วันเวลาปัจจุบัน 27 ก.ค. 2025, 17:59  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 83, 84, 85, 86, 87, 88, 89 ... 151  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 19:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ดาบสได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ว่า
เจ้าลิงเอ๋ย ถ้าแม้บุคคลจะพึงหว่าน
พืชลงบนแผ่นหิน ถึงฝนจะตกลงมา พืชนั้น
ก็งอกงามขึ้นไม่ได้แน่ ความหมดจดด้วย
ฌานชั้นสูงนั้น ถึงเจ้าจะได้ฟังมา เจ้าก็ยัง
เป็นผู้ไกลจากภูมิฌานมากนัก.

ความของคาถานั้นว่า ถ้าแม้บุคคลจะพึงหว่านพืช ๕ ชนิด
ลงบนหลังแผ่นหิน และฝนจะตกลงมาอย่างสม่ำเสมอ พืชนั้นจะ
งอกขึ้นไม่ได้ เพราะแผ่นหินนั้นไม่ใช่เนื้อนา ความหมดจดแห่ง

ฌานชั้นสูงที่เจ้าได้ฟังมา ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ดูก่อนเจ้าลิง ก็เพราะ
เจ้าเกิดในกำเนิดดิรัจฉาน เจ้าจึงยังห่างไกลจากภูมิฌานนัก คือเจ้า
ไม่อาจทำฌานให้บังเกิดได้ ดาบสเหล่านั้นติเตียนลิง ด้วยประการ
ดังนี้.

พระศาสดาครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว จึงทรง
ประชุมชาดกว่า พวกดาบสผู้เล่นคนองเป็นปกติในกาลนั้น ได้เป็น
ภิกษุเหล่านี้ ส่วนโกมาริยบุตรคือเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบอรรถกถาโกมาริยปุตตชาดกที่ ๙

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 19:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภ
สันถัดเก่า จึงตรัสเรื่องนี้มีคำเริ่มต้นว่า ปรปาณฆาต ดังนี้. แม้
เรื่องนี้ก็ได้มาแล้วโดยพิสดาร ในพระวินัยนั่นแล ก็ในที่นี้มีความย่อ
ดังต่อไปนี้ :- ท่านพระอุปเสนะ มีพรรษาได้ ๒ พรรษา พร้อมด้วย
สัทธิวิหาริกซึ่งมีพรรษาเดียว พากันเข้าไปเฝ้าพระศาสดา ถูก

พระศาสดาทรงติเตียน จึงกลับแล้วหลีกไปเริ่มบำเพ็ญวิปัสสนา บรรลุ
พระอรหัตแล้ว ประกอบด้วยคุณมีความเป็นผู้มักน้อยเป็นต้น สมาทาน
ธุดงค์ ๑๓ กระทำการชักชวนบริษัทให้เป็นผู้ทรงธุดงค์ ๑๓ ด้วย
เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงหลีกเร้นอยู่ตลอดไตรมาส จึงพร้อมด้วย

บริษัทเข้าไปเฝ้าพระศาสดา เพราะอาศัยบริษัทนั่นแหละ จึงได้รับ
การติเตียนเป็นครั้งแรก แต่เพราะประพฤติตามกติกาอันประกอบด้วย
ธรรม จึงได้รับสาธุการเป็นครั้งที่สอง เป็นผู้อันพระศาสดาทรงกระ-
ทำอนุเคราะห์ว่า จำเดิมแต่นี้ไป ภิกษุทั้งหลายผู้ทรงธุดงค์ จงเข้ามา

เฝ้าเราตามสบายเถิด แล้วจึงออกไปแจ้งเนื้อความนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย.
ตั้งแต่นั้นมา ภิกษุทั้งหลายจึงพากันเป็นผู้ทรงธุดงค์ เข้าไปเฝ้าพระ-
ศาสดา เมื่อพระศาสดาเสด็จออกจากที่เร้น ก็พากันทิ้งผ้าบังสกุลไว้
ในที่นั้นๆ ถือเอาไปเฉพาะบาตรและจีวรของตนเท่านั้น. พระศาสดา

เสด็จเที่ยวจาริกไปยังเสนาสนะพร้อมด้วยภิกษุมากด้วยกัน ทอดพระ-
เนตรเห็นผ้าบังสุกุลตกเรี่ยราดอยู่ในที่นั้นๆ จึงตรัสถาม ได้ทรงสดับ
ความนั้นแล้ว จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การสมาทานวัตรของ
ภิกษุเหล่านี้ เป็นของไม่ตั้งอยู่ยั่งยืน ได้เป็นเช่นกับอุโบสถกรรมของ
นกยาง แล้วทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-


* ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันหมั่นเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันหมั่นเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันหมั่นเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันหมั่นเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันหมั่นเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
* ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งทำก็ยิ่งสำนิสำนาน ยิ่งให้ธรรมทาน นานวันเข้าก็ยิ่งรู้แจ้ง
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 19:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระ-
นครพาราณสี พระโพธิสัตว์ได้เป็นท้าวสักกเทวราช. ครั้งนั้น มี
นกยางตัวหนึ่งอยู่ที่หลังหินดาดใกล้ฝั่งแม่น้ำคงคา ต่อมา ห้วงน้ำใหญ่
ในแม่น้ำคงคาไหลมาจดรอบหินดาดนั้น นกยางจึงขึ้นไปนอนบนหลัง

หินดาด. ที่แสวงหาอาหารและทางที่จะไปแสวงหาอาหารของนกยาง
นั้นไม่มีเลย. แม้น้ำก็เปี่ยมอยู่นั่นเอง นกยางนั้นคิดว่า เราไม่มีที่
แสวงหาอาหาร และทางที่จะไปแสวงหาอาหาร ก็อุโบสถกรรมเป็น
ของประเสริฐกว่าการนอนของเราผู้ว่างงาน จึงอธิษฐานอุโบสถด้วยใจ

เท่านั้น สมาทานศีล นอนอยู่. ในกาลนั้น ท้าวสักกเทวราชทรง
รำพึงอยู่ ทรงทราบการสมาทานอันทุรพลของนกยางนั้น ทรงพระ-
ดำริว่า เราจักทดลองนกยางนี้ จึงแปลงเป็นรูปแพะเสด็จมายืนแสดง
พระองค์ให้เห็นในที่ไม่ไกลนกยางนั้น. นกยางเห็นแพะนั้นแล้วคิดว่า

เราจักรู้การรักษาอุโบสถกรรมในวันอื่น จึงลุกขึ้นโผบินไปเพื่อ
จะเกาะแพะนั้น ฝ่ายแพะวิ่งไปทางโน้นทางนี้ ไม่ให้นกยางเกาะตน
ได้. นกยางเมื่อไม่อาจเกาะแพะได้ จึงกลับมานอนบนหลังหินดาดนั้น
นั่นแลอีกโดยคิดว่า อุโบสถกรรมของเรายังไม่แตกทำลายก่อน. ท้าว-

สักกเทวราชประทับยืนในอากาศด้วยอานุภาพของท้าวเธอ ทรงติเตียน
นกยางนั้นว่า ประโยชน์อะไรด้วยอุโบสถกรรมของคนผู้มีอัธยาศัยอัน
ทุรพลเช่นท่าน ท่านไม่รู้ว่าเราเป็นท้าวสักกะ จึงประสงค์จะกินเนื้อ
แพะ ครั้นทรงติเตียนแล้วก็เสด็จไปยังเทวโลกทันที.
มีอภิสัมพุทธคาถา แม้ ๓ คาถาว่า :-


* ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันหมั่นเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันหมั่นเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันหมั่นเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันหมั่นเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันหมั่นเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
* ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งทำก็ยิ่งสำนิสำนาน ยิ่งให้ธรรมทาน นานวันเข้าก็ยิ่งรู้แจ้ง
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 19:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
นกยางแหละมีเนื้อและเลือดเป็นอาหาร
เป็นอยู่ได้เพราะฆ่าสัตว์อื่น สมาทานเข้าจำ
อุโบสถกรรมนั้นแล้ว.

ท้าวสักกะทรงทราบวัตรของนกยางนั้น
แล้ว จึงจำแลงเป็นแพะมา นกยางนั้น
ปราศจากตบะ ต้องการดื่มกินเลือด จึงโผ
ไปจะกินแพะ ได้ทำลายตบะเสียแล้ว.

บุคคลบางคนในโลกนี้ก็ฉันนั้นเหมือน
กัน เป็นผู้มีวัตรอันเลวทรามในการสมาทาน
วัตร ย่อมทำตนให้เบา ดุนกยางทำลายตบะ
ของตน เพราะเหตุต้องการแพะฉะนั้น.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อุปปชฺชิ อุโปสถํ ได้แก่ เข้า
จำอุโบสถ. บทว่า วตญฺาย ความว่า ทรงทราบวัตรอันทุรพลของ
นกยางนั้น. บทว่า วีตตโป อชฺฌปฺปตฺโต ความว่า เป็นผู้ปราศจาก
ตบะบินเข้าไป อธิบายว่า โผแล่นไปเพื่อจะกินแพะนั้น. บทว่า
โลหิตโป แปลว่า ผู้ดื่มเลือดเป็นปกติ. บทว่า ตปํ ความว่า
นกยางทำลายตบะที่ตนสมาทานแล้วนั้น.

พระศาสดาครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุม
ชาดกว่า ท้าวสักกะในครั้งนั้น คือเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาพกชาดกที่ ๑๐
รวมชาดกที่มีในวรรคนี้ คือ
๑. ภัทรฆฏเภทกชาดก ๒. สุปัตตชาดก ๓. กายนิพ-
พินทชาดก ๔. ชัมพูขาทกชาดก ๕. อันตชาดก ๖. สมุทชาดก
๗. กามวิลาปชาดก ๘. อุทุมพรชาดก ๙. โกมาริยปุตตชาดก
๑๐. พกชาดก.
จบ กุมภวรรคที่ ๕
รวมวรรคที่มีในนิบาต คือ
๑. สังกัปปวรรค ๒. ปทุมวรรค ๓. อุทปานทูสกวรรค
๔. อัพภันตรวรรค ๕. กุมภวรรค.
จบ ติกนิบาต

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 19:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อรรถกถาจตุกกนิบาตชาดก
อรรถกถากาลิงควรรคที่ ๑
อรรถกถาจุลลกาลิงคชาดกที่ ๑


พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภ
การบรรพชาของปริพาชิกา ๔ คน จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำ
เริ่มต้นว่า วิวรถ อิมาสํ ทฺวารํ ดังนี้.

ได้ยินว่า ในนครเวสาลี มีกษัตริย์ลิจฉวี ๗ พัน ๗ ร้อย
๗ พระองค์ ประทับอยู่. กษัตริย์ลิจฉวีเหล่านั้น แม้ทั้งหมด ได้เป็น
ผู้มีพระดำริในการถามและการย้อนถาม. ครั้งนั้น นิครนถ์ผู้ฉลาด
ในวาทะ ๕๐๐ วาทะ คนหนึ่งมาถึงพระนครเวสาลี กษัตริย์ลิจฉวี

เหล่านั้นได้ทรงกระทำการสงเคราะห์นิครนถ์นั้น. นางนิครนถ์ผู้ฉลาด
เห็นปานกันแม้อีกคน ก็มาถึงพระนครเวสาลี. กษัตริย์ทั้งหลายจึง
ให้ชนทั้งสองแสดงวาทะ ( โต้ตอบกัน ). แม้ชนทั้งสองก็เป็นผู้ฉลาด
เช่นเดียวกัน. ลำดับนั้น กษัตริย์ลิจฉวีทั้งหลายได้มีพระดำริว่า บุตร

ที่เกิดขึ้นเพราะอาศัยคนทั้งสองนี้ จักเป็นผู้ฉลาดเฉียบแหลม. จึงให้
กระทำการวิวาหมงคลแก่ชนทั้งสองนั้น แล้วให้คนแม้ทั้งสองอยู่ร่วม
กัน. ต่อมา เพราะอาศัยการอยู่ร่วมกันของนิครนถ์ทั้งสองนั้น จึงเกิด
ทาริกา ๔ คนและทารก ๑ คน โดยลำดับ. บิดามารดาได้ตั้งชื่อนาง

ทาริกาทั้ง ๔ คนว่า นางสัจจา ๑ นางโสภา ๑ นางอธิวาทกา ๑
นางปฏิจฉรา ๑ ตั้งชื่อทารกว่า สัจจกะ คนแม้ทั้ง ๕ นั้นถึงความเป็น
ผู้รู้เดียงสาแล้ว พากันเรียนวาทะ ๑๐๐๐ วาทะ คือจากมารดา ๕๐๐ จาก
บิดา ๕๐๐. มารดาบิดาได้ให้โอวาทแก่นางทาริกาทั้ง ๔ อย่างนี้ว่า ถ้า


* ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันหมั่นเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันหมั่นเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันหมั่นเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันหมั่นเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันหมั่นเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
* ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งทำก็ยิ่งสำนิสำนาน ยิ่งให้ธรรมทาน นานวันเข้าก็ยิ่งรู้แจ้ง
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 20:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ใครๆ เป็นคฤหัสถ์ ทำลายวาทะของพวกเจ้าได้ พวกเจ้าพึงยอมเป็น
บาทบริจาริกาของเขา ถ้าเป็นบรรพชิตจักทำลายได้ ก็ควรบวชใน
สำนักของบรรพชิตนั้น. ในกาลต่อมา มารดาบิดาได้ทำกาลกิริยาตาย
ไป. เมื่อมารดาบิดาทำกาลกิริยาตายไปแล้ว นิครนถ์น้องชายคนสุดท้อง

สั่งสอนศิลปะแก่กษัตริย์ลิจฉวีอยู่ในนครเวสาลีนั้นนั่นเอง ส่วนพี่สาว
ทั้ง ๔ ถือกิ่งหว้าเที่ยวสัญจรจากนครนี้ไปนครนั้น เพื่อต้องการโต้
วาทะ จนถึงพระนครสาวัตถี จึงปักกิ่งหว้าไว้ใกล้ประตูพระนคร แล้ว
กล่าวแก่พวกเด็กๆ ว่า ผู้ใดจะเป็นคฤหัสถ์หรือบรรพชิตก็ตาม สามารถ

ยกสู้วาทะของพวกเราได้ ผู้นั้นจงเอาเท้าเกรี่ยกองฝุ่นนี้ให้
กระจายแล้วเหยียบกิ่งหว้าด้วยเท้านั่นแหละ แล้วพากันเข้าไปยังพระ-
นครเพื่อต้องการภิกษาหาร. ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรกวาดที่ซึ่งยังไม่
ได้กวาด ตักน้ำดื่มใส่หม้อเปล่า ปรนนิบัติภิกษุไข้ จึงเข้าไปบิณฑบาต

ในนครสาวัตถีเวลาสาย เห็นกิ่งหว้านั้น จึงถามได้ความแล้วให้พวก
เด็กนั่นแหละล้มกิ่งหว้าเหยียบเสีย แล้วกล่าวแก่พวกเด็กว่า พวกคน
ผู้วางกิ่งหว้านี้ไว้นั้น ทำภัตกิจกลับมาแล้ว จงพบเราที่ซุ้มประตูพระ-
วิหารเชตวัน สั่งแล้วก็เข้าไปยังพระนคร กระทำภัตกิจเสร็จแล้วได้

ยืนอยู่ที่ซุ้มพระวิหาร. ฝ่ายนางปริพาชิกาเหล่านั้นเที่ยวภิกษาแล้ว
กลับมา เห็นกิ่งหว้าถูกเหยียบย่ำจึงกล่าวว่า ใครเหยียบย่ำกิ่งหว้านี้
พวกเด็กว่า พระสารีบุตรเถระเหยียบ และพูดว่า ถ้าท่านทั้งหลาย
ต้องการโต้วาทะ จงไปยังซุ้มพระวิหาร จึงพากันกลับเข้าพระนครอีก ให้
มหาชนประชุมกันแล้วไปยังซุ้มพระวิหาร ถามวาทะหนึ่งพันกะพระ-


* ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันหมั่นเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันหมั่นเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันหมั่นเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันหมั่นเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันหมั่นเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
* ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งทำก็ยิ่งสำนิสำนาน ยิ่งให้ธรรมทาน นานวันเข้าก็ยิ่งรู้แจ้ง
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 20:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เถระ. พระเถระวิสัชนาแล้วถามว่า พวกท่านรู้อะไรๆ อย่างอื่นอีก
บ้าง ? นางปริพาชิกาเหล่านั้นกล่าวว่า ข้าแต่ท่านพวกข้าพเจ้าไม่รู้
อะไรอย่างอื่น. พระเถระจึงพูดว่า เราจะถามอะไรๆ กะพวกท่านบ้าง
นางปริพาชิกาเหล่านั้นจึงว่า ถามเถิดท่าน เพื่อพวกข้าพเจ้ารู้ จักกล่าว
แก้. พระเถระจึงถามว่า เอกํ นาม กึ อะไรชื่อว่าหนึ่ง ? นางปริพา-

ชิกาเหล่านั้นหาทราบไม่. พระเถระจึงวิสัชนาให้ฟัง. นางปริพาชิกา
เหล่านั้นจึงกล่าวว่า ข้าแต่ท่าน ความปราชัยเป็นของพวกข้าพเจ้า
ชัยชนะเป็นของท่าน. พระเถระจึงถามว่า บัดนี้ พวกท่านจักทำอย่างไร ?
นางปริพาชิกาทั้งสี่จึงตอบว่า มารดาบิดาของพวกข้าพเจ้าได้ให้โอวาท

นี้ไว้ว่า ถ้าคฤหัสถ์ทำลายวาทะของพวกเจ้าได้จงยอมเป็นปชาบดีของ
เขา ถ้าบรรพชิตทำลายได้ก็จงพากันบวชในสำนักของบรรพชิตนั้น
เพราะฉะนั้นท่านโปรดให้บรรพชาแก่พวกข้าพเจ้าเถิด. พระเถระ
กล่าวว่าดีแล้ว จึงให้นางบวชในสำนักของพระอุบลวรรณาเถรี ไม่

นานนัก ทั้งหมดก็ได้บรรลุพระอรหัต. อยู่มาวันหนึ่ง ภิกษุทั้งหลายนั่ง
ประชุมสนทนากันในโรงธรรมสภาว่า อาวุโสทั้งหลาย พระสารีบุตร
เถระเป็นที่พึ่งอาศัยของปริพาชิกาทั้งสี่ ให้ทุกนางบรรลุพระอรหัต.
พระศาสดาเสด็จมาแล้วตรัสถามว่า ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ พวกเธอนั่ง

สนทนากันด้วยเรื่องอะไร เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว
จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่บัดนี้เท่านั้น แม้ในกาลก่อน
สารีบุตรก็ได้เป็นที่พึ่งอาศัยของปริพาชิกาเหล่านี้ แต่ในบัดนี้ ได้ให้
บรรพชาภิเษก ในปางก่อน ได้ตั้งไว้ในตำแหน่งมเหสีของพระราชา
แล้วทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-


* ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันหมั่นเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันหมั่นเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันหมั่นเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันหมั่นเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันหมั่นเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
* ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งทำก็ยิ่งสำนิสำนาน ยิ่งให้ธรรมทาน นานวันเข้าก็ยิ่งรู้แจ้ง
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 20:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้ากาลิงคราชครองราชสมบัติอยู่ในพระ-
นครทันตปุระ แคว้นกาลิงครัฐ. พระราชาพระนามว่า อัสสกะ
ครองราชสมบัติในนครโปตละ แคว้นอัสสกรัฐ. พระเจ้ากาลิงคะทรง
สมบูรณ์ด้วยรี้พลและพาหนะ แม้พระองค์เองก็มีกำลังดังช้างสารไม่
เห็นผู้จะต่อยุทธ พระองค์เป็นผู้ประสงค์จะทรงกระทำการรบ จึงตรัส

บอกแก่อำมาตย์ทั้งหลายว่า เรามีความต้องการจะทำการรบ แต่ไม่
เห็นผู้จะต่อยุทธ เราจะกระทำอย่างไร. อำมาตย์ทั้งหลายจึงกราบทูลว่า
ข้าแต่มหาราช มีอุบายอยู่อย่างหนึ่ง พระราชธิดาทั้ง ๔ ของพระองค์
ทรงพระรูปโฉมอันอุดม พระองค์โปรดให้ประดับตกแต่งพระราชธิดา

เหล่านั้น แล้วให้นั่งในราชยานอันมิดชิด แวดล้อมด้วยรี้พล แล้ว
ให้เที่ยวไปยังคามนิคม และราชธานีทั้งหลาย โดยป่าวร้องว่า พระ-
ราชาพระองค์ใดจักมีพระประสงค์จะรับเอาไว้เพื่อตน พวกเราจักทำ
การรบกับพระราชาพระองค์นั้น. พระราชาจึงทรงให้กระทำอย่างนั้น.

ในสถานที่พระราชธิดาเหล่านั้นเสด็จไปแล้วๆ พระราชาทั้งหลายไม่
ยอมให้พระราชธิดาเหล่านั้นเข้าพระนคร เพราะความกลัวภัยพากัน
ส่งเครื่องบรรณาการออกไป แล้วให้ประดับอยู่เฉพาะภายนอกพระ-
นคร. พระราชธิดาเหล่านั้นเสด็จเที่ยวไปตลอดทั่วชมพูทวีปด้วย

อาการอย่างนี้ จนบรรลุถึงพระนครโปตละ แคว้นอัสสกรัฐ. ฝ่าย
พระเจ้าอัสสกะก็ทรงให้ปิดประตูพระนครแล้วทรงส่งเครื่องบรรณา-
การออกไปถวาย. อำมาตย์ของพระเจ้าอัสสกะนั้น ชื่อว่านันทเสนเป็น
บัณฑิตเฉลียวฉลาดในอุบาย. นันทเสนอำมาตย์นั้นคิดว่า ข่าวว่า พระ-

ราชธิดาของพระเจ้ากาลิงคราชเหล่านี้ เสด็จเที่ยวไปทั่วชมพูทวีปก็ไม่
ได้ผู้จะต่อยุทธ แม้เมื่อเป็นอย่างนี้ ชมพูทวีปก็ได้ชื่อว่าต่างจากนักรบ


* ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันหมั่นเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันหมั่นเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันหมั่นเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันหมั่นเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันหมั่นเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
* ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งทำก็ยิ่งสำนิสำนาน ยิ่งให้ธรรมทาน นานวันเข้าก็ยิ่งรู้แจ้ง
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 20:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เราจักรบกับพระเจ้ากาลิงคราช. นันทเสนอำมาตย์นั้นจึงไปยังประตู
พระนครเรียกคนรักษาประตูมา เพื่อจะให้เขาเปิดประตูแก่พระราช-
ธิดาเหล่านั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :-

ท่านทั้งหลายจงเปิดประตูถวาย เพื่อ
ให้พระราชธิดาเหล่านั้นเสด็จเข้าภายในพระ-
นคร ซึ่งพระนครนี้ข้าพเจ้าชื่อว่านันทเสน
ผู้เป็นอำมาตย์ดุจราชสีห์ของพระเจ้าอรุณราช
ผู้อันอาจารย์สั่งสอนไว้อย่างดีได้จัดการรักษา
ไว้ดีแล้ว.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อรุณราชสฺส ความว่า พระราชา
แม้พระองค์นั้น ในเวลาดำรงอยู่ในราชสมบัติ ทรงพระนามว่า อัสสกะ
ด้วยสามารถแห่งชื่อของแคว้นแต่พระนามว่า อรุณ เป็นนามที่ราช
ตระกูลประทานแก่พระราชานั้น. ด้วยเหตุนั้น นันทเสนอำมาตย์จึง

กล่าวว่า อรุณราชสฺส ดังนี้. บทว่า สีเหน แปลว่า ผู้เป็นบุรุษ
ดุจราชสีห์. บทว่า สุสิฏฺเ€น แปลว่า ผู้อันอาจารย์ทั้งหลายสั่งสอน
ดีแล้ว. บทว่า นนฺทเสเนน ความว่า อันเรา ผู้ชื่อว่านันทเสน.

ครั้นอำมาตย์นันทเสนนั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว จึงให้เปิดประตู
รับพระราชธิดาทั้ง ๔ นั้นไปถวายพระเจ้าอัสสกะ แล้วกราบทูลว่า
พระองค์อย่าทรงเกรงกลัวเลย เมื่อมีการรบกัน ข้าพระองค์จักรู้
( รับอาสา ) พระองค์โปรดทรงกระทำพระราชธิดาผู้ทรงพระรูปโฉมอัน
เลอเลิศเหล่านี้ให้เป็นพระอัครมเหสีเถิด แล้วให้ประทานอภิเษกแก่

พระราชธิดาเหล่านั้น แล้วส่งราชบุรุษผู้มากับพระราชธิดาเหล่านั้น
กลับไปด้วยพูดว่า ท่านทั้งหลายจงกราบทูลพระราชาของท่าน
หมายถึงข้อที่พระเจ้าอัสสกะราชทรงตั้งพระราชธิดาทั้ง ๔ ไว้ในตำ-


* ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันหมั่นเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันหมั่นเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันหมั่นเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันหมั่นเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันหมั่นเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
* ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งทำก็ยิ่งสำนิสำนาน ยิ่งให้ธรรมทาน นานวันเข้าก็ยิ่งรู้แจ้ง
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 20:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
แหน่งอัครมเหสี. ราชบุรุษเหล่านั้นไปกราบทูลให้ทรงทราบ. พระเจ้า
กาลิงคราช ทรงดำริว่า พระเจ้าอัสสกะนั้นชรอยจะไม่ทราบกำลังของ
เราแน่นอน จึงเสด็จออกด้วยกองทัพใหญ่ในขณะนั้นทันที. นันทเสน
อำมาตย์ทราบการเสด็จของพระเจ้ากาลิงคราช จึงส่งสาส์นไปว่า ขอ

พระเจ้ากาลิงคราชจงอยู่เฉพาะแต่ในรัฐสีมาของพระองค์ อย่าล่วงล้ำ
รัฐสีมาแห่งพระราชาของข้าพระองค์เข้ามา การสู้รบจักมีระหว่าง
แคว้นทั้งสอง. พระเจ้ากาลิงคราชทรงสดับสาส์นแล้วได้ทรงหยุด
กองทัพ ไว้เฉพาะปลายพระราชอาณาเขตของพระองค์ ฝ่ายพระ-
เจ้าอัสสกราชก็ได้ทรงหยุดกองทัพ เฉพาะปลายราชอาณาเขตของ
พระองค์เหมือนกัน.

ครั้งนั้น พระโพธิสัตว์บวชเป็นฤาษี อยู่ที่บรรณศาลาระหว่าง
อาณาเขต แห่งพระราชาทั้งสองนั้น. พระเจ้ากาลิงคราชทรงพระ-
ดำริว่า ธรรมดาสมณะทั้งหลายย่อมจะรู้อะไรๆ ดี ใครจะรู้ อะไรจักมี
ชัยชนะหรือความปราชัยจักมีแก่ใคร เราจักถามพระดาบสดู จึงเข้า

ไปหาพระโพธิสัตว์ด้วยเพศที่ใครๆ ไม่รู้จัก ไหว้แล้วนั่ง ณ ส่วน
ข้างหนึ่ง กระทำปฏิสันถารแล้วถามว่า ท่านผู้เจริญ พระเจ้ากาลิงคะ
กับพระเจ้าอัสสกะประสงค์จะรบกัน พากันตั้งทัพยันอยู่เฉพาะใน
รัฐสีมาของตนๆ ในพระราชาทั้งสองพระองค์นั้น ใครจักมีชัยชนะ

ใครจักปราชัยพ่ายแพ้. พระดาบสโพธิสัตว์กราบทูลว่า ท่านผู้มีบุญมาก
อาตมาภาพไม่ทราบว่า พระองค์โน้นชนะ พระองค์โน้นพ่ายแพ้ แต่
ท้าวสักกเทวราชเสด็จมาที่นี้ อาตมภาพถามท้าวสักกเทวราชนั้นแล้ว

จักบอกให้ทราบ. พรุ่งนี้ท่านมาฟังเอาเถิด. ท้าวสักกะเสด็จมาสู่ที่บำรุง
พระโพธิสัตว์แล้วประทับนั่ง. ทีนั้น พระโพธิสัตว์จึงทูลถามเนื้อความ
กะท้าวสักกเทวราช ท้าวเธอจึงตรัสทำนายว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ
พระเจ้ากาลิงคราชจักมีชัย พระเจ้าอัสสกะจักปราชัย อนึ่ง บุรพนิมิต
นี้จักปรากฎ. ในวันรุ่งขึ้น พระเจ้ากาลิงคราชเสด็จมาถาม แม้พระ-


* ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันหมั่นเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันหมั่นเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันหมั่นเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันหมั่นเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันหมั่นเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
* ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งทำก็ยิ่งสำนิสำนาน ยิ่งให้ธรรมทาน นานวันเข้าก็ยิ่งรู้แจ้ง
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 20:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
โพธิสัตว์ก็ทูลแก่พระเจ้ากาลิงคราชนั้น. พระเจ้ากาลิงคราชไม่ตรัส
ถามเลยว่า บุรพนิมิตชื่อไรจักปรากฎ ทรงหลีกลาไปด้วยพระทัยยินดี
ว่า ท่านว่าเราจักชนะ. เรื่องนั้นได้แพร่ไปแล้ว พระเจ้าอัสสกะได้ทรง
สดับเรื่องนั้นจึงรับสั่งให้เรียกอำมาตย์นันทเสนมา แล้วรับสั่งว่า เขา

ว่าพระเจ้ากาลิงคราชจักชนะ เราจักพ่ายแพ้ เราควรจะทำอย่างไรกัน.
นันทเสนอำมาตย์นั้นกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราช ใครจะทราบข้อนั้น
ได้ ชัยชนะหรือความปราชัยจักเป็นของใคร ขอพระองค์อย่าทรงคิด
ไปเลย ครั้นกราบทูลเอาพระทัยพระราชาแล้ว เข้าไปหาพระโพธิสัตว์

ไหว้แล้วนั่ง ณ ส่วนข้างหนึ่ง. ถามว่า ท่านผู้เจริญ ใครจักชนะ ใครจัก
แพ้. พระโพธิสัตว์กล่าวว่า พระเจ้ากาลิงคะจักชนะ พระเจ้าอัสสกะ
จักแพ้. อำมาตย์นันทเสนถามว่า ท่านผู้เจริญ บุรพนิมิตอะไรจักมี
แก่ผู้ชนะ บุรพนิมิตอะไรจักมีแก่ผู้แพ้. พระโพธิสัตว์กล่าวว่า ท่าน

ผู้มีบุญมาก อารักขเทวดาของผู้ชนะจักเป็นโคผู้ขาวปลอด อารักข-
เทวดาของผู้แพ้จักเป็นโคผู้ดำปลอด อารักขเทวดาแม้ของทั้งสองฝ่าย
รบกันแล้ว จักทำความมีชัยและปราชัยกัน. นันทเสนอำมาตย์ได้ฟัง
ดังนั้น จึงลุกขึ้นลาไป พาทหารใหญ่ประมาณพันคนผู้เป็นสหายของ

พระราชา ขึ้นไปยังภูเขาในที่ไม่ไกลนัก แล้วถามว่า ผู้เจริญทั้ง
หลาย พวกท่านจักอาจเพื่อถวายชีวิตแก่พระราชาของพวกเราได้หรือ
ไม่. ทหารใหญ่เหล่านั้นกล่าวว่า พวกเราจักสามารถถวายได้. นันท-
เสนอำมาตย์กล่าวว่า ถ้าอย่างนั้นพวกท่านจงโดดลงไปในเหวนี้. ทหาร

ใหญ่เหล่านั้นได้เตรียมจะโดดลงเหว. นันทเสนอำมาตย์จึงห้ามทหาร
ใหญ่เหล่านั้นแล้วกล่าวว่า อย่าโดดลงเหวนี้เลย ท่านทั้งหลายเป็นผู้มี
ขวัญดี ไม่ถอยหลัง ช่วยกันรบเพื่อถวายชีวิตแก่พระราชาของเรา


* ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันหมั่นเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันหมั่นเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันหมั่นเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันหมั่นเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันหมั่นเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
* ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งทำก็ยิ่งสำนิสำนาน ยิ่งให้ธรรมทาน นานวันเข้าก็ยิ่งรู้แจ้ง
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 20:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ทั้งหลายเถิด ทหารใหญ่เหล่านั้นรับคำแล้ว. ครั้นเมื่อสงครามประชิด
กัน พระเจ้ากาลิงคราชทรงวางพระทัยว่า นัยว่าเราจักชนะ แม้หมู่
พลนิกายของพระองค์ก็พากันวางใจว่า เขาว่าพวกเราจักมีชัยชนะ จึง
ไม่ทำการผูกสอด เป็นพรรคเป็นพวกพากันหลีกไปตามความชอบใจ
ในเวลาจะกระทำความเพียรพยายามก็ไม่ทำ. ฝ่ายพระราชาทั้งสอง

พระองค์เสด็จขึ้นทรงม้าเข้าไปหากันและกันด้วยหมายมั่นว่า จักต่อ
ยุทธ. อารักขเทวดาของพระราชาทั้งสองออกไปข้างหน้า อารักขเทวดา
ของพระเจ้ากาลิงคะเป็นโคผู้ขาวปลอด อารักขเทวดาของพระเจ้าอัสส-
กะ เป็นโคผู้ดำปลอด. โคผู้แม้เหล่านั้นแสดงอาการต่อสู้เข้าไปหากัน

และกัน ก็โคผู้เหล่านั้นย่อมปรากฎเฉพาะแก่พระราชาทั้งสอง
เท่านั้น ไม่ปรากฎแก่คนอื่น. อำมาตย์นันทเสนทูลถามพระเจ้าอัสสกะ
ว่า ข้าแต่มหาราช อารักขเทวดาปรากฎแก่พระองค์แล้วหรือยัง.
พระเจ้าอัสสกะตรัสว่า เออปรากฎ. นันทเสน ปรากฎโดยอาการ

อย่างไร. พระเจ้าอัสสกะ อารักขเทวดาของพระเจ้ากาลิงคะปรากฎ
เป็นโคผู้ขาวปลอด อารักขเทวดาของเราปรากฎเป็นโคผู้ดำปลอด.
นันทเสนอำมาตย์กราบทูลว่า ข้าแต่มหาราช พระองค์อย่าทรงเกรง

กลัวเลย พวกเราจักชนะ พระเจ้ากาลิงคะจักพ่ายแพ้ พระองค์จง
เสด็จลงจากหลังม้า ทรงถือพระแสงหอกนี้ เอาพระหัตถ์ซ้ายแตะด้าน
ท้องม้าสินธพที่ศึกษาดีแล้วรีบไปพร้อมกับบุรุษพันคนนี้ เอาหอก
ประหารอารักขเทวดาของพระเจ้ากาลิงคะให้ล้มลง ต่อแต่นั้น พวก

ข้าพระองค์ประมาณหนึ่งพัน จักประหารด้วยหอกพันเล่ม เมื่อทำ
อย่างนี้ อารักขเทวดาของพระเจ้ากาลิงคะจักฉิบหาย จากนั้น พระเจ้า
กาลิงคะจักพ่ายแพ้ พวกเราจักชนะ พระราชาทรงรับว่าได้ แล้วเสด็จ
ไปเอาหอกแทงตามสัญญาที่นันทเสนอำมาตย์ถวายไว้ ฝ่ายอำมาตย์

ทั้งหลายก็แทงด้วยหอกพันเล่ม. อารักขเทวดาของพระเจ้ากาลิงคะก็
ถึงแก่ความตาย ณ ที่นั้นนั่นเอง. ทันใดนั้น พระเจ้ากาลิงคะก็ทรง
พ่ายแพ้เสด็จหนีไป. อำมาตย์ทั้งหลายพันคนเห็นพระเจ้ากาลิงคะเสด็จ

หนีไปก็พากันโห่ร้องว่า พระเจ้ากาลิงคราชหนี. พระเจ้ากาลิงคะ
ทรงกลัวต่อมรณภัยเสด็จหนีไป เมื่อจะทรงด่าพระดาบสนั้น จึงกล่าว
คาถาที่ ๒ ว่า :-


* ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันหมั่นเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันหมั่นเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันหมั่นเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันหมั่นเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันหมั่นเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
* ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งทำก็ยิ่งสำนิสำนาน ยิ่งให้ธรรมทาน นานวันเข้าก็ยิ่งรู้แจ้ง
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 20:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
แน่ะดาบสโกง ท่านได้พูดไว้อย่างนี้
ว่า ชัยชนะจักมีแก่พวกพระเจ้ากาลิงคราชผู้
สามารถย่ำยีบุคคลที่ใครๆ ย่ำยีไม่ได้ ความ
ปราชัยไม่ชนะจักมีแก่พวกพระเจ้าอัสสกะ
ชนทั้งหลายผู้ซื่อตรงย่อมไม่พูดเท็จ.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อสยฺหสาหินํ ได้แก่ ผู้สามารถ
เพื่อย่ำยีบุคคลที่ใครๆ ย่ำยีไม่ได้ คือย่ำยีได้ยาก. บทว่า อิจฺเจวํ
เต ภาสิตํ ความว่า ดูก่อนดาบสโกง ท่านรับเอาค่าจ้างแล้วพูดอย่างนี้
กะพระราชาผู้พ่ายแพ้ว่า จักชนะและพูดกะพระราชาผู้ชนะว่าจักแพ้.
บทว่า น อุชุภูตา ความว่า ชนเหล่าใดเป็นผู้ซื่อตรงด้วยกาย วาจา
และใจ ชนเหล่านั้นย่อมไม่พูดเท็จอย่างนี้.

พระเจ้ากาลิงคราชนั้น เมื่อด่าพระดาบสอย่างนี้ แล้วก็เสด็จ
หนีไปยังพระนครของพระองค์ ไปอาจที่จะเหลียวมามองดู. แต่นั้น
เมื่อล่วงไป ๒-๓ วัน ท้าวสักกะได้เสด็จมายังที่บำรุงของพระดาบส.
พระดาบสเมื่อจะทูลกับท้าวเธอ จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ว่า :-

ข้าแต่ท้าวสักกะ เทวดาทั้งหลายยัง
ประพฤติล่วงมุสาวาทอีกหรือ พระองค์ควร
กระทำถ้อยคำให้จริงแท้แน่นอนมิใช่หรือ ข้า
แต่ท้าวมั่ฆวาฬผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน พระ-
องค์ทรงอาศัยเหตุอะไรหรือ จึงได้ตรัสมุสา.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ตนฺเต มุสา กาสิตํ ความว่า
คำใดพระองค์ตรัสไว้แก่อาตมภาพ คำนั้นพระองค์ทรงทำมุสาวาทอัน
หักรานประโยชน์ตรัสเท็จไว้ พระองค์ทรงอาศัยเหตุอะไรหรือจึง
ตรัสคำนั้นอย่างนั้น.
ท้าวสักกะทรงสดับดังนั้นจึงตรัสคาถาที่ ๔ ว่า :-


* ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันหมั่นเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันหมั่นเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันหมั่นเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันหมั่นเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันหมั่นเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
* ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งทำก็ยิ่งสำนิสำนาน ยิ่งให้ธรรมทาน นานวันเข้าก็ยิ่งรู้แจ้ง
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 20:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ดูก่อนพราหมณ์ เมื่อชนทั้งหลาย
พูดกันอยู่ ท่านก็เคยได้ยินแล้วมิใช่หรือว่า
เทวดาทั้งหลายย่อมเกียดกันความพยายาม
ของลูกผู้ชายไม่ได้ ความข่มใจ ความตั้งใจ
แน่วแน่ ความไม่แตกสามัคคีกัน ความไม่

แก่งแย่งกัน การรุกในกาลควรรุก ความ
เพียรมั่นคง และความบากบั่นของลูกผู้ชาย
( มีอยู่ในพวกพระเจ้าอัสสกะ ) เพราะเหตุนั้น
แหละ ชัยชนะจึงมีแก่พวกพระเจ้าอัสสกะ.

คาถาที่ ๔ นั้น มีอธิบายดังนี้ :- ดูก่อนท่านพราหมณ์ เมื่อ
เขาพูดกันอยู่ในที่นั้นๆ ท่านไม่เคยได้ยินคำนี้หรือว่า เทวดาทั้งหลาย
ย่อมไม่เกียดกันคือไม่ฤษยาความบากบั่นของลูกผู้ชาย ความข่มใจกล่าว
คือความทรมานตน เช่นการทำความเพียรพยายามของพระเจ้าอัสสกะ

ความมีใจไม่แตกแยกกันโดยมีความสามัคคีกัน ความมีใจตั้งมั่นไม่
แตกแยกกัน ความไม่แก่งแย่งกันในเวลาทำความเพียรแห่งพวกสหาย
ของพระเจ้าอัสสกะ ความไม่ย่อท้อ เหมือนพวกคนของพระเจ้ากาลิงคะ
แยกเป็นพวกๆ ย่นย่อฉะนั้น อนึ่ง ความเพียรพยายามและความ

บากบั่นแห่งลูกผู้ชาย ของคนผู้มีจิตใจแตกแยกกัน ได้เป็นคุณธรรม
อันมั่นคง เพราะความเป็นผู้มีความสมัครสมานกัน เพราะเหตุนั้น
นั่นแหละ ชัยชนะจึงได้มีแก่พวกพระเจ้าอัสสกะ.

ก็แหละเมื่อพระเจ้ากาลิงคราชหนีไปแล้ว พระเจ้าอัสสกราช
ให้กวาดต้อน ( เชลยและยุทธภัณฑ์ ) แล้วเสด็จไปยังพระนครของ
พระองค์. อำมาตย์นันทเสนส่งสาส์นไปถวายพระเจ้ากาลิงคราชว่า
พระองค์จงส่งส่วนทรัพย์มรดกไปถวายพระราชธิดาทั้ง ๔ พระองค์นี้

ถ้าไม่ทรงส่งไป พวกเราจักรู้กิจที่จะต้องทำในข้อนี้. พระเจ้ากาลิงคราช
ได้ทรงสดับข่าวสาสน์นั้นแล้ว ทั้งกลัวทั้งสะดุ้งหวาดเสียว จึงส่งพระ-
ราชทรัพย์มรดกที่พระราชธิดาเหล่านั้นจะพึงได้ไปประทาน. จำเดิมแต่
นั้นมา พระราชาทั้งสอง ก็อยู่อย่างสมัครสมานกัน

พระศาสดาครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้วจึงทรงประ-
ชุมชาดกว่า. พระราชธิดาของพระเจ้ากาลิงคราชในกาลนั้น ได้เป็น
ภิกษุณีสาวเหล่านี้ ในบัดนี้ อำมาตย์นันทเสนในครั้งนั้น ได้เป็น
พระสารีบุตรในบัดนี้ ส่วนดาบสในครั้งนั้น ได้เป็นเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาจตุกกนิบาตชาดกที่ ๑

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2018, 20:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อรรถกถามหาอัสสาโรหชาดกที่ ๒

พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภ
พระอานันทเถระ จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า อเทยฺ-
เยสุ ททํ ทานํ ดังนี้.

เรื่องปัจจุบันได้กล่าวไว้แล้วในหนหลังนั่นแล. แม้ในชาดกนี้
พระศาสดาตรัสว่า แม้โบราณกบัณฑิตทั้งหลายก็ได้กระทำแล้วด้วย
อำนาจอุปการะเกื้อหนุนแก่ตน แล้วทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก
ดังต่อไปนี้ :-

ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์ได้เป็นพระราชาในนครพาราณสี
ครองราชสมบัติโดยธรรม ให้ทาน รักษาศีล. พระเจ้าพาราณสีนั้น
ทรงพระดำริว่า จักทรงปราบชายแดนที่กำเริบให้สงบ จึงทรงแวดล้อม
ด้วยพลโยธาเสด็จไปปราบ ทรงพ่ายแพ้ จึงทรงขึ้นม้าเสด็จหนีไปถึง

ปัจจันตคามบ้านชายแดนแห่งหนึ่ง ชน ๓๐ คนผู้เป็นราชเสวกอยู่
ในบ้านปัจจันตคามนั้น คนเหล่านั้นประชุมกันที่ท่ามกลางบ้านแต่
เช้าตรู่กระทำกิจการในบ้าน. ขณะนั้น พระราชาเสด็จขึ้นทรงม้าที่
ฝึกแล้ว ทั้งพระองค์ทรงประดับและตกแต่งด้วยเครื่องออกศึก

เสด็จเข้าไปภายในบ้านทางประตูบ้าน. คนเหล่านั้นคิดว่า นี่อะไรกัน
จึงกลัวพากันหนีเข้าเรือนของตนๆ. ก็ในคนเหล่านั้น มีคนหนึ่งไม่
ไปบ้านตน ทำการต้อนรับพระราชาแล้วถามว่า ข้าพเจ้าได้ยินข่าวว่า
พระราชาเสด็จไปปัจจันตชนบท ท่านเป็นใคร เป็นราชบุรุษหรือ
จารบุรุษ. พระราชาตรัสว่า ดูก่อนสหาย เราเป็นราชบุรุษ. คนผู้


* ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันหมั่นเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันหมั่นเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันหมั่นเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันหมั่นเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันหมั่นเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันหมั่นเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันหมั่นเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
* ยิ่งให้ยิ่งได้ ยิ่งทำก็ยิ่งสำนิสำนาน ยิ่งให้ธรรมทาน นานวันเข้าก็ยิ่งรู้แจ้ง
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 83, 84, 85, 86, 87, 88, 89 ... 151  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร