาก ทั้งหญิงนี้ก็เป็นที่รักของเรา
จะทำลายคนทั้งสองนี้ไม่ได้ เราจะถามปัญหากะอำมาตย์บัณฑิต
ถ้าจะต้องอดทนได้ เราก็จะอดทน ถ้าอดทนไม่ได้เราก็จะไม่
อดทน จึงตรัสเรียกหาพระโพธิสัตว์ให้อาสนะแล้วตรัสว่า ท่าน
บัณฑิต เราจักถามปัญหา เมื่อเขากราบทูลว่า ข้าแต่มหาราช
ข้าพระพุทธเจ้าจักแก้ปัญหา เมื่อจะตรัสถามปัญหาจึงตรัส
คาถาแรกว่า :-

สระโบกขรณีมีน้ำใสสะอาดเกิดอยู่ที่
เชิงเขาลาดน่ารื่นรมย์ สุนัขจิ้งจอกรู้ว่าสระนั้น
อันราชสีห์รักษาอยู่ แล้วลงไปอาบน้ำได้.

ในบทเหล่านั้น บทว่า ปพฺพตูปตฺถเร รมฺเม คือในที่เนิน
ตั้งลาดลงไปในเชิงเขาหิมพานต์. บทว่า ชาตา โปกฺขรณี สิวา
คือ สระโบกขรณีมีน้ำเย็นอร่อยเกิดแล้ว. อีกอย่างหนึ่ง แม้
แม่น้ำที่ดาดาษไปด้วยดอกบัว ก็ชื่อว่าโบกขรณีเหมือนกัน.
อป ศัพท์ในบทว่า อปาปาสิ เป็นอุปสรรค ความว่า ได้ดื่มแล้ว.

บทว่า ชานํ สีเหน รกฺขิตํ ความว่า สระโบกขรณีนั้น สำหรับ
เป็นที่บริโภคของราชสีห์ อันราชสีห์รักษา. สุนัขจิ้งจอกนั้น
ทั้งที่รู้อยู่ว่า สระโบกขรณีนี้ราชสีห์รักษาก็ดื่ม ท่านเข้าใจว่า
อย่างไร สุนัขจิ้งจอกนั้นไม่กลัวราชสีห์หรือ จึงดื่มน้ำในสระ
โบกขรณีเห็นปานนี้ นี้เป็นข้ออธิบายในคาถานี้

พระโพธิสัตว์ทราบว่า อำมาตย์คนหนึ่งชะรอยจักก่อเหตุ
ร้ายขึ้นในภายในพระราชวังของพระราชานี้ จึงกล่าวคาถาที่
๒ ว่า :-

ข้าแต่มหาราช ถ้าสัตว์ทั้งหลายที่มีเท้า
พากันดื่มน้ำในแม่น้ำใหญ่ แม่น้ำจะกลายเป็น
ไม่ใช่แม่น้ำ เพราะเหตุนั้นก็หามิได้ ถ้าบุคคล
ทั้งสองนั้นเป็นที่รักของพระองค์ พระองค์ก็ทรง
งดโทษเสีย.

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
• อ่านหนังสือไปแล้ว ท่านได้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วรู้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วเข้าใจมากน้อยแค่ไหน?
อ่านแล้วนำไปใช้งานได้มากน้อยเพียงใด?
อ่านแล้วใจผ่องใสขึ้นบ้างหรือไม่?
อ่านแล้วยังไม่เข้าก็คงต้องแล้วอ่านอีก
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 11 ธ.ค. 2018, 18:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ในบทเหล่านั้น บทว่า สาปทานิ ได้แก่ มิใช่สุนัขจิ้งจอก
อย่างเดียวเท่านั้น สัตว์มีเท้าทั้งหมด มีสุนัข ม้า แมว และเนื้อ
ก็ดื่มกิน. สัตว์ทั้งหลายย่อมดื่มน้ำในแม่น้ำอันชื่อว่า โบกขรณี
เพราะดาดาษไปด้วยดอกบัว. บทว่า น เตน อนที โหติ ความว่า
ก็สัตว์ทุกชนิดที่กระหาย ทั้งมีสองเท้าและสี่เท้าทั้งงูและปลา

ย่อมดื่มน้ำในแม่น้ำ. แม่น้ำนั้นจะชื่อว่า ไม่ใช่แม่น้ำเพราะเหตุนั้น
ก็หามิได้ ทั้งชื่อว่าเป็นแม่น้ำเดนก็หามิได้. ถามว่าเพราะเหตุไร
แก้ว่า เพราะเป็นของสาธารณ์แก่สัตว์ทั่วไป อนึ่ง แม่น้ำที่ใคร ๆ
ดื่มย่อมไม่เสียหาย ฉันใด แม้หญิงก็ฉันนั้น ล่วงละเมิดสามีด้วย
อำนาจกิเลส ไปอยู่ร่วมกับชายอื่นจะชื่อว่า มิใช่หญิงก็หามิได้.

ถามว่า เพราะเหตุไร. แก้ว่า เพราะเป็นของสาธารณ์แก่คน
ทั่วไป. ทั้งไม่ชื่อว่าเป็นหญิงเดน. ถามว่า เพราะเหตุไร. แก้ว่า
เพราะความเป็นผู้บริสุทธิ์ โดยเปรียบเหมือนน้ำ. บทว่า ขมสฺสุ
ยทิ เต ปิยา ความว่า หากว่าหญิงนั้นเป็นที่รักของพระองค์

และอำมาตย์นั้นเป็นผู้มีอุปการะมากแก่พระองค์ ขอพระองค์
จงงดโทษแก่เขาทั้งสองเถิด คือทรงตั้งพระองค์ไว้เป็นกลาง.

พระมหาสัตว์ได้ถวายโอวาทแก่พระราชาอย่างนี้. พระ-
ราชาทรงตั้งอยู่ในโอวาทของพระมหาสัตว์แล้วมีพระดำรัสว่า
ยกโทษแก่คนทั้งสองว่า ตั้งแต่นี้ไป เจ้าทั้งสองอย่าทำกรรมชั่ว
เช่นนี้อีก. พระราชาทรงทำบุญมีทานเป็นต้น เมื่อสิ้นพระชนม์
ทรงบำเพ็ญทางไปสวรรค์ให้บริบูรณ์.

แม้พระราชาโกสลได้ทรงสดับพระธรรมเทศนานี้แล้ว
ก็ทรงยกโทษให้คนทั้งสองเหล่านั้น วางพระองค์เป็นกลาง.
พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุม
ชาดก. พระราชาในครั้งนั้นได้เป็นอานนท์ในครั้งนี้ ส่วนอำมาตย์
บัณฑิตได้เป็นเราตถาคตนี้แล.
จบ อรรถกถาปัพพตูปัตถรชาดกที่ ๕

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 11 ธ.ค. 2018, 18:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรง
ปรารภภิกษุผู้กระสันรูปหนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำ
เริ่มต้นว่า เย น กาหนฺติ โอวาทํ ดังนี้.

ความย่อมีอยู่ว่า ภิกษุนั้นเมื่อพระศาสดาตรัสถามว่า
ดูก่อนภิกษุเธอกระสันจริงหรือ กราบทูลว่า จริงพระเจ้าข้า
ตรัสถามว่า เพราะเหตุไร กราบทูลว่า เพราะเห็นมาตุคามแต่งตัว
งดงามคนหนึ่ง จึงกระสันด้วยอำนาจกิเลส. ลำดับนั้นพระศาสดา
ตรัสกะภิกษุนั้นว่า ดูก่อนภิกษุ ธรรมดาหญิงเหล่านี้ เล้าโลม

ชายด้วย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และด้วยมารยาหญิง
กระทำให้อยู่ในอำนาจของตน เขาเรียกว่านางยักษิณี เพราะ
เล้าโลมชายด้วยกรีดกราย ครั้นรู้ว่าชายนั้นตกอยู่ในอำนาจแล้ว
ก็จะให้ถึงความพินาศแห่งศีล และความพินาศแห่งขนบประเพณี
จริงอยู่ แม้แต่ก่อนพวกนางยักษิณีเข้าไปหาพวกผู้ชายหมู่หนึ่ง
ด้วยมารยาหญิง แล้วเล้าโลมพวกพ่อค้าทำให้อยู่ในอำนาจของ

ตน ครั้นเห็นชายอื่นอีก ก็ฆ่าพวกพ่อค้าเหล่านั้นทั้งหมดให้ถึง
แก่ความตาย เคี้ยวกินหมุบ ๆ ทั้งมีเลือดไหลออกจากด้านคาง
ทั้งสองข้าง แล้วทรงนำเรื่องอดีตมาตรัสเล่า.

ในอดีตกาลที่เกาะตามพปัณณิ มีเมืองยักษ์ชื่อ สิริสวัตถุ.
พวกนางยักษิณีอาศัยอยู่ในเมืองนั้น. ในเวลาที่พวกพ่อค้าเรือ
อับปาง นางยักษิณีเหล่านั้น ก็พากันประดับตกแต่งร่างกาย
ให้ถือของเคี้ยวของบริโภค มีหมู่ทาสีแวดล้อม อุ้มทารกเข้าไป
หาพวกพ่อค้าเพื่อให้คนเหล่านั้นทราบว่า พวกเราก็มาที่อยู่ของ

มนุษย์ จึงแสดงกิจเป็นต้นว่า พวกมนุษย์ ฝูงโค สุนัข กำลัง
ทำกสิกรรม โครักขกรรม เป็นต้นในที่นั้น ๆ แล้วเข้าไปหา
พวกพ่อค้ากล่าวว่า เชิญดื่มข้าวยาคูนี้ เชิญบริโภคอาหารนี้
เชิญเคี้ยวของเคี้ยวนี้. พวกพ่อค้าขาดไหวพริบ บริโภคอาหาร
ที่นางยักษิณีเหล่านั้นให้แล้ว ๆ. ครั้นถึงเวลาที่พวกเขาเคี้ยว

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
• อ่านหนังสือไปแล้ว ท่านได้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วรู้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วเข้าใจมากน้อยแค่ไหน?
อ่านแล้วนำไปใช้งานได้มากน้อยเพียงใด?
อ่านแล้วใจผ่องใสขึ้นบ้างหรือไม่?
อ่านแล้วยังไม่เข้าก็คงต้องแล้วอ่านอีก
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 11 ธ.ค. 2018, 18:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
บริโภคดื่มเสร็จแล้วพักผ่อน ยักษิณีจึงถามว่า พวกท่านอยู่ที่ไหน
มาจากไหน จะไปไหน มาทำอะไรที่นี่ เมื่อพวกพ่อค้าตอบว่า
พวกเราเรืออับปาง จึงพากันมาที่นี่ นางยักษิณีกล่าวว่า ดีละ
พ่อคุณ แม้สามีของพวกเราก็ขึ้นเรือไป ล่วงไปสามเดือนแล้ว
ชะรอยเขาจักตายกันหมด แม้พวกท่านก็เป็นพ่อค้าเหมือนกัน

พวกเราจะเป็นหญิงรับใช้พวกท่าน แล้วเล้าโลมพวกพ่อค้า
เหล่านั้นด้วยมารยาหัวเราะและจริตของสตรี พาไปเมืองยักษ์
หากมีพวกมนุษย์ที่ถูกจับไปไว้ก่อน ก็จองจำมนุษย์เหล่านั้น
ด้วยโซ่กายสิทธิ์ขังไว้ในห้องคุมขัง กระทำมนุษย์ที่จับได้ภายหลัง

ให้เป็นสามีของตน แต่เมื่อไม่ได้มนุษย์เรืออับปางในที่พักของ
ตน ก็เที่ยววนเวียนอยู่ฝั่งสมุทร คือเกาะไม้ขานางฝั่งโน้น เกาะ
ไม้กากะทิงฝั่งนี้. นี่เป็นธรรมดาของพวกยักษิณี.

อยู่มาวันหนึ่ง พ่อค้าเรืออับปาง ๕๐๐ พากันขึ้นไปใกล้
เมืองของยักษิณี. ยักษิณีเหล่านั้นจึงไปหาพวกพ่อค้าเล้าโลม
แล้วนำมาเมืองยักษ์ ล่ามพวกมนุษย์ที่จับไว้ครั้งแรกด้วยโซ่
กายสิทธิ์ขังไว้ในที่คุมขัง หัวหน้านางยักษิณีก็ให้หัวหน้าพ่อค้า
เป็นสามี ยักษิณีที่เหลือก็ให้พ่อค้านอกนั้นเป็นสามี เป็นอัน

ยักษิณี ๕๐๐ ได้ทำให้พ่อค้า ๕๐๐ เป็นสามีของตนด้วยประการ
ฉะนี้.

ต่อมานางยักษิณีหัวหน้านั้น ครั้นเวลากลางคืน เมื่อ
พ่อค้าหลับ จึงลุกขึ้นไปฆ่ามนุษย์ทั้งหลายในเรือนคุมขัง กินเนื้อ
เสร็จแล้วก็กลับมา. แม้ยักษิณีที่เหลือก็ทำอย่างนั้นเหมือนกัน.
ในเวลาที่หัวหน้ายักษิณีกินเนื้อมนุษย์แล้วกลับมาร่างกายมักเย็น.
หัวหน้าพ่อค้าคอยสังเกตอยู่ ครั้นรู้ว่ามันเป็นยักษิณี จึงรำพึง

ต่อไปว่า หญิง ๕๐๐ เหล่านี้ น่าจะเป็นยักษิณี พวกเราควรจะ
หนีไปเสีย รุ่งเช้าเดินไปเพื่อล้างหน้า จึงบอกแก่พวกพ่อค้าว่า
หญิงเหล่านี้เป็นยักษิณี มิใช่หญิงมนุษย์ ในเวลาที่พวกอื่นเรือ
อับปางมา พวกมันจะให้คนเหล่านั้นเป็นสามีมันแล้วก็กินพวกเรา
เสีย. มาเถิดพวกเราพากันหนีไปเถิด. ในพวกพ่อค้าเหล่านั้น
พ่อค้าสองร้อยห้าสิบคนกล่าวว่า เราไม่อาจละทิ้งหญิงเหล่านี้
ไปได้ดอก พวกท่านไปกันเถิด พวกเราจักไม่หนีไปละ. หัวหน้า

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
• อ่านหนังสือไปแล้ว ท่านได้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วรู้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วเข้าใจมากน้อยแค่ไหน?
อ่านแล้วนำไปใช้งานได้มากน้อยเพียงใด?
อ่านแล้วใจผ่องใสขึ้นบ้างหรือไม่?
อ่านแล้วยังไม่เข้าก็คงต้องแล้วอ่านอีก
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 11 ธ.ค. 2018, 18:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พ่อค้าก็พาพวกพ่อค้าสองร้อยห้าสิบคน ซึ่งเชื่อฟังคำของตน
กลัวยักษิณีเหล่านั้นหนีไป. ก็ในเวลานั้นพระโพธิสัตว์บังเกิด
ในกำเนิดม้าวลาหก. ม้านั้นมีสีขาวปลอด มีศีรษะเหมือนกา
ผมเป็นปอย มีฤทธิ์เหาะเหินได้. ม้าวลาหกนั้นเหาะมาจากเขา
หิมพานต์ไปยังเกาะตามพปัณณิ บริโภคข้าวสาลีที่เกิดเองใน

เปือกตม ใกล้สระตามพปัณณินั้น แล้วกลับไป. อนึ่ง เมื่อเหาะไป
นั้นก็พูดเป็นภาษามนุษย์ ซึ่งได้อบรมมาด้วยความกรุณาสามครั้ง
ว่า มีผู้ประสงค์จะไปชนบทไหม มีผู้ประสงค์จะไปชนบทไหม
มีผู้ประสงค์จะไปชนบทไหม. พวกพ่อค้าเหล่านั้นได้ยินคำของ
ม้านั้น จึงพากันเข้าไปหาประคองอัญชลี กล่าวว่า พวกข้าพเจ้า

จักไปชนบท. ม้าบอกว่า ถ้าเช่นนั้น จงขึ้นหลังเราเถิด. ครั้นแล้ว
พ่อค้าบางพวกก็ขึ้นหลัง. บางพวกก็จับหาง. บางพวกยืนประคอง
อัญชลี. พระโพธิสัตว์จึงพาพวกพ่อค้าทั้งหมด แม้ที่สุดพวกที่
ยืนประคองอัญชลีไปสู่ชนบท ด้วยอานุภาพของตน ให้ทุกคนอยู่

ในที่ของตน ๆ แล้วก็ไปที่อยู่ของตน. นางยักษิณีเหล่านั้นใน
เวลาที่พวกอื่นมาถึงก็ฆ่ามนุษย์สองร้อยห้าสิบคนที่ทิ้งไว้ในที่นั้น
กินเสีย.

พระศาสดา ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายมาแล้วตรัสว่า ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย พวกพ่อค้าที่ตกอยู่ในอำนาจของยักษิณีได้สิ้น
ชีวิตลง พวกที่เชื่อคำของพญาม้าวลาหก ก็กลับไปอยู่ในที่ของตน ๆ
ฉันใด. ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ซึ่งไม่ทำตามโอวาท

ของพระพุทธเจ้าทั้งหลายก็ฉันนั้นเหมือนกัน ย่อมถึงความทุกข์
ใหญ่ในอบายสี่ เป็นต้นว่า เครื่องจองจำห้าประการ และเครื่อง
กรรมกรณ์ ส่วนผู้ที่เชื่อฟังโอวาทย่อมบรรลุฐานะเหล่านี้ คือ
กุลสมบัติ ๓ สวรรค์ชั้นกามาพจร ๖ พรหมโลก ๒๐ แล้วทำ
ให้แจ้งอมตมหานฤพาน เสวยสุขเป็นอันมาก ครั้นพระองค์ตรัสรู้
อภิสัมโพธิญาณแล้ว จึงตรัสคาถาเหล่านี้ว่า :-

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
• อ่านหนังสือไปแล้ว ท่านได้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วรู้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วเข้าใจมากน้อยแค่ไหน?
อ่านแล้วนำไปใช้งานได้มากน้อยเพียงใด?
อ่านแล้วใจผ่องใสขึ้นบ้างหรือไม่?
อ่านแล้วยังไม่เข้าก็คงต้องแล้วอ่านอีก
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 11 ธ.ค. 2018, 18:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
นรชนเหล่าใดไม่ทำตามโอวาทที่พระ-
พุทธเจ้าตรัสไว้ นรชนเหล่านั้นจักต้องถึงความ
พินาศ เหมือนพ่อค้าทั้งหลายถูกนางผีเสื้อหลอก
ลวงให้อยู่ในอำนาจฉะนั้น.

นรชนเหล่าใด ทำตามโอวาทอันพระ-
พุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว นรชนเหล่านั้นจักถึงฝั่ง
สวัสดี ดุจพ่อค้าทั้งหลาย ทำตามถ้อยคำที่ม้า-
วลาหกกล่าวแล้ว ฉะนั้น.

ในบทเหล่านั้น บทว่า เย น กาหนฺติ คือ ชนเหล่าใด
ไม่เชื่อคำสอน. บทว่า พฺยสนํ เต คมิสฺสนฺติ ได้แก่ ชนเหล่านั้น
จักถึงมหาพินาศ. บทว่า รกฺขสีหิว วาณิชา ได้แก่ เหมือนพ่อค้า
ที่ถูกนางยักษิณีเล้าโลมฉะนั้น. บทว่า โสตฺถิปารํ คมิสฺสนฺติ
ได้แก่ จักถึงพระนิพพานโดยไม่มีอันตราย. บทว่า วลาเหเนว
วาณิชา ได้แก่ เหมือนพ่อค้าที่ม้าวลาหกกล่าวว่า จงมาเถิด
ก็เชื่อฟังม้านั้น.

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงถือเอายอดแห่งพระธรรมเทศนา
ด้วยอมตมหานฤพานว่า ชนทั้งหลายผู้เชื่อฟังคำสอนของพระ-
พุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อมถึงนิพพานอันเป็นฝั่งแห่งสงสารเหมือน
พ่อค้าเหล่านั้น ไปถึงฝั่งแห่งมหาสมุทรแล้วก็ได้ไปในที่ของตน ๆ.

พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประกาศ
สัจธรรม ทรงประชุมชาดก. เมื่อจบสัจธรรม ภิกษุผู้กระสัน
ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล. ภิกษุอื่นหลายรูปได้บรรลุโสดาปัตติผล
สกิทาคามิผล อนาคามิผลและอรหัตตผล. พ่อค้าสองร้อยห้าสิบ
คนที่เชื่อฟังคำของม้าวลาหกในครั้งนั้นได้เป็นพุทธบริษัทในครั้ง
นี้. ส่วนพญาม้าวลาหกะ คือเราตถาคตนี้แล.
จบ อรรถกถาวลาหกัสสชาดกที่ ๖

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 11 ธ.ค. 2018, 18:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ กรุงสาวัตถี ทรงปรารภ
ภิกษุรูปหนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า น นํ
อุมฺหยเต ทิสฺวา ดังนี้.

ภิกษุรูปหนึ่งถือเอาเศษผ้าผืนหนึ่งด้วยความวิสาสะที่
พระอุปัชฌายะวางไว้ ด้วยคิดว่า เมื่อเราถือเอาแล้ว พระอุปัชฌายะ
ของเราจะไม่โกรธ แล้วทำเป็นถุงใส่รองเท้า ภายหลังจึงบอก
พระอุปัชฌายะ. ครั้นพระอุปัชฌายะถามภิกษุนั้นว่า เพราะเหตุ
ใดท่านจึงถือเอา เมื่อภิกษุนั้นตอบว่า ถือเอาโดยวิสาสะของ

พระคุณท่านด้วยคิดว่า เมื่อเราถือเอาแล้ว พระอุปัชฌายะจัก
ไม่โกรธขอรับ พระอุปัชฌายะจึงกล่าวว่า ชื่อว่าวิสาสะของคุณ
กับของผมเป็นอย่างไร แล้วโกรธลุกขึ้นตบ. การกระทำของ
พระอุปัชฌายะนั้นได้ปรากฏในพวกภิกษุ.

อยู่มาวันหนึ่ง ภิกษุทั้งหลายประชุมสนทนากันในโรงธรรม
ว่า อาวุโสทั้งหลาย ได้ยินมาว่า ภิกษุหนุ่มรูปโน้น ได้ถือเอา
เศษผ้าของพระอุปัชฌายะโดยวิสาสะ แล้วทำเป็นถุงใส่รองเท้า
ครั้นพระอุปัชฌายะถามว่า ชื่อว่าวิสาสะของคุณกับของผมเป็น
อย่างไร แล้วโกรธลุกขึ้นตบ. พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอนั่งสนทนากันด้วยเรื่องอะไร เมื่อ
กราบทูลให้ทรงทราบแล้ว จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ
นั้นไม่มีวิสาสะกับสัทธิวิหาริกของตน มิใช่ในบัดนี้เท่านั้น แม้
เมื่อก่อนก็ไม่มีวิสาสะเหมือนกัน แล้วทรงนำเรื่องอดีตมาตรัสเล่า.

ในอดีตกาลครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
กรุงพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดในตระกูลพราหมณ์ แคว้น
กาสี ครั้นเจริญวัยออกบวชเป็นฤๅษี ยังอภิญญาและสมาบัติ
ไห้เกิดเป็นครูประจำคณะอาศัยอยู่ ณ หิมวันตประเทศ. ในหมู่

ฤๅษีนั้นมีดาบสรูปหนึ่งไม่เชื่อคำพระโพธิสัตว์ เลี้ยงลูกช้าง
กำพร้าไว้เชือกหนึ่ง. ครั้นลูกช้างเติบใหญ่ขึ้นได้ฆ่าดาบสนั้น
เสีย แล้วหนีเข้าป่าไป. หมู่ฤๅษีครั้นทำการฌาปนกิจศพดาบส
นั้นเสร็จแล้วจึงเข้าไปล้อมถามพระโพธิสัตว์ว่า พระคุณเจ้า

* เมื่อยังเห็นประโยชน์ในการดื่มเหล้าเบียร์อยู่ ใจย่อมจะไม่ยอมออกห่าง
* เมื่อจะเลิกควรมองให้เห็นโทษ ท่องคิดพิจารนาบ่อยๆ จะเกิดความกลัว ความเบื่อหน่าย
คลายกำนัด และกำจัดทิ้งไป
• อ่านหนังสือไปแล้ว ท่านได้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วรู้อะไรบ้าง?
อ่านแล้วเข้าใจมากน้อยแค่ไหน?
อ่านแล้วนำไปใช้งานได้มากน้อยเพียงใด?
อ่านแล้วใจผ่องใสขึ้นบ้างหรือไม่?
อ่านแล้วยังไม่เข้าก็คงต้องแล้วอ่านอีก
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 11 ธ.ค. 2018, 18:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ขอรับ ความเป็นมิตรหรือความเป็นศัตรู จะสามารถรู้ได้ด้วย
เหตุอะไร. พระโพธิสัตว์เมื่อจะบอกว่าด้วยเหตุนี้ ๆ จึงได้กล่าว
คาถาเหล่านี้ว่า :-

ศัตรูเห็นเข้าแล้ว ไม่ยิ้มแย้ม ไม่แสดง
ความยินดีตอบ สบตากันแล้วเบือนหน้าหนีไม่
แลดู ประพฤติตรงกันข้ามเสมอ. อาการเหล่านี้
มีปรากฏอยู่ในศัตรู เป็นเครื่องให้บัณฑิตเห็น
และได้ฟังแล้วพึงรู้ได้ว่าศัตรู.

ในบทเหล่านั้น บทว่า น นํ อุมฺหยเต ทิสฺวา ความว่า ก็ผู้
ได้เป็นศัตรูของคนใด ผู้นั้นเห็นคนนั้นแล้ว ย่อมไม่ยิ้มแย้ม คือ
ไม่หัวเราะ ไม่แสดงอาการร่าเริง. บทว่า น จ นํ ปฏินนฺทติ
ได้แก่ แม้ได้ยินคำของเขา ย่อมไม่ชื่นชมบุคคลนั้น คือไม่พลอย
ยินดีว่า คำพูดของผู้นั้นดี เป็นสุภาษิต. บทว่า จกฺขูนิ จสฺส น

ททนฺติ ได้แก่ ตาต่อตา จ้องกันแล้วหลบหน้าเสียไม่มองดู คือ
เมินตาไปทางอื่นเสีย. บทว่า ปฏิโลมญฺจ วตฺตติ. ได้แก่ ไม่ชอบใจ
การกระทำทางกาย ทางวาจาของเขา คือถือตรงกันข้าม แสดง
กิริยาเป็นข้าศึก. บทว่า อาการา ได้แก่เหตุ. บทว่า เยหิ อมิตฺตํ
ความว่า เหตุที่บุคคลผู้เป็นบัณฑิตเห็นและได้ยินแล้ว พึงรู้ได้ว่า

ผู้นี้เป็นศัตรูของเรา. ส่วนความเป็นมิตรพึงรู้ได้จากอาการ
ตรงกันข้ามกับศัตรูนั้น.
พระโพธิสัตว์ครั้นบอกเหตุแห่งความเป็นมิตรและเป็น
ศัตรูกันอย่างนี้แล้ว จึงเจริญพรหมวิหาร เข้าถึงพรหมโลก.

พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุม
ชาดก. ดาบสผู้เลี้ยงช้างในครั้งนั้น ได้เป็นสัทธิวิหาริกในครั้งนี้
ช้างได้เป็นพระอุปัชฌายะ หมู่บริษัทได้เป็นพุทธบริษัท ส่วนครู
ประจำคณะ คือ เราตถาคต.
จบ อรรถกถามิตตามิตตชาดกที่ ๗

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 53, 54, 55, 56, 57, 58, 59 ... 151  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร