วันเวลาปัจจุบัน 23 ก.ค. 2025, 04:32  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 73, 74, 75, 76, 77, 78, 79 ... 151  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ธ.ค. 2018, 19:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ในอดีตกาล ครั้งปฐมกัป มนุษย์ทั้งหลายประชุมกัน คัด
เลือกบุรุษคนหนึ่งผู้มีรูปงาม ถึงความเป็นผู้เลิศด้วยความงาม สมบูรณ์
ด้วยมารยาท บริบูรณ์ด้วยอาการทั้งปวง แต่งตั้งให้เป็นพระราชา.
ฝ่ายสัตว์ ๔ เท้าก็ประชุมกันตั้งราชสีห์ให้เป็นพระราชา. พวกปลาใน
มหาสมุทรก็ได้ตั้งปลาอานนท์ให้เป็นพระราชา. ลำดับนั้น หมู่นก

พากันประชุมที่หินดาดแห่งหนึ่ง ในหิมวันตประเทศ ปรึกษากันว่า
ในหมู่มนุษย์พระราชาก็ปรากฏ ในสัตว์ ๔ เท้าและปลาทั้งหลาย ก็
ปรากฏเหมือนอย่างนั้น แต่ในระหว่างพวกเรา พระราชายังไม่มี
ธรรมดาว่า การอยู่โดยไม่มีที่พึ่ง ย่อมไม่ควร แม้พวกเราก็ควรจะ
ได้พระราชา พวกเราจงกำหนดนกตัวหนึ่งผู้สมควรตั้งไว้ในตำแหน่ง

พระราชา. นกทั้งหลายพิจารณาหานกเช่นนั้น เห็นนกเค้าตัวหนึ่ง
ก็ชอบใจ จึงกล่าวว่า เราชอบใจนกตัวนี้. ลำดับนั้น นกตัวหนึ่งจึง
ประกาศขึ้น ๓ ครั้ง เพื่อต้องการหยั่งดูอัธยาศัยใจคอของนกทุกตัว.
เมื่อนกตัวนั้นร้องประกาศอยู่ ๒ ครั้ง ก็ยังสงบเงียบอยู่ ในเวลาจะ
ประกาศครั้งที่ ๓ กาตัวหนึ่งลุกขึ้นกล่าวว่า ก่อนอื่น ในเวลาอภิเษก

เป็นพระราชาครั้งนี้ หน้าของนกเค้าผู้ยังไม่โกรธ ยังเห็นปานนี้ก่อน
เมื่อเขาโกรธ หน้าจักเป็นเช่นไร ก็พวกเขาผู้ถูกนกเค้าตัวนี้โกรธ
แลดูแล้วจักแตกตื่นกันในที่นั้นทันที เหมือนเกลือที่ใส่ในกระเบื้อง
ร้อนฉะนั้น การตั้งนกเค้านี้ให้เป็นพระราชา ข้าพเจ้าหาพอใจไม่
เมื่อจะประกาศเนื้อความนี้จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :-

ได้ยินว่า พวกญาติทั้งปวงจะตั้งนก-
เค้าให้เป็นใหญ่ ถ้าพวกญาติอนุญาต ฉันจะ
ขอพูดสักคำหนึ่ง.

ความของคาถานั้นว่า ฉันได้ฟังการกล่าวประกาศ ซึ่งกำลัง
เป็นไปอยู่นั้น จึงขอกล่าว. ได้ยินว่าพวกญาติที่มาประชุมกันนี้ทั้งหมด
จะตั้งนกเค้าตัวนี้ให้เป็นพระราชา ก็ถ้าพวกญาติจะอนุญาตฉันไซร้
ฉันขอกล่าวอะไร ๆ สักคำหนึ่งที่จะพึงกล่าวในสมาคมนี้.


* พูดง่ายแต่ทำยาก พูดมากไม่ลงมือปฏิบัติก็ไม่เห็นผล
* พูดดี ไม่ทำตนให้ดี แล้วจะดีได้อย่างไร
* ศรัตรูที่น่ากลัวก็คือตัวกิเลสในจิตเรานี่เอง
* สังคมน่าอยู่ เพราะหมู่เรามีจิตเมตตา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน
* เมื่อให้ด้วยจิตบริสุทธิ์ ย่อมจะผุดสิ่งดีๆขึ้นมาเรื่อยๆ
* ลบขยะออกจากใจวันละนิด เพื่อจิตที่แจ่มใสและสงบยิ่งขึ้น
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ธ.ค. 2018, 19:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ลำดับนั้น นกทั้งหลายเมื่อจะอนุญาตกานั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๒
ว่า :-

ดูก่อนสหาย เราทั้งหมดอนุญาตให้
ท่านพูด แต่จงพูดแต่ถ้อยคำที่เป็นอรรถและ
ธรรมอย่างเดียว เพราะว่านกหนุ่ม ๆ ที่มี
ปัญญาและทรงญาณอันรุ่งเรือง ยังมีอยู่.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ภณ สมฺม อนุญฺาโต ความว่า
ดูก่อนกาผู้สหาย พวกเราอนุญาต ท่านจงพูดสิ่งที่ควรพูดเถิด. บทว่า
อตฺถํ ธมฺมญฺจ เกวลํ ความว่า ก็เมื่อท่านจะกล่าวจงกล่าวอย่า
ให้ละเลยเหตุ และคำอันมีมาตามประเพณีเสีย. บทว่า ปญฺวนฺโต
ชุตินฺธรา ความว่า พวกนกแม้หนุ่ม ๆ ที่สมบูรณ์ด้วยปัญญา และ
ทรงแสงสว่างแห่งญาณความรู้ยังมีอยู่เหมือนกัน.

กาตัวนั้นอันพวกนกอนุญาตอย่างนั้นแล้ว จึงกล่าวคาถาที่ ๓
ว่า :-
ขอความเจริญจงมีแก่ท่านทั้งหลาย
การแต่งตั้งนกเค้าให้เป็นใหญ่ ข้าพเจ้าไม่
ชอบใจ ท่านจงมองดูหน้าของนกเค้าผู้ไม่
โกรธเถิด นกเค้าโกรธแล้วจักทำหน้าตา
อย่างไร.
กาลนั้น ได้เป็นเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาอุลูกชาดกที่ ๑๐
รวมชาดกที่มีในวรรคนี้ คือ
๑. ปทุมชาดก ๒. มุทุปาณิชาดก ๓. จุลลปโลภนชาดก
๔. มหาปนาทชาดก ๕. ขุรัปปชาดก ๖. วาตัคคสินธวชาดก
๗. สุวรรณกักกฏกชาดก ๘. อารามทูสกชาดก ๙. สุชาตาชาดก
๑๐. อุลูกชาดก.
จบ ปทุมวรรคที่ ๒

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ธ.ค. 2018, 19:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อรรถกถาอุทปานทูสกวรรคที่ ๓
อรรถกถาอุทปานทูสกชาดกที่ ๑


พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ ป่าอิสิปนมฤคทายวัน ทรงปรารภ
สุนัขจิ้งจอกซึ่งทำลายบ่อน้ำตัวหนึ่ง จึงตรัสเรื่องนี้มีคำเริ่มต้นว่า
อารญฺกสฺส อิสิโน ดังนี้.

ได้ยินว่า สุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่งทำลายบ่อน้ำของภิกษุสงฆ์แล้ว
หลบหนีไป. ครั้นวันหนึ่ง. สามเณรทั้งหลายเอาก้อนดินปาสุนัข
จิ้งจอกตัวนั้นซึ่งมาใกล้บ่อน้ำให้ได้รับความลำบาก. จำเดิมแต่นั้น
สุนัขจิ้งจอกตัวนั้นแม้จะหวลกลับมายังที่นั้นอีกก็ไม่แลดู. ภิกษุ

ทั้งหลายทราบเหตุดังนั้น จึงนั่งสนทนากันในโรงธรรมสภาว่า ผู้มีอายุ
ทั้งหลาย ได้ยินว่า สุนัขจิ้งจอกตัวที่ทำลายบ่อน้ำ จำเดิมแต่พวก
สามเณรทำให้ลำบากแม้จะกลับมาอีกก็ไม่มองดู. พระศาสดาเสด็จมา
แล้วตรัสถามว่า ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ พวกเธอนั่งประชุมกันด้วย

เรื่องอะไร เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว จึงตรัสว่า
ภิกษุทั้งหลาย สุนัขจิ้งจอกตัวนี้ประทุษร้ายบ่อน้ำ ในบัดนี้เท่านั้น
ก็หามิได้ แม้ในกาลก่อนก็ได้เป็นผู้ประทุษร้ายบ่อน้ำเหมือนกัน แล้ว
ทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-

ในอดีตกาล ในเมืองพาราณสี ป่าอิสิปนะนี้แล ได้มีบ่อน้ำ
นี้แหละ. ในกาลนั้น พระโพธิสัตว์บังเกิดในเรือนของตระกูลในเมือง
พาราณสี พอเจริญวัยก็บวชเป็นฤาษี แวดล้อมด้วยหมู่ฤาษีสำเร็จการ
ในป่าอิสิปตนะ. ก็ในกาลนั้น สุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่งประทุษร้ายบ่อน้ำ


* พูดง่ายแต่ทำยาก พูดมากไม่ลงมือปฏิบัติก็ไม่เห็นผล
* พูดดี ไม่ทำตนให้ดี แล้วจะดีได้อย่างไร
* ศรัตรูที่น่ากลัวก็คือตัวกิเลสในจิตเรานี่เอง
* สังคมน่าอยู่ เพราะหมู่เรามีจิตเมตตา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน
* เมื่อให้ด้วยจิตบริสุทธิ์ ย่อมจะผุดสิ่งดีๆขึ้นมาเรื่อยๆ
* ลบขยะออกจากใจวันละนิด เพื่อจิตที่แจ่มใสและสงบยิ่งขึ้น
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ธ.ค. 2018, 19:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
นี้นั่นแหละแล้วหลบหนีไป. ครั้นวันหนึ่ง ดาบสทั้งหลายล้อมสุนัข
จิ้งจอกตัวนั้นไว้จับมันได้ด้วยอุบายอย่างหนึ่ง จึงนำไปยังสำนักของ
พระโพธิสัตว์. พระโพธิสัตว์เมื่อจะเจรจาปราศรัยกับสุนัขจิ้งจอกนั้น
จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :-

ดูก่อนสหาย ทำไมท่านจึงถ่ายมูตร
และคูถรดบ่อน้ำที่ทำโดยยากของฤาษีผู้อยู่
ป่า ผู้แสวงหาตบะอยู่ตลอดกาลนาน.

เนื้อความของคาถานั้นว่า ดูก่อนสุนัขจิ้งจอกผู้สหาย ทำไม
คือเพื่อประโยชน์อะไร ท่านจึงถ่ายคือถมทับ ประทุษร้ายด้วยมูตร
และกรีษ ซึ่งบ่อน้ำที่ทำได้โดยยาก คือที่ให้สำเร็จได้โดยยาก
ลำบากของท่านผู้ชื่อว่าอยู่ป่า เพราะความเป็นผู้อยู่ในป่าซึ่งได้นามว่า

ฤาษี เพราะความเป็นผู้แสวงหาคุณ ชื่อว่าผู้มีตบะ เพราะอาศัยตบะ
อยู่ตลอดกาลนาน อธิบายว่า ทำไม ท่านจึงถ่าย คือทำมูตรและกรีษ
ให้ตกลงไปในบ่อน้ำนี้.

สุนัขจิ้งจอกได้ฟังดังนั้นจึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :-
พวกเราดื่มกินน้ำ ณ ที่ใดแล้ว ย่อม
ถ่ายอุจจาระปัสสาวะลงในที่นั้น นั่นเป็น
ธรรมดาของสุนัขจิ้งจอกทั้งหลาย ทั้งเป็น
ธรรมดาของบิดามารดาและปู่ย่าตายาย ท่าน
ไม่ควรจะยกโทษธรรมดาอันนั้นของพวกเรา
เลย.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เอส ธมฺโม ได้แก่ นั่นเป็น
สภาวะ. ด้วย บทว่า ยํ ปิวิตฺวา โอหทามเส นี้ท่านแสดงความว่า
ดูก่อนสหาย พวกเราดื่มน้ำในที่ใดย่อมถ่ายอุจจาระรดบ้าง ปัสสาวะ
รดบ้าง เฉพาะที่นั้นเอง นี่เป็นธรรมดาของพวกเราผู้เป็นสุนัขจิ้งจอก.


* พูดง่ายแต่ทำยาก พูดมากไม่ลงมือปฏิบัติก็ไม่เห็นผล
* พูดดี ไม่ทำตนให้ดี แล้วจะดีได้อย่างไร
* ศรัตรูที่น่ากลัวก็คือตัวกิเลสในจิตเรานี่เอง
* สังคมน่าอยู่ เพราะหมู่เรามีจิตเมตตา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน
* เมื่อให้ด้วยจิตบริสุทธิ์ ย่อมจะผุดสิ่งดีๆขึ้นมาเรื่อยๆ
* ลบขยะออกจากใจวันละนิด เพื่อจิตที่แจ่มใสและสงบยิ่งขึ้น
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ธ.ค. 2018, 19:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
บทว่า ปิตุปิตามหํ ความว่า นี้เป็นธรรมดาของบิดามารดา และ
ของปู่ย่าตายายของเราทั้งหลาย. บทว่า น ตํ อุชฺฌาตุมรหสิ
ความว่า ท่านไม่ควรยกโทษธรรมดา คือสภาวะนั้น ซึ่งมีมา
โดยประเพณีของพวกเรา คือท่านไม่ควรโกรธในข้อนี้.

พระโพธิสัตว์จึงกล่าวคาถาที่ ๓ แก่สุนัขจิ้งจอกนั้นว่า :-
อาการเช่นนี้เป็นธรรมดาของพวก
ท่าน อนึ่ง อาการเช่นไรไม่เป็นธรรมดาของ
พวกท่าน ขอพวกเราอย่าได้เห็นธรรมดาหรือ
มิใช่ธรรมดาของพวกท่านในกาลไหนๆ อีก
เลย.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า มา โว ความว่า ในกาลไหนๆ
ขอให้พวกเราอย่าได้เห็นธรรมดาหรือมิใช่ธรรมดาของพวกท่านเลย.
พระมหาสัตว์ให้โอวาทแก่สุนัขจิ้งจอกนั้นอย่างนี้แล้วกล่าวว่า
เจ้าอย่ามาอีกต่อไป. จำเดิมแต่นั้น สุนัขจิ้งจอกนั้นแม้จะกลับมาอีก
ก็ไม่มองดู.

พระศาสดาครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว จึงทรง
ประกาศสัจจะทั้ง ๔ แล้วทรงประชุมชาดกว่า สุนัขจิ้งจอกตัวที่
ประทุษร้ายบ่อน้ำในกาลนั้น ได้เป็นสุนัขจิ้งจอกตัวนี้เอง ส่วนพระ
ดาบสผู้เป็นครูของคณะดาบสในครั้งนั้น คือเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาอุทปานทูสกชาดกที่ ๑

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ธ.ค. 2018, 19:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อรรถกถาพยัคฆชาดกที่ ๒

พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภ
โกกาลิกภิกษุ จึงตรัสเรื่องนี้ มีคำเริ่มต้นว่า เยน มิตฺเตน สํสคฺคา
ดังนี้. เรื่องพระโกกาลิกะจักมีแจ้งในตักการิยชาดก เตรสนิบาต.

ก็พระโกกาลิกะคิดว่า จักไปพาพระสารีบุตรและพระโมค-
คัลลานะมา จึงออกจากกาสิกรัฐไปยังพระวิหารเชตวัน ถวายบังคม
พระศาสดา แล้วเข้าไปหาพระเถระทั้งสอง แล้วกล่าวว่า ข้าแต่ท่าน
ผู้อาวุโส มนุษย์ชาวแว่นแคว้นเรียกหาท่านทั้งหลาย มาเถิดท่าน

เราทั้งหลายจะได้ไปด้วยกัน. พระเถระทั้งสองกล่าวว่า ไปเถอะคุณ
พวกเรายังจะไม่ไป. พระโกกาลิกะนั้นอันพระเถระทั้งสองปฏิเสธแล้ว
จึงได้ไปโดยลำพังตนเอง. ลำดับนั้น ภิกษุทั้งหลายนั่งสนทนากันใน
โรงธรรมสภาว่า ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย พระโกกาลิกะไม่อาจเป็นไปร่วม
หรือเว้นจากพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ แม้ร่วมก็อดกลั้นไม่

ได้ แม้พลัดพรากก็อดกลั้นไม่ได้. พระศาสดาเสด็จมาแล้วตรัสถามว่า
ภิกษุทั้งหลาย. บัดนี้พวกเธอนั่งประชุมกันด้วยเรื่องอะไรหนอ? เมื่อ
ภิกษุเหล่านั้นกราบทูลว่า ด้วยเรื่องชื่อนี้พระเจ้าข้า จึงตรัสว่า มิใช่
ในบัดนี้เท่านั้นดอกนะภิกษุทั้งหลาย แม้ในกาลก่อน พระโกกาลิกะนี้

ไม่อาจอยู่ร่วมหรือเว้นจากพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะได้แล้ว
ทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-


* พูดง่ายแต่ทำยาก พูดมากไม่ลงมือปฏิบัติก็ไม่เห็นผล
* พูดดี ไม่ทำตนให้ดี แล้วจะดีได้อย่างไร
* ศรัตรูที่น่ากลัวก็คือตัวกิเลสในจิตเรานี่เอง
* สังคมน่าอยู่ เพราะหมู่เรามีจิตเมตตา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน
* เมื่อให้ด้วยจิตบริสุทธิ์ ย่อมจะผุดสิ่งดีๆขึ้นมาเรื่อยๆ
* ลบขยะออกจากใจวันละนิด เพื่อจิตที่แจ่มใสและสงบยิ่งขึ้น
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ธ.ค. 2018, 19:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระ-
นครพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดเป็นรุกขเทวดาอยู่ในราวป่าแห่ง
หนึ่ง. ในที่ไม่ไกลวิมานของพระโพธิสัตว์นั้น มีรุกขเทวดาตนหนึ่ง
อยู่ในต้นไม้เจ้าป่าต้นหนึ่ง. สีหะและพยัคฆ์ก็อยู่ในไพรสณฑ์นั้น.

เพราะกลัวสีหะและพยัคฆ์ใคร ๆ จึงไม่ไถนา ไม่ตัดไม้ในไพรสณฑ์
นั้น. ชื่อว่าบุคคลผู้สามารถที่เหลียวกลับมาดู ย่อมไม่มี. ก็สีหะและ
พยัคฆ์เหล่านั้นฆ่าเนื้อทั้งหลาย แม้มีประการต่าง ๆ เคี้ยวกิน. ทิ้งสิ่ง
ที่เหลือจากการเคี้ยวกินไว้ในที่นั้นนั่นเองแล้วก็ไปเสีย. ไพรสณฑ์นั้น
จึงมีกลิ่นซากสัตว์อันไม่สะอาด เพราะกลิ่นของเนื้อเหล่านั้น. ลำดับนั้น

รุกขเทวดา นอกนี้เป็นผู้โง่เขลาไม่รู้จักเหตุและมิใช่เหตุ วันหนึ่งได้
กล่าวกะพระโพธิสัตว์ว่า ดูก่อนสหาย ไพรสณฑ์เกิดกลิ่นซากสัตว์
อันไม่สะอาดแก่พวกเรา เพราะอาศัยสีหะและพยัคฆ์เหล่านี้ เราจะ
ไล่สีหะและพยัคฆ์เหล่านี้ให้หนีไปเสีย. พระโพธิสัตว์กล่าวว่า ดูก่อน
สหาย เพราะอาศัยสีหะและพยัคฆ์ทั้งสองตัวนี้พวกเราจึงรักษาวิมาน

อยู่ได้ เมื่อสีหะและพยัคฆ์เหล่านี้หนีไปเสีย วิมานของพวกเราก็จัก
ฉิบหาย เพราะพวกมนุษย์เมื่อไม่เห็นรอยเท้าของสีหะและพยัคฆ์
ทั้งหลาย ก็จักตัดป่าทั้งหมดกระทำให้เป็นเนินลานเดียวกันแล้วไถนา
ท่านอย่าชอบใจอย่างนี้เลย แล้วกล่าวคาถา ๒ คาถาแรกว่า :-

ความเกษมจากโยคะย่อมเสื่อมไป
เพราะการคบหากับมิตรคนใด บุรุษผู้เป็น
บัณฑิตพึงรักษาลาภ ยศ และชีวิตของตนที่
มิตรนั้นครอบงำไว้เสียก่อน ดุจบุคคลผู้รักษา
ดวงตาของตนไว้ฉะนั้น.


* พูดง่ายแต่ทำยาก พูดมากไม่ลงมือปฏิบัติก็ไม่เห็นผล
* พูดดี ไม่ทำตนให้ดี แล้วจะดีได้อย่างไร
* ศรัตรูที่น่ากลัวก็คือตัวกิเลสในจิตเรานี่เอง
* สังคมน่าอยู่ เพราะหมู่เรามีจิตเมตตา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน
* เมื่อให้ด้วยจิตบริสุทธิ์ ย่อมจะผุดสิ่งดีๆขึ้นมาเรื่อยๆ
* ลบขยะออกจากใจวันละนิด เพื่อจิตที่แจ่มใสและสงบยิ่งขึ้น
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ธ.ค. 2018, 19:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ความเกษมจากโยคะย่อมเจริญ เพราะ
การคบหากับมิตรคนใด บุรุษผู้เป็นบัณฑิต
พึงกระทำความเป็นไปในกิจทั้งปวงของกัล-
ยาณมิตรนั้นให้เสมอเหมือนของตน.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เยน มิตฺเตน สํสคฺคา ได้แก่
เพราะเหตุแห่งการเกี่ยวข้อง คือเพราะการณ์แห่งการเกี่ยวข้องกับ
บาปมิตรใด อธิบายว่า เพราะกระทำความเกี่ยวข้อง ๕ ประการนี้ คือ
ทัสสนสังสัคคะ เกี่ยวข้องด้วยการเห็น สวนสังสัคคะ เกี่ยวข้องด้วย
การฟัง กายสังสัคคะ เกี่ยวข้องด้วยกาย สมุลลาปสังสัคคะ เกี่ยว

ข้องด้วยการเจรจา และปริโภคสังสัคคะ เกี่ยวข้องด้วยการบริโภค.
บทว่า โยคกฺเขโม ได้แก่ ความสุขทางกายและทางจิตใจ. จริงอยู่
ความสุขทางกายและทางจิตนั้น ท่านประสงค์เอาว่า โยคักเขมะความ
เกษมจากโยคะ ในที่นี้ เพราะเป็นความเกษมจากโยคะ คือทุกข์.
บทว่า วิหียติ แปลว่า ย่อมเสื่อม. บทว่า ปุพฺเพวชฺฌาภวนฺตสฺส

รกฺเข อกฺขึว ปณฺฑิโต ความว่า บุรุษผู้เป็นบัณฑิตพึงรักษาลาภ
ยศ และชีวิตของตนที่ปาปมิตรนั้นยึดครอง คือที่ปาปมิตรนั้นจะพึง
ครอบครองไว้เสียก่อน โดยอาการที่ปาปมิตรนั้นครอบครองลาภ ยศ
และชีวิตนั้นไม่ได้ ประดุจรักษานัยน์ตาทั้งสองของตนฉะนั้น. พึง
ทราบวินิจฉัยในคาถาที่ ๒ ดังต่อไปนี้ :- บทว่า เยน ได้แก่ เพราะ

เหตุ คือเพราะการณ์เกี่ยวข้องกับด้วยกัลยาณมิตรใด. บทว่า โยคกฺ-
เขโม ปวฑฺฒติ ความว่า ความสุขทางกายและจิตย่อมเจริญ บทว่า
กเรยฺยตฺตสมํ วุตฺตึ ความว่า บุรุษผู้เป็นบัณฑิตพึงกระทำกิจทั้งปวง
ทั้งพึงกระทำให้ยิ่งในกิจทั้งปวงของกัลยาณมิตรนั้น เหมือนกระทำการ
เลี้ยงชีวิตและการใช้เครื่องอุปโภคและเครื่องบริโภคของตน ฉะนั้น.


* พูดง่ายแต่ทำยาก พูดมากไม่ลงมือปฏิบัติก็ไม่เห็นผล
* พูดดี ไม่ทำตนให้ดี แล้วจะดีได้อย่างไร
* ศรัตรูที่น่ากลัวก็คือตัวกิเลสในจิตเรานี่เอง
* สังคมน่าอยู่ เพราะหมู่เรามีจิตเมตตา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน
* เมื่อให้ด้วยจิตบริสุทธิ์ ย่อมจะผุดสิ่งดีๆขึ้นมาเรื่อยๆ
* ลบขยะออกจากใจวันละนิด เพื่อจิตที่แจ่มใสและสงบยิ่งขึ้น
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 17:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เพราะฉะนั้น ผู้ที่ต้องการจะให้ตนเป็นที่รัก
ของมหาชน พึงเป็นผู้มีวาจาสละสลวย พูด
ด้วยความคิด ไม่ฟุ้งซ่าน ถ้อยคำของผู้ที่
แสดงอรรถและธรรม เป็นถ้อยคำไพเราะ.

คาถาเหล่านั้นมีเนื้อความดังต่อไปนี้ ข้าแต่พระมารดา สัตว์
เหล่านี้ประกอบด้วยสีกายมีสีเหมือนดอกประยงค์เป็นต้น ชื่อว่ามีเสียง
ไพเราะ เพราะเสียงเปล่งไพเราะ ชื่อว่าน่ารักน่าชม เพราะมีรูปร่าง
งดงาม แต่ชื่อว่าเป็นสัตว์มีวาจาหยาบ เพราะประกอบด้วยวาจาแข็ง
กระด้างอันเป็นไปด้วยการด่าและการบริภาษเป็นต้น จนชั้นที่สุดบิดา

มารดา จึงชื่อว่าไม่เป็นที่รักของใคร ๆ ในโลกนี้และในโลกหน้า
เหมือนนกต้อยตีวิดที่มีวาจากระด้างในระหว่างทางฉะนั้น ส่วนนก
ดุเหว่ามีปกติกล่าวอ่อนหวาน ประกอบด้วยวาจากลมเกลี้ยง ไพเราะ
ถึงจะมีรูปไม่งามก็เป็นที่รักใคร่ได้. ด้วยเหตุนั้น กระหม่อมฉัน จึง

ขอกล่าวกะพระองค์ว่า พระองค์เห็นมิใช่หรือ นกดุเหว่าตัวนี้ ดำ
มีสีไม่สวย ลายพร้อยด้วยเมล็ดงาดำ อันดำยิ่งกว่าแม้สีกาย แต่ถึง
นกดุเหว่านั้น แม้จะเป็นสัตว์มีสีกายไม่สวยงามอย่างนี้ ก็ยังเป็นที่รัก
ของสัตว์ทั้งหลายเป็นอันมาก เพราะมีวาจาอ่อนหวาน. ดังนั้น เพราะ
เหตุที่สัตว์ทั้งหลายมีวาจาแข็งกระด้าง ย่อมไม่เป็นที่รักแม้ของบิดา

มารดาในโลก ฉะนั้น บุคคลผู้ปรารถนาจะให้เป็นที่รักของชนเป็นอัน
มาก พึงเป็นผู้มีวาจาสละสลวย อ่อนหวาน กลมกล่อม ไพเราะ
นุ่มนวล. และชื่อว่ากล่าวด้วยความคิด เพราะกล่าวกำหนดด้วยความ
คิด กล่าวคือปัญญา ชื่อว่าไม่ฟุ้งซ่านเพ้อเจ้อ เพราะกล่าวถ้อยคำ
พอประมาณ เว้นความฟุ้งซ่านเพ้อเจ้อ. ก็บุคคลใดผู้เห็นปานนี้แสดง

อรรถและธรรม ถ้อยคำของบุคคลนั้น ชื่อว่าไพเราะอาศัยเหตุกล่าว
ไม่ทำคนอื่นให้โกรธเคือง.

พระโพธิสัตว์แสดงธรรมแก่พระมารดา ด้วยคาถา ๓ คาถา
เหล่านี้ ด้วยประการอย่างนี้ ทำให้พระมารดารู้สึกพระองค์ได้. จำเดิม
แต่นั้น พระมารดาได้เป็นผู้เพียบพร้อมด้วยพระมารยาท. ก็พระโพธิ-
สัตว์ทรงกระทำพระมารดาให้หมดพยศ ด้วยพระโอวาท เพียงโอวาท
เดียวเท่านั้น แล้วเสด็จไปตามยถากรรม.

พระศาสดาครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุม
ชาดกว่า พระมารดาของพระเจ้าพาราณสี ในครั้งนั้น ได้เป็นนาง
สุชาดาในบัดนี้ ส่วนพระราชาในครั้งนั้น ได้เป็นเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาสุชาตาชาดกที่ ๙

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 17:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภ
การทะเลาะของกาและนกเค้า จึงตรัสเรื่องนี้ มีคำเริ่มต้นว่า สพฺเพหิ
กิร ญาตีหิ ดังนี้.

ได้ยินว่า ในกาลครั้งนั้น กาทั้งหลายพากันกินนกเค้าทั้งหลาย
ในตอนกลางวัน ฝ่ายนกเค้าทั้งหลาย จำเดิมแต่พระอาทิตย์อัศดงคต
ก็พากันเฉี่ยวศีรษะของพวกกาที่นอนอยู่ในที่นั้นๆ ทำให้พวกกาเหล่า-
นั้นถึงความสิ้นชีวิตไป. ศีรษะกาแม้มากมาย เปื้อนเลือดประมาณ
๗-๘ ทนาน หล่นจากต้นไม้ ภิกษุรูปหนึ่งผู้อยู่ในบริเวณแห่งหนึ่ง

ท้ายพระวิหารเชตวัน ต้องเก็บทิ้งในเวลากวาด. ภิกษุนั้นจึงบอกเนื้อ
ความนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย. ภิกษุเหล่านั้นนั่งสนทนากันในโรงธรรม-
สภาว่า ดูก่อนผู้มีอายุทั้งหลาย ได้ยินว่า ในเวลาที่ภิกษุรูปโน้นกวาด
จะต้องทิ้งศีรษะกาทั้งหลายมีประมาณเท่านี้ทุกวันๆ พระศาสดาเสด็จ
มาแล้วตรัสถามว่า ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้พวกเธอนั่งประชุมกันด้วย

เรื่องอะไร? เมื่อภิกษุเหล่านั้นกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว จึงตรัสว่า
มิใช่ในบัดนี้เท่านั้นน่ะ ภิกษุทั้งหลาย แม้ในกาลก่อน กากับนกเค้า
ก็ได้กระทำการทะเลาะกันมาแล้ว. ภิกษุทั้งหลายทูลถามว่า ข้าแต่
พระองค์ผู้เจริญ กากับนกเค้าก่อเวรแก่กันและกันขึ้นในคราวไร
พระเจ้าข้า? พระศาสดาตรัสว่า จำเดิมแต่กาลอันเป็นปฐมกัปทีเดียว
แล้วทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-

ในอดีตกาล ครั้งปฐมกัป มนุษย์ทั้งหลายประชุมกัน คัด
เลือกบุรุษคนหนึ่งผู้มีรูปงาม ถึงความเป็นผู้เลิศด้วยความงาม สมบูรณ์
ด้วยมารยาท บริบูรณ์ด้วยอาการทั้งปวง แต่งตั้งให้เป็นพระราชา.
ฝ่ายสัตว์ ๔ เท้าก็ประชุมกันตั้งราชสีห์ให้เป็นพระราชา. พวกปลาใน

มหาสมุทรก็ได้ตั้งปลาอานนท์ให้เป็นพระราชา. ลำดับนั้น หมู่นก
พากันประชุมที่หินดาดแห่งหนึ่ง ในหิมวันตประเทศ ปรึกษากันว่า
ในหมู่มนุษย์พระราชาก็ปรากฏ ในสัตว์ ๔ เท้าและปลาทั้งหลาย ก็
ปรากฏเหมือนอย่างนั้น แต่ในระหว่างพวกเรา พระราชายังไม่มี
ธรรมดาว่า การอยู่โดยไม่มีที่พึ่ง ย่อมไม่ควร แม้พวกเราก็ควรจะ

ได้พระราชา พวกเราจงกำหนดนกตัวหนึ่งผู้สมควรตั้งไว้ในตำแหน่ง
พระราชา. นกทั้งหลายพิจารณาหานกเช่นนั้น เห็นนกเค้าตัวหนึ่ง


* พูดง่ายแต่ทำยาก พูดมากไม่ลงมือปฏิบัติก็ไม่เห็นผล
* พูดดี ไม่ทำตนให้ดี แล้วจะดีได้อย่างไร
* ศรัตรูที่น่ากลัวก็คือตัวกิเลสในจิตเรานี่เอง
* สังคมน่าอยู่ เพราะหมู่เรามีจิตเมตตา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน
* เมื่อให้ด้วยจิตบริสุทธิ์ ย่อมจะผุดสิ่งดีๆขึ้นมาเรื่อยๆ
* ลบขยะออกจากใจวันละนิด เพื่อจิตที่แจ่มใสและสงบยิ่งขึ้น
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 17:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ก็ชอบใจ จึงกล่าวว่า เราชอบใจนกตัวนี้. ลำดับนั้น นกตัวหนึ่งจึง
ประกาศขึ้น ๓ ครั้ง เพื่อต้องการหยั่งดูอัธยาศัยใจคอของนกทุกตัว.
เมื่อนกตัวนั้นร้องประกาศอยู่ ๒ ครั้ง ก็ยังสงบเงียบอยู่ ในเวลาจะ
ประกาศครั้งที่ ๓ กาตัวหนึ่งลุกขึ้นกล่าวว่า ก่อนอื่น ในเวลาอภิเษก
เป็นพระราชาครั้งนี้ หน้าของนกเค้าผู้ยังไม่โกรธ ยังเห็นปานนี้ก่อน

เมื่อเขาโกรธ หน้าจักเป็นเช่นไร ก็พวกเขาผู้ถูกนกเค้าตัวนี้โกรธ
แลดูแล้วจักแตกตื่นกันในที่นั้นทันที เหมือนเกลือที่ใส่ในกระเบื้อง
ร้อนฉะนั้น การตั้งนกเค้านี้ให้เป็นพระราชา ข้าพเจ้าหาพอใจไม่
เมื่อจะประกาศเนื้อความนี้จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :-

ได้ยินว่า พวกญาติทั้งปวงจะตั้งนก-
เค้าให้เป็นใหญ่ ถ้าพวกญาติอนุญาต ฉันจะ
ขอพูดสักคำหนึ่ง.

ความของคาถานั้นว่า ฉันได้ฟังการกล่าวประกาศ ซึ่งกำลัง
เป็นไปอยู่นั้น จึงขอกล่าว. ได้ยินว่าพวกญาติที่มาประชุมกันนี้ทั้งหมด
จะตั้งนกเค้าตัวนี้ให้เป็นพระราชา ก็ถ้าพวกญาติจะอนุญาตฉันไซร้
ฉันขอกล่าวอะไร ๆ สักคำหนึ่งที่จะพึงกล่าวในสมาคมนี้.
ลำดับนั้น นกทั้งหลายเมื่อจะอนุญาตกานั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๒
ว่า :-

ดูก่อนสหาย เราทั้งหมดอนุญาตให้
ท่านพูด แต่จงพูดแต่ถ้อยคำที่เป็นอรรถและ
ธรรมอย่างเดียว เพราะว่านกหนุ่ม ๆ ที่มี
ปัญญาและทรงญาณอันรุ่งเรือง ยังมีอยู่.


* พูดง่ายแต่ทำยาก พูดมากไม่ลงมือปฏิบัติก็ไม่เห็นผล
* พูดดี ไม่ทำตนให้ดี แล้วจะดีได้อย่างไร
* ศรัตรูที่น่ากลัวก็คือตัวกิเลสในจิตเรานี่เอง
* สังคมน่าอยู่ เพราะหมู่เรามีจิตเมตตา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน
* เมื่อให้ด้วยจิตบริสุทธิ์ ย่อมจะผุดสิ่งดีๆขึ้นมาเรื่อยๆ
* ลบขยะออกจากใจวันละนิด เพื่อจิตที่แจ่มใสและสงบยิ่งขึ้น
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 17:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ภณ สมฺม อนุญฺาโต ความว่า
ดูก่อนกาผู้สหาย พวกเราอนุญาต ท่านจงพูดสิ่งที่ควรพูดเถิด. บทว่า
อตฺถํ ธมฺมญฺจ เกวลํ ความว่า ก็เมื่อท่านจะกล่าวจงกล่าวอย่า
ให้ละเลยเหตุ และคำอันมีมาตามประเพณีเสีย. บทว่า ปญฺวนฺโต
ชุตินฺธรา ความว่า พวกนกแม้หนุ่ม ๆ ที่สมบูรณ์ด้วยปัญญา และ
ทรงแสงสว่างแห่งญาณความรู้ยังมีอยู่เหมือนกัน.
กาตัวนั้นอันพวกนกอนุญาตอย่างนั้นแล้ว จึงกล่าวคาถาที่ ๓
ว่า :-

ขอความเจริญจงมีแก่ท่านทั้งหลาย
การแต่งตั้งนกเค้าให้เป็นใหญ่ ข้าพเจ้าไม่
ชอบใจ ท่านจงมองดูหน้าของนกเค้าผู้ไม่
โกรธเถิด นกเค้าโกรธแล้วจักทำหน้าตา
อย่างไร.

เนื้อความของคาถานั้นนั้นว่า ขอความเจริญจงมีแก่ท่านทั้ง
หลาย การที่ท่านทั้งหลายทำการอภิเษกนกเค้าด้วยการประกาศ ๓
ครั้งนั้น ข้าพเจ้าไม่ชอบใจ ก็ท่านทั้งหลายจงมองดูหน้าของนกเค้านี้
ผู้ดีใจยังไม่โกรธขณะนี้ เราไม่รู้ว่า ก็นกเค้านี้โกรธแล้วจักกระ-
ทำหน้าอย่างไร การตั้งนกเค้าให้เป็นใหญ่นี้ ข้าพเจ้าจึงไม่ชอบโดย
ประการทั้งปวง.

กานั้นครั้นกล่าวอย่างนี้แล้วบินร้องไปในอากาศว่า ข้าพเจ้า
ไม่ชอบใจ ข้าพเจ้าไม่ชอบใจ. ฝ่ายนกเค้าก็บินขึ้นไล่ติดตามกานั้นไป.
ตั้งแต่นั้นมา กากับนกเค้าจึงได้ผูกเวรกันและกัน. นกทั้งหลายตั้ง
หงส์ทองให้เป็นพระราชา แล้วพากันหลีกไป.

พระศาสดาครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประกาศ
สัจจะแล้วทรงประชุมชาดก. ในเวลาจบสัจจะ คนเป็นอันมากได้เป็น
พระโสดาบันเป็นต้น. หังสโปดกผู้ได้รับอภิเษกให้เป็นพระราชาใน
กาลนั้น ได้เป็นเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาอุลูกชาดกที่ ๑๐
รวมชาดกที่มีในวรรคนี้ คือ
๑. ปทุมชาดก ๒. มุทุปาณิชาดก ๓. จุลลปโลภนชาดก
๔. มหาปนาทชาดก ๕. ขุรัปปชาดก ๖. วาตัคคสินธวชาดก
๗. สุวรรณกักกฏกชาดก ๘. อารามทูสกชาดก ๙. สุชาตาชาดก
๑๐. อุลูกชาดก.
จบ ปทุมวรรคที่ ๒

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 17:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อรรถกถาอุทปานทูสกวรรคที่ ๓
อรรถกถาอุทปานทูสกชาดกที่ ๑


พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ ป่าอิสิปนมฤคทายวัน ทรงปรารภ
สุนัขจิ้งจอกซึ่งทำลายบ่อน้ำตัวหนึ่ง จึงตรัสเรื่องนี้มีคำเริ่มต้นว่า
อารญฺกสฺส อิสิโน ดังนี้.

ได้ยินว่า สุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่งทำลายบ่อน้ำของภิกษุสงฆ์แล้ว
หลบหนีไป. ครั้นวันหนึ่ง. สามเณรทั้งหลายเอาก้อนดินปาสุนัข
จิ้งจอกตัวนั้นซึ่งมาใกล้บ่อน้ำให้ได้รับความลำบาก. จำเดิมแต่นั้น
สุนัขจิ้งจอกตัวนั้นแม้จะหวลกลับมายังที่นั้นอีกก็ไม่แลดู. ภิกษุ

ทั้งหลายทราบเหตุดังนั้น จึงนั่งสนทนากันในโรงธรรมสภาว่า ผู้มีอายุ
ทั้งหลาย ได้ยินว่า สุนัขจิ้งจอกตัวที่ทำลายบ่อน้ำ จำเดิมแต่พวก
สามเณรทำให้ลำบากแม้จะกลับมาอีกก็ไม่มองดู. พระศาสดาเสด็จมา
แล้วตรัสถามว่า ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ พวกเธอนั่งประชุมกันด้วย
เรื่องอะไร เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว จึงตรัสว่า

ภิกษุทั้งหลาย สุนัขจิ้งจอกตัวนี้ประทุษร้ายบ่อน้ำ ในบัดนี้เท่านั้น
ก็หามิได้ แม้ในกาลก่อนก็ได้เป็นผู้ประทุษร้ายบ่อน้ำเหมือนกัน แล้ว
ทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-

ในอดีตกาล ในเมืองพาราณสี ป่าอิสิปนะนี้แล ได้มีบ่อน้ำ
นี้แหละ. ในกาลนั้น พระโพธิสัตว์บังเกิดในเรือนของตระกูลในเมือง
พาราณสี พอเจริญวัยก็บวชเป็นฤาษี แวดล้อมด้วยหมู่ฤาษีสำเร็จการ
ในป่าอิสิปตนะ. ก็ในกาลนั้น สุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่งประทุษร้ายบ่อน้ำ

นี้นั่นแหละแล้วหลบหนีไป. ครั้นวันหนึ่ง ดาบสทั้งหลายล้อมสุนัข
จิ้งจอกตัวนั้นไว้จับมันได้ด้วยอุบายอย่างหนึ่ง จึงนำไปยังสำนักของ
พระโพธิสัตว์. พระโพธิสัตว์เมื่อจะเจรจาปราศรัยกับสุนัขจิ้งจอกนั้น
จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :-


* พูดง่ายแต่ทำยาก พูดมากไม่ลงมือปฏิบัติก็ไม่เห็นผล
* พูดดี ไม่ทำตนให้ดี แล้วจะดีได้อย่างไร
* ศรัตรูที่น่ากลัวก็คือตัวกิเลสในจิตเรานี่เอง
* สังคมน่าอยู่ เพราะหมู่เรามีจิตเมตตา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน
* เมื่อให้ด้วยจิตบริสุทธิ์ ย่อมจะผุดสิ่งดีๆขึ้นมาเรื่อยๆ
* ลบขยะออกจากใจวันละนิด เพื่อจิตที่แจ่มใสและสงบยิ่งขึ้น
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 17:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ดูก่อนสหาย ทำไมท่านจึงถ่ายมูตร
และคูถรดบ่อน้ำที่ทำโดยยากของฤาษีผู้อยู่
ป่า ผู้แสวงหาตบะอยู่ตลอดกาลนาน.

เนื้อความของคาถานั้นว่า ดูก่อนสุนัขจิ้งจอกผู้สหาย ทำไม
คือเพื่อประโยชน์อะไร ท่านจึงถ่ายคือถมทับ ประทุษร้ายด้วยมูตร
และกรีษ ซึ่งบ่อน้ำที่ทำได้โดยยาก คือที่ให้สำเร็จได้โดยยาก
ลำบากของท่านผู้ชื่อว่าอยู่ป่า เพราะความเป็นผู้อยู่ในป่าซึ่งได้นามว่า
ฤาษี เพราะความเป็นผู้แสวงหาคุณ ชื่อว่าผู้มีตบะ เพราะอาศัยตบะ
อยู่ตลอดกาลนาน อธิบายว่า ทำไม ท่านจึงถ่าย คือทำมูตรและกรีษ
ให้ตกลงไปในบ่อน้ำนี้.

สุนัขจิ้งจอกได้ฟังดังนั้นจึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :-
พวกเราดื่มกินน้ำ ณ ที่ใดแล้ว ย่อม
ถ่ายอุจจาระปัสสาวะลงในที่นั้น นั่นเป็น
ธรรมดาของสุนัขจิ้งจอกทั้งหลาย ทั้งเป็น
ธรรมดาของบิดามารดาและปู่ย่าตายาย ท่าน
ไม่ควรจะยกโทษธรรมดาอันนั้นของพวกเรา
เลย.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เอส ธมฺโม ได้แก่ นั่นเป็น
สภาวะ. ด้วย บทว่า ยํ ปิวิตฺวา โอหทามเส นี้ท่านแสดงความว่า
ดูก่อนสหาย พวกเราดื่มน้ำในที่ใดย่อมถ่ายอุจจาระรดบ้าง ปัสสาวะ
รดบ้าง เฉพาะที่นั้นเอง นี่เป็นธรรมดาของพวกเราผู้เป็นสุนัขจิ้งจอก.

บทว่า ปิตุปิตามหํ ความว่า นี้เป็นธรรมดาของบิดามารดา และ
ของปู่ย่าตายายของเราทั้งหลาย. บทว่า น ตํ อุชฺฌาตุมรหสิ
ความว่า ท่านไม่ควรยกโทษธรรมดา คือสภาวะนั้น ซึ่งมีมา
โดยประเพณีของพวกเรา คือท่านไม่ควรโกรธในข้อนี้.


* พูดง่ายแต่ทำยาก พูดมากไม่ลงมือปฏิบัติก็ไม่เห็นผล
* พูดดี ไม่ทำตนให้ดี แล้วจะดีได้อย่างไร
* ศรัตรูที่น่ากลัวก็คือตัวกิเลสในจิตเรานี่เอง
* สังคมน่าอยู่ เพราะหมู่เรามีจิตเมตตา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน
* เมื่อให้ด้วยจิตบริสุทธิ์ ย่อมจะผุดสิ่งดีๆขึ้นมาเรื่อยๆ
* ลบขยะออกจากใจวันละนิด เพื่อจิตที่แจ่มใสและสงบยิ่งขึ้น
* อยากในสิ่งที่ควร ควรทำในสิ่งที่เป็นกุศล ผลนั้นย่อมเป็นความสุขติดตามมา
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2018, 17:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระโพธิสัตว์จึงกล่าวคาถาที่ ๓ แก่สุนัขจิ้งจอกนั้นว่า :-
อาการเช่นนี้เป็นธรรมดาของพวก
ท่าน อนึ่ง อาการเช่นไรไม่เป็นธรรมดาของ
พวกท่าน ขอพวกเราอย่าได้เห็นธรรมดาหรือ
มิใช่ธรรมดาของพวกท่านในกาลไหนๆ อีก
เลย.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า มา โว ความว่า ในกาลไหนๆ
ขอให้พวกเราอย่าได้เห็นธรรมดาหรือมิใช่ธรรมดาของพวกท่านเลย.

พระมหาสัตว์ให้โอวาทแก่สุนัขจิ้งจอกนั้นอย่างนี้แล้วกล่าวว่า
เจ้าอย่ามาอีกต่อไป. จำเดิมแต่นั้น สุนัขจิ้งจอกนั้นแม้จะกลับมาอีก
ก็ไม่มองดู.

พระศาสดาครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว จึงทรง
ประกาศสัจจะทั้ง ๔ แล้วทรงประชุมชาดกว่า สุนัขจิ้งจอกตัวที่
ประทุษร้ายบ่อน้ำในกาลนั้น ได้เป็นสุนัขจิ้งจอกตัวนี้เอง ส่วนพระ
ดาบสผู้เป็นครูของคณะดาบสในครั้งนั้น คือเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาอุทปานทูสกชาดกที่ ๑

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 73, 74, 75, 76, 77, 78, 79 ... 151  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร


cron