วันเวลาปัจจุบัน 26 ก.ค. 2025, 09:13  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 75, 76, 77, 78, 79, 80, 81 ... 151  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 20:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ดวงพระเนตรอันสมบูรณ์ด้วยประสาทก็ทรงควักให้ได้ แม้ราชสมบัติ
ทั้งสิ้นก็ทรงมอบให้ได้ ในเรื่องช้างมงคลไม่จำต้องพูดถึงเลย ทูลขอ
แล้วจักทรงประทานให้แน่แท้. พระราชาตรัสว่า ใครจะสามารถไป
ขอช้างมงคลนั้น. อำมาตย์ทั้งหลายกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราช พวก
พราหมณ์ พระเจ้าข้า. พระราชารับสั่งให้เรียกพราหมณ์ ๘ คนมา

จากที่อยู่ของพราหมณ์แล้วทรงกระทำสักการะสัมมานะแล้วทรงส่งไป
เพื่อให้ขอช้างมงคล. พราหมณ์เหล่านั้นถือเอาเสบียงเดินทาง ปลอม
เพศเป็นคนเดินทาง รีบเดินทางไป โดยพักแรมอยู่ราตรีหนึ่งในที่
ทุกแห่ง บริโภคอาหารในโรงทานที่ประตูพระนคร บำรุงร่างกายให้

อิ่มหนำสิ้นเวลา ๒-๓ วันแล้วถามว่า เมื่อไรพระราชาจักเสด็จมา
โรงทาน? พวกมนุษย์บอกว่า พระราชาจะเสด็จมาในวัน ๑๔ ค่ำ
๑๕ ค่ำ และวัน ๘ ค่ำ ตลอด ๓ วันแห่งปักษ์หนึ่งๆ ก็พรุ่งนี้ เป็น
วันเพ็ญ ๑๕ ค่ำ เพราะฉะนั้น พระราชาจักเสด็จมาในวันพรุ่งนี้.
วันรุ่งขึ้น พวกพราหมณ์รีบไปแต่เช้าตรู่ ยืนอยู่ที่ประตูด้านทิศตะ-

วันออก. พระโพธิสัตว์ทรงสนานและลูบไล้พระวรกายแต่เช้าตรู่ ทรง
ประดับด้วยเครื่องอลังการทั้งปวง เสด็จขึ้นคอช้างมงคลหัตถีอันประดับ
แล้ว เสด็จไปยังโรงทานทางประตูด้านทิศตะวันออก ด้วยบริวารอัน
ยิ่งใหญ่ เสด็จลงจากคอช้างแล้วได้ประทานอาหารด้วยพระหัตถ์ของ

พระองค์ แก่ชน ๗-๘ คน แล้วรับสั่งว่า พวกท่านจงให้โดยทำนอง
นี้นะ แล้วได้เสด็จขึ้นช้างไปยังประตูด้านทิศใต้. พวกพราหมณ์ไม่


* ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 20:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ได้โอกาสที่ประตูด้านทิศตะวันออก เพราะมีการอารักขาแข็งแรง จึงได้
ไปยังประตูด้านทิศใต้เหมือนกัน ยืนอยู่ในที่สูงไม่ไกลเกินไปจากประตู
คอยดูพระราชาเสด็จมา พอพระราชาเสด็จมาประจวบเข้าก็ยกมือถวาย
ชัยมงคลว่า ขอพระมหาราชเจ้าจงทรงพระเจริญ จงมีชัยชำนะเถิด

พระเจ้าข้า. พระราชาทรงเอาพระแสงขอเพ็ชรเหนี่ยวช้างให้หันกลับ
เสด็จไปยังที่ใกล้พราหมณ์เหล่านั้น แล้วตรัสถามว่า พราหมณ์
ทั้งหลายผู้เจริญ ท่านทั้งหลายต้องการอะไร? พราหมณ์ทั้งหลายเมื่อ
จะพรรณนาคุณของพระโพธิสัตว์ จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :-

ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นใหญ่กว่าประชาชน
ข้าพระองค์ทั้งหลายได้ทราบศรัทธาและศีล
ของพระองค์แล้ว จึงขอรับพระราชทานเอา
ทองคำแลกกับช้างมีสีดังดอกอัญชัน นำไป
ในแว่นแคว้นกาลิงคราช.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สทฺธํ ได้แก่ ศรัทธาความเชื่อ
อันควรไว้ใจ ด้วยอำนาจการเชื่อกรรมและผลแห่งกรรม. บทว่า สีลํ
ได้แก่ สังวรศีล อวีติกกมศีล ศีลการไม่ล่วงละเมิด. ในสมัยใน
ประเทศนั้น เรียกทองว่า วณฺณํ. คำนั้นเป็นเพียงหัวข้อเทศนา

เท่านั้น. ก็ด้วยบทนี้ ท่านสงเคราะห์เอาเงิน ทอง ทรัพย์และธัญญา-
หาร แม้ทั้งหมด. บทว่า อญฺชนวณฺเณน ได้แก่ ด้วยช้างตัวประ-
เสริฐของพระองค์เชือกนี้ซึ่งมีเสมอด้วยช่อดอกอัญชัน. บทว่า กาลิงฺ-
คสฺมึ ได้แก่ ในสำนักของพระเจ้ากาลิงคราช. บทว่า วินิมฺหเส

ความว่า ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายขอถือเอาด้วยการแลก ถ้อยทีปฏิบัติ
ต่อกัน หรือใส่ไปในท้องด้วยการบริโภคเข้าไป. บทว่า เส เป็น
เพียงนิบาต. ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นใหญ่กว่า
ประชาชนด้วยว่า ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายได้ทราบศรัทธาและศีลของ
พระองค์แล้วคิดว่า พระราชาพระองค์นั้น ทรงสมบูรณ์ด้วยศรัทธา


* ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 20:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
และศีลอย่างนี้ จะทูลขอแล้ว จักพระราชทานช้างตัวประเสริฐมีสี
เหมือนดอกอัญชัน แก่พวกเราเป็นแน่ แล้วพูดกันว่า เราทั้งหลาย
จักนำช้างตัวประเสริฐไปในสำนักของพระเจ้ากาลิงคราช จึงเอาทรัพย์
และธัญญาหารเป็นอันมากแลกกับช้างซึ่งมีสีเหมือนดอกอัญชันเชือกนี้
เสมือนเป็นของๆ ตน คือใช้จ่ายทรัพย์และธัญญาหารเป็นอันมาก

และใส่ปากใส่ท้องเลี้ยงดูกัน. ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายเมื่อจะขอช้าง
นั้นอย่างนี้ จึงได้มาในที่นี้ขอพระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ
โปรดทรงทราบกิจที่จะพึงทรงกระทำในเรื่องช้างนั้น. อีกนัยหนึ่ง
ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายได้ทราบพระคุณ คือศรัทธาคุณและศีลคุณ
ของพระองค์จึงคิดกันว่า พระราชาผู้มีพระคุณอันยิ่งใหญ่ แม้แต่ชีวิต

ถูกขอแล้วก็จะประทานให้ จะป่วยกล่าวไปใยถึงช้างตัวประเสริฐอัน
เป็นสัตว์ดิรัจฉานเล่า จึงจะขอแลกคือเปรียบเทียบทองแก่พระองค์กับ
ช้างอันมีสีเหมือนดอกอัญชันนี้ ไปไว้ในสำนักของพระเจ้ากาลิงคราช
ด้วยประการอย่างนี้ ด้วยเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายจึงได้มาใน
ที่นี้.

พระโพธิสัตว์ได้ทรงสดับดังนั้น จึงทรงเล้าโลมให้เบาใจว่า
ดูก่อนพราหมณ์ทั้งหลาย หากท่านทั้งหลายใช้จ่ายทรัพย์ เพราะจะ
แลกเปลี่ยนช้างตัวประเสริฐเชือกนี้ เป็นการใช้จ่ายไปดีแล้ว อย่าได้
เสียใจเลย เราจักให้ช้างตัวประเสริฐตามที่ประดับแล้วทีเดียวแก่ท่าน
ทั้งหลาย แล้วได้กล่าวคาถา ๒ คาถานอกนี้ว่า :-


* ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 20:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
สัตว์ที่พึงเลี้ยงด้วยข้าวก็ดี ที่ไม่ได้เลี้ยง
ก็ดี ผู้ใดในโลกนี้ ตั้งใจมาหาเรา สัตว์
เหล่านั้นทั้งหมด เราก็มิได้ห้ามเลย นี้เป็น
ถ้อยคำของท่านบูรพาจารย์.

ดูก่อนพราหมณ์ทั้งหลาย เราจะให้ช้าง-
เชือกนี้ อันควรเป็นราชพาหนะ เป็นราช-
บริโภคพระราชาควรใช้สอย ประกอบไปด้วย
ยศ ประดับตกแต่งด้วยเครื่องประดับปก-
คลุมตะพองด้วยตาข่ายทอง พร้อม
ทั้งนายหัตถาจารย์แก่ท่านทั้งหลาย ขอพวก
ท่านจงไปตามปรารถนาเถิด.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อนฺนภจฺจา จ ภจฺจา จ ความว่า
ชื่อว่า ผู้ที่พึงเลี้ย งด้วยข้าว เพราะสัตว์ผู้เข้าไปอาศัยบุรุษเป็นอยู่ พึง
เลี้ยงด้วยข้าวมียาคูและภัตเป็นต้น. สัตว์นอกนี้ ชื่อว่าผู้ไม่พึงเลี้ยงดู
เพราะเป็นผู้ที่จะไม่ต้องเลี้ยงดูอย่างนั้น. ก็ในที่นี้ พึงทราบการลบ อ

อักษรด้วยการเชื่อมบท. ด้วยลำดับคำเพียงเท่านี้ ย่อมเป็นอันแสดง
สัตว์ทุกจำพวกเป็นสองพวก ด้วยการเข้าไปอาศัยตนเลี้ยงชีวิต กับที่
ไม่เข้าไปอาศัยตนเลี้ยงชีวิต. บทว่า โยธ อุทฺทิสฺส คจฺฉติ ความว่า
บรรดาสัตว์เหล่านั้น สัตว์ใดในชีวโลกนี้ ย่อมเจาะจงบุรุษใดมาด้วย
ความหวังอย่างใดอย่างหนึ่ง. บทว่า สพฺเพเต อปฺปฏิกฺขิปฺปา


* ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 20:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ความว่า แม้ถ้ามีสัตว์เป็นจำนวนมาก เจาะจงมาอย่างนั้น แม้ถึง
เช่นนั้น บุรุษนั้นก็ไม่ปฏิเสธสัตว์เหล่านั้นทั้งหมด อธิบายว่า จะพึง
ไม่ปฏิเสธอย่างนี้ว่า พวกท่านจงหลีกไป เราจักไม่ให้พวกท่าน. บทว่า
ปุพฺพาจริยวโจ อิทํ ความว่า มารดาบิดาเรียกว่าบุรพาจารย์ นี้เป็น
คำของบุรพาจารย์เหล่านั้น. ท่านแสดงว่า มารดาบิดาให้ข้าพเจ้า
สำเนียกมาอย่างนี้.

บทว่า ททามิ โว ความว่า เพราะนี้เป็นถ้อยคำของบุรพา-
จารย์ของเราทั้งหลาย เหตุนั้น ดูก่อนพราหมณ์ทั้งหลาย เราจะให้
ช้างตัวประเสริฐเชือกนี้แก่ท่านทั้งหลาย. บทว่า ราชารหํแปลว่า
สมควรแก่พระราชา. บทว่า ราชโภคํ แปลว่า เป็นเครื่องใช้สอย
ของพระราชา. บทว่า ยสสฺสินํ ได้แก่ เพียบพร้อมด้วยบริวาร.

อธิบายว่า คนห้าร้อยตะกูลมีหมอช้างเป็นต้น อาศัยช้างนั้นเลี้ยงชีวิต
เราจักให้ท่านทั้งหลาย พร้อมทั้งคนห้าร้อยตระกูลนั้น. บทว่า อลงฺกตํ
ความว่า ประดับประดาด้วยเครื่องประดับช้างชนิดต่าง ๆ. บทว่า
เหมชาลาภิฉนฺนํ แปลว่า ประดับด้วยตาข่ายทอง. บทว่า

สสารถี ความว่า เราจะให้แก่พวกท่าน พร้อมทั้งสารถี คืออาจารย์
ผู้ฝึกช้างนั้น เพราะฉะนั้น พวกท่านเป็นผู้พร้อมด้วยสารถี คือควาน
ช้าง พาเอาช้างนี้พร้อมทั้งบริวารไปตามความต้องการเถิด.

พระมหาสัตว์ประทับอยู่บนคอช้างตัวประเสริฐ ตรัสให้ด้วย
พระวาจาอย่างนี้แล้ว กลับเสด็จลงจากคอช้าง ทรงดำเนินเวียนขวา
ไป ๓ รอบ ทรงพิจารณาว่า หากที่ที่ยังไม่ได้ประดับตกแต่งยังมีอยู่
จักประดับตกแต่งก่อนแล้วจึงจะให้ ครั้นไม่ได้ทรงเห็นที่ที่ยังไม่ได้
ตกแต่งที่ช้างนั้น จึงทรงเอางวงของช้างนั้น วางบนมือของพราหมณ์

ทั้งหลาย แล้วได้เอาพระสุวรรณภิงคารพระเต้าน้ำทอง หลั่งน้ำอันอบ
ด้วยดอกไม้และของหอมแล้วพระราชทานไป. พราหมณ์ทั้งหลายรับ
ช้างพร้อมทั้งบริวาร แล้วนั่งบนหลังช้าง ได้ไปยังทันตปุรนครถวาย
ช้างแก่พระราชา. ช้างแม้มาแล้ว ฝนก็ยังไม่ตก. พระราชาจึงทรง
คาดคั้นถามว่า มีเหตุอะไรหนอ ได้ทรงสดับว่า พระเจ้าธนัญชัยโก-


* ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 20:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
รัพยราช ทรงรักษากุรุธรรม ด้วยเหตุนั้น ฝนจึงตกในแว่นแคว้น
ของพระองค์ ทุกกึ่งเดือน ทุก ๑๐ วัน เพราะอานุภาพแห่งคุณความ
ดีของพระราชาดอก ฝนจึงตก ก็สัตว์ดิรัจฉานนี้ แม้มีคุณอยู่ก็จะมี
สักเท่าไร จึงรับสั่งว่าถ้าอย่างนั้น ท่านทั้งหลายจงนำช้างตามที่ประดับ
แล้วนี้แล พร้อมทั้งบริวารคืนไปถวายแก่พระราชา แล้วจดกุรุธรรม

ที่พระองค์รักษาลงในแผ่นทองแล้วนำมา แล้วทรงส่งพวกพราหมณ์
และอำมาตย์ทั้งหลายไป. พราหมณ์และอำมาตย์เหล่านั้นไปมอบถวาย
แด่พระราชาแล้วกราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ เมื่อช้างนี้แม้ไปถึงแล้ว
ฝนก็ยังมิได้ตกในแว่นแคว้นของข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ได้ทราบ

เกล้าว่า พระองค์ทรงรักษากุรุธรรม พระราชาแม้ของข้าพระพุทธเจ้า
ทั้งหลาย ก็ทรงประสงค์จะรักษากุรุธรรมนั้น จึงทรงส่งมาด้วยรับสั่ง
ว่า จงจดใส่ในแผ่นทองนำมา ขอพระองค์จงประทานกุรุธรรมนั้น
แก่ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายเถิด พระเจ้าข้า. พระโพธิสัตว์ ตรัสว่า
ดูก่อนพ่อทั้งหลาย เรารักษากุรุธรรมนั้นจริง แต่บัดนี้ เรามีความ

รังเกียจในกุรุธรรมนั้นอยู่ กุรุธรรมนั้นไม่ทำจิตของเราให้ยินดี เพราะ
ฉะนั้น เราไม่อาจให้กุรุธรรมนั้นแก่ท่านทั้งหลาย. ถามว่า ก็เพราะ
เหตุไร ศีลนั้นจึงไม่ทำให้พระราชาทรงยินดี ? ตอบว่า นัยว่าในครั้งนั้น
พระราชาทั้งหลาย มีการมหรสพเดือน ๑๒ ทุกๆ ๓ ปี พระราชา
ทั้งหลาย เมื่อจะเล่นมหรสพนั้น ทรงประดับด้วยเครื่องอลังการทั้งปวง

ถือเอาเพศเป็นเทวดา ยืนอยู่ในสำนักของยักษ์ชื่อว่าจิตตราชแล้วยิงศร
อันวิจิตรประดับด้วยดอกไม้ในทิศทั้ง ๔. พระราชาแม้พระองค์นี้
เมื่อจะทรงเล่นมหรสพนั้น จึงประทับยืนในสำนักของจิตตราชยักษ์


* ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 20:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ใกล้แนวบึงแห่งหนึ่ง แล้วทรงยิงจิตตศรไปในทิศทั้ง ๔. บรรดาลูกศร
เหล่านั้น พระองค์ทรงเห็นลูกศร ๓ ลูกที่ยิงไปในทิศที่เหลือ แต่ไม่
เห็นลูกศรที่ยิงไปบนหลังพื้นน้ำ. พระราชาทรงรังเกียจว่า ลูกศรที่
เรายิงไป คงจะตกลงในตัวปลากระมังหนอ พระองค์ทรงปรารภถึง
ศีลเภท เพราะกรรมคือทำสัตว์มีชีวิตให้ตกล่วงไป. เพราะฉะนั้น ศีล

จึงไม่ทำพระราชาให้ยินดี. พระโพธิสัตว์นั้นจึงตรัสอย่างนี้ว่า ดูก่อน
พ่อทั้งหลาย เรามีความรังเกียจในกุรุธรรมอยู่. แต่พระมารดาของ
เรารักษาไว้ได้เป็นอย่างดี พวกท่านจงถือเอาในสำนักของพระมารดา
เราเถิด. ทูตทั้งหลายจึงกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า พระองค์ไม่มี
เจตนาว่าจักฆ่าสัตว์ เพราะเว้นเจตนานั้นจึงชื่อว่าไม่เป็นปาณาติบาต

ขอพระองค์จงให้กุรุธรรมที่ทรงรักษาแก่ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายเถิด.
พระโพธิสัตว์ตรัสว่า ถ้าอย่างนั้นจงเขียนเอาเถิดพ่อ แล้วให้จารึกลง
ในแผ่นสุพรรณบัฏว่า ปาโณ น หนฺตพฺโพ ไม่พึงฆ่าสัตว์ ๑ อทินฺนํ
นาทาตพฺพํ ไม่พึงถือสิ่งของที่เจ้าของมิได้ให้ ๑ กาเมสุมิจฺฉาจาโร
น จริตพฺโพ ไม่พึงประพฤติผิดในกามทั้งหลาย ๑ มุสาวาโท น

ภาสิตพฺโพ ไม่พึงกล่าวคำเท็จ ๑ มชฺชปานํ น ปาตพพํ ไม่พึง
ดื่มน้ำเมา ๑. ก็แลครั้นให้จารึกแล้วจึงตรัสว่า. แม้เป็นอย่างนี้ ศีลก็
ยังเราให้ยินดีไม่ได้ พวกท่านจงไปเฝ้าพระมารดาของเราเถิด.

ทูตทั้งหลายถวายบังคมพระราชาแล้วไปยังสำนักของพระมารดา
พระโพธิสัตว์กราบทูลว่า ข้าแต่พระเทวี ได้ยินว่าพระองค์ทรงรักษา
กุรุธรรม ขอพระองค์จงประทานกุรุธรรมนั้น แก่ข้าพระพุทธเจ้า
ทั้งหลาย. พระเทวีตรัสว่า ดูก่อนพ่อทั้งหลาย เรารักษากุรุธรรมก็จริง
แต่บัดนี้ เราเกิดความรังเกียจในกุรุธรรมนั้น กุรุธรรมนั้นไม่ทำเรา

ให้ยินดี เพราะเหตุนั้น เราจึงไม่อาจให้แก่ท่านทั้งหลาย. ได้ยินว่า
พระเทวีนั้นมีพระโอรส ๒ องค์ คือพระราชาผู้เป็นพระเชษฐา


* ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 21:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
และอุปราชผู้เป็นพระกนิษฐา. ครั้งนั้น มีพระราชาองค์หนึ่งทรงส่ง
แก่นจันทน์อันมีค่าแสนหนึ่ง และดอกไม้ทองมีค่าพันหนึ่งมาถวาย
พระโพธิสัตว์. พระองค์ทรงคิดว่าจักบูชาพระมารดา จึงทรงส่งของ
ทั้งหมดนั้นไปถวายพระราชมารดา. พระราชมารดาทรงพระดำริว่า
เราจะไม่ลูบไล้แก่นจันทน์ จะไม่ทัดทรงดอกไม้ จักให้แก่นจันทน์และ

ระเบียบดอกไม้นั้นแก่สะใภ้ทั้งสอง. ลำดับนั้น พระเทวีได้มีความดำริ
ดังนี้ว่า สะใภ้คนโตของเราเป็นใหญ่ ดำรงอยู่ในตำแหน่งอัครมเหสี
เราจักให้ระเบียบดอกไม้ทองแก่สะใภ้คนโต ส่วนสะใภ้คนเล็กเป็นคน
ยากจน เราจักให้แก่นจันทน์แก่สะใภ้คนเล็ก. พระนางจึงประทาน
ระเบียบดอกไม้ทองแก่พระเทวีของพระราชา ได้ประทานแก่นจันทน์

แก่พระมเหสีของพระอุปราช. ก็แหละครั้นประทานไปแล้วพระราช-
มารดาได้มีความรังเกียจว่า เรารักษากุรุธรรม ความที่หญิงสะใภ้
เหล่านั้น ยากจนหรือไม่ยากจน ไม่เป็นประมาณสำหรับเรา ก็การ
กระทำเชษฐาปจายิกกรรมเท่านั้นสมควรแก่เรา เพราะความที่เราไม่
ทำเชษฐาปจายิกกรรมนั้น ศีลของเราจะแตกทำลายบ้างไหมหนอ.

เพราะฉะนั้น พระราชมารดาจึงตรัสอย่างนั้น. ลำดับนั้น ทูตทั้งหลาย
จึงกราบทูลพระราชมารดาว่า ขึ้นชื่อว่าของของตนบุคคลย่อมให้ได้
ตามชอบใจ พระองค์ทรงกระทำความรังเกียจด้วยเหตุแม้มีประมาณ
เท่านี้ จักทรงกระทำกรรมอันลามกอย่างอื่นได้อย่างไร ธรรมดาศีล
ย่อมไม่แตกทำลายด้วยเหตุเห็นปานนี้ ขอพระองค์จงประทานกุรุธรรม

แก่ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายเถิด แล้วถือเอากุรุธรรมในสำนักของพระ-
ราชมารดา แม้นั้นจดจารึกลงในแผ่นสุพรรณบัฏ.


* ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 21:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ก็แหละพวกทูตอันพระราชมารดาตรัสว่า ดูก่อนพ่อทั้งหลาย
เมื่อเป็นอย่างนั้น กุรุธรรมก็ยังไม่ทำให้เรายินดีพอใจได้ แต่พระ-
สุณิสาของเรารักษากุรุธรรมนั้นได้เป็นอย่างดี ท่านทั้งหลายจงถือเอา
ในสำนักของพระสุณิสานั้นเถิด. จึงพากันไปเฝ้าพระอัครมเหสีทูลขอ
กุรุธรรมโดยนัยก่อนนั้นแหละ. ฝ่ายพระอัครมเหสีตรัสโดยนัยก่อน

เหมือนกันแล้วตรัสว่า ชื่อว่าศีลย่อมไม่ทำเราให้ยินดีพอใจ เพราะ
เหตุนั้น เราไม่อาจให้พวกท่าน. ได้ยินว่าพระอัครมเหสีนั้น วันหนึ่ง
ประทับยืนที่สีหบัญชร ได้ทอดพระเนตรเห็นพระมหาอุปราชประทับ
นั่งบนหลังช้างเบื้องหลังพระราชาผู้กำลังทรงประทักษิณเลียบพระนคร
บังเกิดความโลภอยากขึ้น ทรงพระดำริว่า ถ้าเราได้ทำความเชยชิดกับ

พระมหาอุปราชนี้ไซร้ เมื่อพระเชษฐาสวรรคตไป พระมหาอุปราช
นี้ดำรงอยู่ในราชสมบัติจะได้สงเคราะห์เรา. ลำดับนั้น พระอัคร-
มเหสีนั้นได้มีความรังเกียจว่า เรากำลังรักษากุรุธรรมอยู่ ทั้งเป็นผู้มี
พระสวามีอยู่ยังแลดูชายอื่นด้วยอำนาจกิเลส ศีลของเราคงจะต้องแตก
ทำลาย เพราะฉะนั้น พระอัครมเหสีจึงได้ตรัสอย่างนั้น. ลำดับนั้น

ทูตทั้งหลายจึงกราบทูลพระอัครมเหสีว่า ข้าแต่พระแม่เจ้า ธรรมดา
ว่าการประพฤติล่วงละเมิด ย่อมไม่มีด้วยเหตุเพียงจิตตุปบาทเกิดความ
คิดขึ้น พระองค์ทรงกระทำความรังเกียจแม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ จัก
ทรงกระทำความล่วงละเมิดอะไรได้ ศีลย่อมไม่แตกทำลายด้วยเหตุมี

ประมาณเท่านี้ ขอพระองค์จงประทานกุรุธรรมแก่ข้าพระพุทธเจ้า
ทั้งหลายเถิด. แล้วถือเอาในสำนักของพระอัครมเหสี แม้นั้นแล้วจด
จารึกลงในแผ่นสุพรรณบัฏ.

ก็แลทูตทั้งหลายผู้อันพระอัครมเหสีตรัสว่า ดูก่อนพ่อทั้งหลาย
แม้เมื่อเป็นอย่างนั้น ศีลก็ยังไม่ทำเราให้ยินดีพอใจ ก็เพราะมหา-
อุปราชทรงรักษาได้อย่างดี. พวกท่านจงถือเอาในสำนักของพระมหา-
อุปราชเถิด จึงพากันเข้าไปเฝ้าพระมหาอุปราช ทูลขอกุรุธรรมโดย

นัยก่อนนั่นแหละ. ก็พระมหาอุปราชนั้น เมื่อเสด็จไปยังที่บำรุงของ
พระราชาในเวลาเย็น เสด็จไปด้วยรถ ถึงพระลานหลวงแล้ว ถ้าทรง
พระประสงค์จะเสวยในสำนักของพระราชาแล้วทรงบรรทมค้างอยู่ใน
ที่นั้น ก็จะทรงทิ้งเชือกและปฏักไว้ระหว่างแอกรถ ด้วยสัญญาเครื่อง

หมายนั้น มหาชนบริวารจะกลับไปต่อเช้าตรู่วันรุ่งขึ้น จะไปยืนคอย
ดูพระมหาอุปราชนั้นเสด็จออก. ฝ่ายนายสารถีก็จะนำรถนั้นไป ต่อ
เช้าตรู่วันรุ่งขึ้น จึงจะนำรถมาจอดที่ประตูพระราชนิเวศน์. ถ้าทรงมี
พระประสงค์จะเสด็จในขณะนั้น จะทรงวางเชือกและปฏักไว้เฉพาะ
ภายในรถ แล้วเสด็จไปเฝ้าพระราชา ด้วยสัญญาณนั้น ชนบริวาร


* ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 21:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
จะยืนอยู่ที่ประตูพระราชนิเวศน์นั่นเอง ด้วยหมายใจว่า จักเสด็จออก
มาในขณะนี้. อันพระมหาอุปราชนั้น ทรงกระทำอย่างนั้น แล้วเสด็จ
เข้าไปยังพระราชนิเวศน์ เมื่อพระมหาอุปราชนั้น พอเสด็จเข้าไป
เท่านั้น ฝนก็ตก พระราชาตรัสว่า ฝนกำลังตก จึงไม่ให้พระมหา-
อุปราชนั้นเสด็จออกมา. พระมหาอุปราชจึงทรงเสวยแล้วบรรทมอยู่

ในพระราชนิเวศน์นั้นนั่นเอง. ชนบริวารคิดว่า ประเดี๋ยวจักเสด็จออก
จึงได้ยืนเปียกฝนอยู่ตลอดคืนยังรุ่ง. ในวันที่สอง พระมหาอุปราชจึง
เสด็จออกมา ทรงเห็นชนบริวารยืนเปียกฝนอยู่ ทรงเกิดความรังเกียจ
ว่าเราเมื่อรักษากุรุธรรมอยู่ ยังทำชนมีประมาณเท่านี้ให้ลำบาก ศีล

ของเราเห็นจะพึงแตกทำลาย. ด้วยเหตุนั้น พระมหาอุปราชจึงตรัสแก่
ทูตเหล่านั้นว่า เรารักษากุรุธรรมอยู่ก็จริง แต่บัดนี้ เรามีความรังเกียจ
อยู่ เพราะเหตุนั้น เราจึงไม่อาจให้แก่ท่านทั้งหลาย แล้วตรัสบอก
เรื่องราวนั้นให้ทราบ. ลำดับนั้น ทูตทั้งหลายจึงทูลพระมหาอุปราชว่า
ข้าแต่สมมติเทพ พระองค์มิได้มีความคิดว่า ชนเหล่านี้จงลำบาก

กรรมที่ทำโดยหาเจตนามิได้ ไม่จัดว่าเป็นกรรม เมื่อพระองค์ทรง
กระทำความรังเกียจแม้ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้ ความล่วงละเมิดจักมี
ได้อย่างไร แล้วรับเอาศีลในสำนักของพระมหาอุปราชแม้นั้น จดจารึก
ลงในแผ่นสุพรรณบัฏ.

ก็แหละ พวกทูตอันพระมหาอุปราชตรัสว่า แม้เมื่อเป็นอย่าง
นั้น ศีลก็มิได้ทำเราให้ปลื้มอกปลื้มใจได้ ก็ปุโรหิตย่อมรักษาได้ดี
พวกท่านจงถือเอาในสำนักของปุโรหิตนั้นเถิด จึงพากันเข้าไปหาปุโร-
หิตแล้วขอกุรุธรรม. ฝ่ายปุโรหิตนั้น วันหนึ่ง ไปเฝ้าพระราชา

ระหว่างทางได้เห็นรถมีสีอ่อนๆ งดงามเหมือนแสงอาทิตย์อ่อนๆ ซึ่ง
พระราชาองค์หนึ่งทรงส่งมาถวายพระราชานั้น จึงถามว่า นี้รถของใคร
ได้ฟังว่านำมาถวายพระราชา จึงคิดว่า เราก็แก่แล้ว ถ้าพระราชาจะ


* ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 21:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระราชทานรถคันนี้แก่เราไซร้ เราจักขึ้นรถคันนี้เที่ยวไปอย่างสบาย
แล้วไปเฝ้าพระราชา. ในเวลาที่ปุโรหิตนั้นถวายพระพรชัยแล้วยืน
เฝ้าอยู่ ราชบุรุษต่างเมืองก็ทูลถวายรถแก่พระราชา. พระราชาทอด-
พระเนตรแล้วตรัสว่า รถของเราคันนี้งามเหลือเกิน พวกท่านจงให้
แก่อาจารย์ของเราเถิด. ปุโรหิตมิได้ปรารถนาจะรับพระราชทาน แม้

พระราชาจะตรัสอยู่บ่อยๆ ก็ไม่ปรารถนาจะรับพระราชทานเลย. ถาม
ว่า เพราะเหตุไร ? ตอบว่า เพราะนัยว่า ปุโรหิตนั้นได้มีความคิด
อย่างนี้ว่า เรารักษากุรุธรรมอยู่แท้ๆ ยังได้กระทำความโลภในสิ่งของ
ของคนอื่น ศีลของเราจะพึงแตกทำลายไปแล้ว. ปุโรหิตนั้นจึงบอก

เรื่องราวนั้นแล้วกล่าวว่า ดูก่อนพ่อทั้งหลาย เรามีความรังเกียจใน
กุรุธรรมอยู่ กุรุธรรมนั้นมิได้ยังเราให้ปลื้มอกปลื้มใจเลย เพราะ
ฉะนั้น เราไม่อาจให้. ลำดับนั้น ทูตทั้งหลายจึงกล่าวกะปุโรหิตว่า
นาย ศีลย่อมไม่แตกทำลายด้วยเหตุเพียงเกิดความโลภอยากได้ ท่าน
เมื่อกระทำความรังเกียจ แม้ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้. จักกระทำความ
ล่วงละเมิดอะไรได้ แล้วรับเอาศีลในสำนักของปุโรหิตแม้นั้นจดลง
ในแผ่นสุพรรณบัฏ.

ก็แหละ ทูตทั้งหลายผู้อันท่านปุโรหิตกล่าวว่า แม้เมื่อเป็น
อย่างนั้น. กุรุธรรมก็ไม่ยังเราให้ยินดีพอใจได้ ก็อำมาตย์ผู้ถือเชือก
รังวัดรักษาได้ดี พวกท่านจงรับเอาในสำนักของอำมาตย์นั้น จึงพากัน
เข้าไปหาอำมาตย์แม้นั้น แล้วขอกุรุธรรม. ฝ่ายอำมาตย์ผู้รังวัดนั้น

วันหนึ่ง เมื่อจะวัดเนื้อที่นาในชนบท จึงเอาเชือกผูกที่ไม้ ให้เจ้า
ของนาจับปลายข้างหนึ่ง ตนเองจับปลายข้างหนึ่ง. ไม้ที่ผูกปลายเชือก
ซึ่งอำมาตย์ถือไปจรดตรงกลางรูปูตัวหนึ่ง อำมาตย์นั้นคิดว่า ถ้าเราจัก
ปักไม้ลงในรูปู ปูภายในรูจักฉิบหาย ก็ถ้าเราจักปักล้ำไปข้างหน้า


* ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 21:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เนื้อที่ของหลวงก็จักขาด ถ้าเราจักปักร่นเข้ามา เนื้อที่ของกฏุมพีก็จัก
ขาด เราจะทำอย่างไรดีหนอ. ลำดับนั้น อำมาตย์ผู้นั้นได้มีความคิด
ดังนี้ว่า ปูควรจะมีในรู ถ้ามีจะต้องปรากฎ เราจะปักไม้นั้นตรงนี้
แหละ แล้วก็ปักท่อนไม้นั้นลงในรูปู ฝ่ายปูก็ส่งเสียงดังกริ๊ก ๆ.
ลำดับนั้น อำมาตย์นั้นได้มีความคิดดังนี้ว่า ท่อนไม้จักปักลงบนหลังปู

ปูก็จักตายและเราก็รักษากุรุธรรม เพราะเหตุนั้น ศีลของเราคงจะ
แตกทำลาย. อำมาตย์นั้นจึงบอกเรื่องราวนั้นแก่ทูตทั้งหลายแล้วกล่าว
ว่า เพราะเหตุการณ์ดังกล่าวมานี้ เราจึงมีความรังเกียจในกุรุธรรม
ด้วยเหตุนั้น เราจึงไม่อาจให้แก่พวกท่าน. ลำดับนั้น ทูตทั้งหลาย

จึงกล่าวกะอำมาตย์นั้นว่า ท่านไม่มีจิตคิดว่า ปูจงตาย กรรมที่ไม่มี
เจตนาความจงใจไม่ชื่อว่าเป็นกรรม ท่านกระทำความรังเกียจ แม้
ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้ จักกระทำความล่วงละเมิดอะไรได้ แล้วรับ
เอาศีลในสำนักของอำมาตย์ แม้นั้นแล้วจดจารึกลงในแผ่นสุพรรณบัฏ.

ก็แหละ อำมาตย์นั้นพูดว่า แม้เมื่อเป็นอย่างนี้ กุรุธรรมก็มิ
ได้ทำข้าพเจ้าให้ปลื้มใจ ก็นายสารถีรักษาได้อย่างดี ท่านทั้งหลายจง
รับเอาในสำนักของนายสารถีนั้นเถิด ทูตทั้งหลาย จึงเข้าไปหานาย
สารถี แม้นั้นแล้วขอกุรุธรรม. นายสารถีนั้น วันหนึ่ง นำเสด็จ

พระราชาไปยังราชอุทยานด้วยราชรถ พระราชาทรงเล่นในพระราช-
อุทยานนั้นตลอดวัน ในเวลาเย็น จึงเสด็จออกจากพระราชอุทยาน
เสด็จขึ้นทรงรถ. เมื่อราชรถนั้นยังไม่ทันถึงพระนคร เมฆฝนก็ตั้งขึ้น
ในเวลาที่พระอาทิตย์จะอัศดงคต เพราะกลัวว่าพระราชาจะเปียกฝน

นายสารถีจึงได้ให้สัญญาณด้วยปฏักแก่ม้าสินธพทั้งหลายๆ จึงควบไป
ด้วยความเร็ว ก็แหละตั้งแต่นั้นมา ม้าสินธพเหล่านั้น ขาไปยัง


* ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 21:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระราชอุทยานก็ดี ขามาจากพระราชอุทยานนั้นก็ดี พอถึงที่ตรงนั้น
ก็วิ่งควบไปด้วยความเร็ว. ถามว่า เพราะเหตุอะไร ? ตอบว่า เพราะ
นัยว่า ม้าสินธพเหล่านั้นได้มีความคิดดังนี้ว่า ในที่นี้ จะพึงมีภัย
เป็นแน่ ด้วยเหตุนั้น นายสารถีของพวกเราจึงได้ให้สัญญาณด้วย
ปฏักในคราวนั้น. แม้นายสารถีก็มีความคิดดังนี้ว่า ในเมื่อพระราชา

จะเปียกฝนหรือไม่เปียกฝนก็ตาม เราย่อมไม่มีโทษ แต่เราได้ให้
สัญญาปฏักแก่ม้าสินธพที่ฝึกหัดมาดีแล้ว ในสถานที่อันไม่ควร ด้วย
เหตุนั้น ม้าสินธพเหล่านี้ วิ่งควบทั้งไปและมา ลำบากอยู่จนเดี๋ยวนี้
และเราก็รักษากุรุธรรม ด้วยเหตุนั้น ศีลของเราคงจะแตกทำลายแล้ว.

นายสารถีนั้นจึงบอกเรื่องราวนั้นให้ทราบแล้วกล่าวว่า เพราะเหตุนี้
เราจึงมีความรังเกียจในกุรุธรรม เพราะฉะนั้น เราไม่อาจให้แก่พวก
ท่านได้. ลำดับนั้น ทูตทั้งหลายจึงกล่าวกะนายสารถีนั้นว่า ท่านไม่
มีจิตคิดว่า ม้าสินธพทั้งหลายจงลำบาก กรรมที่ไม่มีเจตนาคือความ

จงใจ ไม่จัดว่าเป็นกรรม อนึ่ง ท่านกระทำความรังเกียจด้วยเหตุแม้
มีประมาณเท่านี้ จักกระทำความล่วงละเมิดได้อย่างไร จึงรับเอาศีล
ในสำนักของนายสารถีนั้นจดจารึกลงในแผ่นสุพรรณบัฏ.

ก็แหละ นายสารถีกล่าวว่า แม้เมื่อเป็นอย่างนั้นศีลก็มิได้ทำ
เราให้ปลื้มใจได้ แต่ท่านเศรษฐีรักษาได้ดี พวกท่านจงรับเอาในสำนัก
ของท่านเศรษฐีนั้นเถิด พวกทูตจึงเข้าไปหาท่านเศรษฐีนั้น แล้วขอ
กุรุธรรม แม้เศรษฐีนั้น วันหนึ่ง ไปนำข้าวสาลีของตน พิจารณา

รวงข้าวสาลีที่ออกจากท้อง เมื่อจะกลับ คิดว่าจักผูกรวงข้าวให้เป็นพุ่ม
ข้าวเปลือก จึงให้คนผูกรวงข้าวสาลีกำหนึ่ง ผูกเป็นจุกไว้. ลำดับนั้น


* ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 21:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ท่านเศรษฐีได้มีความคิดดังนี้ว่า เราจะต้องให้ค่าภาคหลวงจากนานี้
แต่เราก็ได้ให้คนถือเอารวงข้าวสาลีกำหนึ่ง จากอันนาที่ยังไม่ได้ให้ค่า
ภาคหลวง ก็เรารักษากุรุธรรม เพราะเหตุนั้น ศีลของเราคงจะแตก
ทำลายแล้ว. ท่านเศรษฐีนั้นจึงบอกเรื่องราวนั้นแก่ทูตทั้งหลายแล้ว

กล่าวว่า เรามีความรังเกียจในกุรุธรรมด้วยเหตุนี้ เพราะเหตุนั้น
เราไม่อาจให้กุรุธรรมแก่พวกท่าน. ลำดับนั้น ทูตทั้งหลายจึงกล่าวกะ
ท่านเศรษฐีว่า ท่านไม่มีไถยจิตคิดจะลัก เว้นจากไถยจิตนั้น ใครๆ.

ไม่อาจบัญญัติอทินนาทานได้ ก็ท่านกระทำความรังเกียจแม้ด้วยเหตุ
เพียงเท่านี้ จักถือเอาของของคนอื่นได้อย่างไร แล้วรับเอาศีลใน
สำนักของเศรษฐี แม้นั้นแล้วจารึกลงในแผ่นสุพรรณบัฏ.

ก็แหละ ทูตทั้งหลายอันท่านเศรษฐีกล่าวว่า แม้เมื่อเป็นอย่าง
นั้น ศีลก็ยังมิได้ทำให้เราปลื้มใจได้ แต่ท่านอำมาตย์ผู้ตวงข้าวหลวง
รักษาได้ดี พวกท่านจงถือเอาในสำนักของอำมาตย์ผู้ตวงข้าวนั้นเถิด
จึงพากันเข้าไปหาท่านอำมาตย์ผู้ตวงข้าวแล้วขอกุรุธรรม. ได้ยินว่า

อำมาตย์ผู้ตวงข้าวนั้น. วันหนึ่ง ให้คนนับข้าวเปลือกอันเป็นส่วนของ
หลวง ส่วนตนเอาข้าวเปลือกจากกองข้าวที่ยังไม่ได้นับใส่คะแนน.
ขณะนั้น ฝนตก มหาอำมาตย์จึงเพิ่มคะแนนข้าวเปลือก แล้วกล่าวว่า
ข้าวเปลือกที่นับแล้ว มีประมาณเท่านี้ แล้วโกยข้าวเปลือกที่เป็น


* ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 21:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
คะแนนใส่ลงในกองข้าวเปลือกที่นับแล้ว ก็รีบไปยืนที่ซุ้มประตูแล้ว
คิดว่า เราใส่ข้าวเปลือกคะแนนในกองข้าวที่นับแล้ว หรือใส่ในกอง
ข้าวที่ยังไม่ได้นับ. ลำดับนั้น ท่านมหาอำมาตย์ได้มีความคิดดังนี้ว่า
ถ้าเราใส่ในกองข้าวเปลือกที่นับไว้แล้ว ของหลวงก็จะเพิ่มขึ้นโดยมิใช่

เหตุ ของคฤหบดีทั้งหลายก็จะขาดไป และเราก็รักษากุรุธรรม ด้วย
เหตุนั้น ศีลของเราจะต้องแตกทำลายแล้ว. ท่านมหาอำมาตย์นั้นจึง
บอกเรื่องราวนั้นแล้วกล่าวว่า เรามีความรังเกียจในกุรุธรรม ด้วย
เหตุนี้เพราะเหตุนั้น เราไม่อาจให้แก่พวกท่าน. ลำดับนั้น ทูตทั้งหลาย
จึงกล่าวกะท่านมหาอำมาตย์นั้นว่า ท่านไม่มีไถยจิตคิดจะลัก เว้นไถย-

จิตนั้นเสียใครๆ ไม่อาจบัญญัติอทินนาทานได้ ก็ท่านกระทำความ
รังเกียจด้วยเหตุแม้มีประมาณเท่านี้ อย่างไรจักถือเอาสิ่งของของคนอื่น
แล้วรับเอาศีลในสำนักของมหาอำมาตย์ผู้ตวงข้าวนั้น จารึกลงในแผ่น
สุพรรณบัฏ.

ก็แหละ ทูตทั้งหลายผู้อันท่านมหาอำมาตย์กล่าวว่า แม้เมื่อ
เป็นอย่างนั้น ศีลก็มิได้ทำเราให้ปลื้มใจยินดีได้ แต่นายประตูรักษา
ได้ดี ท่านทั้งหลายจงถือเอาในสำนักของนายประตูนั้นเถิด จึงพากัน
เข้าไปหานายประตู แม้นั้นแล้วขอกุรุธรรม. ฝ่ายนายประตูนั้น

วันหนึ่ง เวลาจะปิดประตูเมือง ได้ออกเสียงประกาศขึ้น ๓ ครั้ง.
ครั้งนั้น มีคนเข็ญใจคนหนึ่ง เข้าป่าหาฟืนและหญ้ากับน้องสาว กำลัง
กลับมา ได้ยินเสียงนายประตูนั้นประกาศ จึงรีบพาน้องสาวมาทัน
พอดี. ลำดับนั้น นายประตูกล่าวกะคนเข็ญใจนั้นว่า ท่านไม่รู้ว่า
พระราชามีอยู่ในพระนครนี้หรือ ท่านไม่รู้หรือว่า เขาจะต้องปิดประตู


* ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้ไว
ความขยันเพียร ทำให้เรียนรู้ได้เก่ง
ความขยันเพียร ทำงานได้เก่ง
ความขยันเพียร นายจ้างก็รัก
ความขยันเพียร คนโดยส่วนมากรักใคร่พอใจปราถนา
ความขยันเพียร สร้างฝันให้เป็นจริง
ความขยันเพียร เปลี่ยนชีวิตให้ดีขึ้นได้
ความขยันเพียร มีเงินทองร้อยเล่มเกวียนก็ชื้อมิได้
ความขยันเพียร แบ่งปันกันมิได้(มีต่อ)http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?p=432566#p432566
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 75, 76, 77, 78, 79, 80, 81 ... 151  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร