วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 00:35  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านกรรมแห่งกรรมจากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=4



กลับไปยังกระทู้  [ 7 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 มิ.ย. 2009, 21:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกใหม่
สมาชิกใหม่
ลงทะเบียนเมื่อ: 28 มิ.ย. 2009, 20:04
โพสต์: 9

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


สามีของดิฉันเป้นหนี้บัตรเครดิตตั้งมากมาย
แต่สามีของดิฉันได้เสียชีวิตไปแล้ว
ดิฉันอยากทราบว่าสามีของดิฉันจะได้ชดใช้กรรมหรือผลกรรมนี้อย่างไร
และที่ไหน ดิฉันจะมีวิธีช่วยแก้กรรมนี้อย่างไรคะ
ขอบคุณมากคะ :b48:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 มิ.ย. 2009, 22:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ค. 2008, 14:14
โพสต์: 3836

อายุ: 12
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


ตอนมีชีวิตอยู่ การเป้นหนี้ จะทำให้กระวนกระวาย ไม่สงบสุข คงไม่ต้องอธิบายความรู้สึกนี้เนาะ คงจะทราบดีอยู่แล้ว

ความรู้สึกเหล่านี้แหละครับ คือการรับผลกรรมในคราวมีชีวิตอยู่
และถ้าความรู้สึกอันนี้มันมีแรงมากในตอนตาย และเป้นความรู้สึกสุดท้ายของจิต
มันก็จะทำให้ไปเกิดในภพภูมิที่ต่ำกว่ามนุษย์
เช่น
ต่ำรองจากมนุษย์ - สัตว์ต่างๆ (ดิรัจฉาน)
ต่ำลงไปอีกก็เป้น - เปรต
ต่ำลงไปอีกก็เป้น - อสุรกาย
ต่ำลงไปอีกเป็น - สัตว์นรก

แต่ที่พูดนี้ เป็นหลักการทั่วๆไปนะ คือพูดไปตามทฤษฏี
แต่กรณีของสามีคุณนี้ เราไปเดาๆเอาไม่ได้หรอก เราไม่สามารถจะไปรู้ได้ว่าตอนเขาตาย เขาตายด้วยจิตแบบไหน เขาอาจจะตายในจิตบุญก็ได้ คือแว๊บไปนึกถึงบุญที่ตัวเองทำมีความสุข ก็อาจจะไปเกิดเป้นเทวดา เป็นคน

ต้องพึ่งคนที่เขามีอภิญญาที่สามารถรู้กำเนิดสัตว์ได้ เช่นพระพุทธเจ้า
พระอรหันต์แล้วแต่คน ปุถุชนที่มีอภิญญาด้านนี้

ถ้าพระพุทธเจ้าท่านจะดุให้ได้ไม่จำกัดจำนวนชาตินะ ท่านรู้เลยว่าเคยเป้นอะไรมา แล้วจะไปเกิดเป็นอะไรในชาติไหน ท่านจะทราบหมดสิ้นเลย ไม่คลาดเคลื่อน

แต่ถ้าเป้นพระอรหันต์ผู้ที่มีอภิญญาด้านนี้ คือปุถุชนที่มีอภิญญาด้านนี้ ท่านจะมีขีดจำกัด คือดูไปได้ไม่ไกลมาก ดูย้อนไปก็ไม่ได้มาก แล้วมีโอกาสผิดๆถูกๆ


แต่โดยสรุปแล้ว คุณอย่าไปคิดเรื่องพวกนี้เลย
ถ้าถามว่าเราตัวเราเองเคยเกิดตายเป้นอะไรอะไรมาบ้างแล้ว มีทั้งหมดกี่ชาติ
พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า ถ้าเอาน้ำตาที่ไหลในแต่ละชาติมาเทรวมกัน มันจะมากเท่าน้ำในมหาสมุทรทั้ง 4
ท่านกล่าวสืบเนื่องกันอีกว่า เราทุกคนเคยเป็นญาติกันมาหมดแล้ว


อย่าไปยึดถือสามีมากนะ ต้องปล่อยๆไปบ้าง
คือเรายึดถือมาก เราจะเป็นเดือดเป้นร้อนแทนเขามาก ทั้งๆที่เขาไม่ใช่ของเรานะ
แต่เราคิดว่าเป้นของเรา เราเลยร้อนใจ

ยึดมากถือมากแล้วไม่สบายใจ ทั้งๆที่ทำอะไรไม่ได้มาก เสียใจโดยเปล่าประโยชน์ทั้งคนเป้นทั้งคนตาย

ถ้าไงทำทาน รักษาศีล แล้วอุทิศส่วนกุศลให้เขาดีกว่า
ถ้าเขาอยู่ในฐานะรับได้ เขาจะได้รับเอง
ถ้าเขาไม่อยู่ในฐานะรับได้ ผลก้ไม่เสียหายไปไหน ตกแก่ญาติของเราทั้งหมด
และผู้ทำเองก้จะได้ประโยชน์กับตัวเองอย่างแน่นอน
ทำทาน รักษาศีล ปฏิบัติธรรมนี่นะ
ได้ทั้งคนเป็น ได้ทั้งคนตาย ญาติทั้งหลายทั้งที่เป็นอยู่ ทั้งที่ล่วงไปแล้ว ได้รับผลบุญหมดทุกฝ่าย ไม่มีข้อเสียเลย

http://www.wimutti.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ก.ค. 2009, 19:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกใหม่
สมาชิกใหม่
ลงทะเบียนเมื่อ: 28 มิ.ย. 2009, 20:04
โพสต์: 9

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ขอบคุณคุณชาติสยามมากนะคะ
ที่ทำให้ดิฉันตาสว่างขึ้น ได้รู้อะไรเพิ่มขึ้น
ทุกวันนี้ดิฉันก็ไหว้พระสวดมนต์ทุกวัน แผ่เมตตาทุกวัน
แผ่ส่วนบุญส่วนกุศลทุกวัน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ก.ค. 2009, 19:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 19 ก.ค. 2008, 15:51
โพสต์: 334

งานอดิเรก: ชอบเรื่องพลังงาน
สิ่งที่ชื่นชอบ: มิลินทปัญหา
ชื่อเล่น: อมร
อายุ: 63
ที่อยู่: 138 หมู่ที่ 1 ต.โนนคูณ อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิ 36180

 ข้อมูลส่วนตัว www


[color=#4000คุณดอกบัวทอง ทำตามคุณชาติสยามนั้นแหละดีแล้ว

ขอเสริมนิดหน่อย ให้มีศีลทานไว้ เป็นปัจจัยน้ำมันเครื่อง ภาวนาเป็นน้ำมันหล่อเลี้ยง

ยนต์เครื่องจะแจ่มใส ทางไม่ใช้ใกล้ๆกว่าจะวิ่งถึงนิพพาน แสนกันดานอุปสรรต้องผ่า

พันเพม้าง ต้องคอยทนทำสร้างถางทางไว้ถ้าแหล่น ถ้าทางแปนรถกะบ่เหยียบไม้

ไปได้ไม่หว่งตอ (แปลเอาเด้อ)ฮิฮิฮิFF][/color]

.....................................................
ทำบุญตั้งแต่ยังมีชีวิตอยู่ ดีกว่าตายแล้วให้เขาทำบุญอุทิศหา รักษาศีลตั้งแต่ยังมีชีวิตอยู่ ดีกว่าตายแล้วให้เขาเคาะโลงลุกขึ่นมารักษาศีล เข้าวัดตั้งแต่ยังมีชีวิตอยู่ ดีกว่าตายแล้วให้เขาหามเข้าแล้วเผาเลย ฮิฮิฮิ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ก.ค. 2009, 20:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 28 ก.ค. 2006, 20:52
โพสต์: 1210

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ดอกบัวทอง เขียน:
สามีของดิฉันเป้นหนี้บัตรเครดิตตั้งมากมาย
แต่สามีของดิฉันได้เสียชีวิตไปแล้ว
ดิฉันอยากทราบว่าสามีของดิฉันจะได้ชดใช้กรรมหรือผลกรรมนี้อย่างไร
และที่ไหน ดิฉันจะมีวิธีช่วยแก้กรรมนี้อย่างไรคะ
ขอบคุณมากคะ :b48:

อืมมมม....ถ้าอยากทราบมากจริงๆ นั่งสมาธิค่ะไปเรียนกับครูบาอาจารย์เลยค่ะ....
เราจะได้ทราบด้วยตัวเราเอง......... ส่วนเรื่องแก้กรรมนี่...กรรมมีกฎของกรรม
แต่เราส่งบุญกุศลของเราไปหนุนกุศลกรรมของเขา
ให้บุญมีกำลังแรงพอส่งเขาไปสู่สุคติก่อน.....
ถ้าชอบสวดมนต์....แนะนำบทนี้ค่ะ
viewtopic.php?p=117967&thanks=117967&to_id=11364#p117967
(ดูที่อานิสงส์เน้นสีแดงๆ อ่ะค่ะ)
อานิสงส์การสร้างและสวด
ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก เป็นธรรมทาน
โบราณ..................................................................................................
..........................................................................................................
ถ้าผู้ใดจะสวดขออานุภาพให้ผู้ป่วยไข้อาการจะดีขึ้น จะสวดแผ่กุศลอุทิศไปให้ บิดา มารดา หรือครูบาอาจารย์ อุปัชฌาย์ ผู้มีพระคุณของท่านแล้ว ให้เขียน จิ เจ รุ นิ และชื่อท่านนั้น ๆ ใส่กระดาษก่อนสวดทุกครั้ง เมื่อสวดกี่จบครบตามที่เราต้องการแล้วให้นำกระดาษนั้นเผาไฟ และกรวดน้ำโดยคารวะ บอกชื่อฝากพระแม่ธรณีนำกุศลอันนี้ให้ท่านผู้นั้น ได้ตามความปรารถนาของเราทุกครั้ง

* ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บจากเจ้ากรรมนายเวร
* กิจการงานเจริญรุ่งเรือง อุดมด้วยโภคทรัพย์
* ผู้ใดอุทิศบุญกุศล อันเกิดจากการสร้าง ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้ให้ ปู่ย่า ตา ยาย บิดา มารดา ฯ บุตร - หลานที่อยู่เบื้องหลังมีความเจริญรุ่งเรือง
* บิดา มารดา จะมีอายุยืน
* สามีภรรยา รักใคร่ดีต่อกัน บุตรหลานเป็นคนดี
* ปฏิสนธิวิญญาณบุตร เกิดมาเฉลียวฉลาด ปัญญาดี เลี้ยงง่าย สุขภาพดี
* วิญญาณของบรรพบุรุษจะสู่สุคติภพ
* เสริมบุญบารมีให้ตนเอง
* แคล้วคลาดจากอันตรายต่าง ๆ
* เมื่อสิ้นอายุขัยจะไปสู่สุคติภูมิ

การปฏิบัติบูชามีผลานิสงส์มากกว่าการบูชาใด ๆ ค่ะ
สาธุ

.....................................................
สัพเพ สังขารา อนิจจา
สัพเพ ธรรมา อนัตตา...


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ก.ค. 2009, 21:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 19 ก.ค. 2008, 15:51
โพสต์: 334

งานอดิเรก: ชอบเรื่องพลังงาน
สิ่งที่ชื่นชอบ: มิลินทปัญหา
ชื่อเล่น: อมร
อายุ: 63
ที่อยู่: 138 หมู่ที่ 1 ต.โนนคูณ อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิ 36180

 ข้อมูลส่วนตัว www


นี้เลยท่านใดอยากทดสอบดูก็ได้ 7 วันเท่านั้นแหละจะเห็นผลทันตาเห็นเลย
เพราะได้เคยลองทดสอบมาแล้ว

พระมหาทิพย์มนต์
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (ว่าสามหน)
ชะยะ ชะยะ ปะฐะวีสัพพัง ชะยะ สัตถา ระหะตะปัง
ชะยะ ชะยะ ปัจเจกกะสัมพุทธัง ชะยะ อิสิมะเหสสุรัง
อินโท จะ เวนะเตยโย จะ กุเวโร วารุโณปิ จะ
อัคคิ วาโย ปะชุนโณ จะ กุเวโร จะตุโลกะปาละโก
ชะยะ ชะยะ หะโรหะรินเทวา ชะยะ พรหมมาธะตะรัฎฐะกัง
ชะยะ ชะยะ นาโค วิรุฬหะโก วิรูปักโข จันทิมาระวิ
อัฎฐาระสะ มะหาเทวา สิทธิตาปะสะอาทะโย
อะสีติ สาวะกา สัพเพ ชะยะลาภาภะวันตุ เต (สวดให้ตัวเองว่า เม)
ชะยะ ชะยะ ธัมโม จะ สัง จะ ทะสะ ปาโล จะ เชยยะกัง
เอเตนะ ชะยะ สิทธิเตเช นะ ชะยะโสตถี ภะวันตุ เต (สวดให้ตัวเองว่า เม)
อัฎฐาธิกะสะตัง ยัสสะ มังคะลัง จะระณัททะวะเย
จักกะลักขะณะสัมปันนัง นะเมตัง โลกะนายะกัง
อิมินา มังคะละเตเชนะ สัพพะสัตตะหิเตสิโน
เอเตนะ มังคะละเตเชนะ ชะยะโสตถี ภะวันตุ เต (สวดให้ตัวเองว่า เม)
เอเตนะ มังคะละเตเชนะ มะมัง รักขันตุ สัพพะทา
เอเตนะ มังคะลเตเชนะ สัพพะสิทธิ ภะวันตุ เต (สวดให้ตัวเองว่า เม)
เอเตนะ มังคะลเตเชนะ สัพพะสิทธิ ภะวันตุ เต (สวดให้ตัวเองว่า เม)
สัพพะสัตรู วิธังเสนตุ สัพพะโสตถี ภะวันตุ เต (สวดให้ตัวเองว่า เม)
อายันตุโภนโตอิธะทาสีลา เนกขัมมะปัญญาวิริยัญจะขันติ
สัจจาธิฎฐานา สะหะเมตตุเปกขา ยุทธายะโว คัณหะถะ อาวุธานิ
ปาระมิโย วิทิตตะวานะ โพธิสัตตัสสะ สันติกัง
เกสะระราชา วะ อาคัณฉุง โพธิสัตตัสสะ สันติกัง
มะยัง ปะระมิตา โยธา จะระเณนะ ตะยาภะตา
อัชชะ ทัสสามะ เต จีรัง ชะยะ ภัททัง นะมัตถุ เต (สวดให้ตัวเองว่า เม)
ชะยันโต โพธิยา มูเล สักกะยานัง นันทิวัฒฒะโณ
เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
พุทโธ จะ มัชฒิโม เสฎโฐ สารีบุตโต จะ ทักขิเณ
ปัจฉิเม ปิจะ อานันโท อุตตะเร โมคคัลลานะโก
โกณฑัญโญ ปูระภาเค จะ พายัพเพ จะ คะวัมปะติ
อุปาลี หะระติฎฐาเน อาคะเณยเย จะ กัสสะโป
ราหุโล เจวะ อิสาเณ สัพเพเต พุทธะมังคะลา
โย ญัตตะวา ปูชิโต โลเล นิททุกโข นิรูปัททะโว
มะหาเทโว มะหาเตโช ชะยะโสตถี ภะวันตุ เต (สวดให้ตัวเองว่า เม)
ปะทุมุตตะโร จะ ปุระพายัง อาคะเณยเย จะ เรวัตโต
ทักขิเณ กัสสะโป พุทโธ หะระติเย สุมังคะโล
ปัจฉิเม พุทธะสิขี จะ พายัพเพ จะ เมธังกะโล
อุตตะเร สากะยมุนี เจวะ อิสาเณ สะระณังกะโร
ปะฐะวียัง กะกุสันโธ อากาเส จะ ทีปังกะโร
เอเต ทะสะ ทิสา พุทธา ราชะธัมมัสสะ ปูชิตา
นัตถิ โรคะถะยัง โสกัง เขมัง สัมปัตติทายะกัง
ทุกขะโรคะภะยัง นัตถี สัพพะสัตตรู วิธังเสนตุ
เตสัญญาเณนะ สีเลนะ สังยะเม นะ ทะเม นะ จะ
เตปิ ตัง อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
อะนาคะตัสสะ พุทธัสสะ เมตเตยยัสะ ยัสสะสิโน
มะหาเทโว มะหาเตโช สัพพะโสตถี ภะวันตุ เต (สวดให้ตัวเองว่า เม)
นะโม เต พุทธะวีรัตถุ วิปปะมุตโตสิ สัพพะธิ
สัมพาธะปะฎิปันโนสะมิ ตัสสะ เม สะระณัง ภะวะ
ตะคาคะตัง อะระหันต์ตัง จินทิมา สะระณัง คะโต
ราหุ จันทัง ปะมุญจัสสุ พุทธา โลกานุกัมปะกา
กินนุ สัตตะระมาโน วะ ราหุ จันทัง ปะมุญจะสิ
สังวิคคะรูโป อาคัมมะ กินนุ ภีโต วะ ติฎฐะสีติ
สัตตะธา เม ผะเล มุททา ชีวันโต นะ สุขขัง ละเภ
พุทธะคาถาภีคิโตมหิ โน เจ มุญเจยยะ จันทิมันติ
นะโม เต พุทธะวีรัตถุ วิปปะมุตโตสิ สัพพะธิ
สัมพาธะปะฎิปันโนสะมิ ตัสสะ เม สะระณัง ภะวะ
ตะถาคะตัง อะระหันต์ตัง สุริโย สะระณัง คะโต
ราหุ สุริยัง ปะมุญจะสุ พุทธา ดลกานุกัมปะกา
โยอันธะกาเร ตะมะสีปะภังกะโร เวโรจะโนมัณฑะลิอุคคะเตโช
มา ราหุ คิลิ จะรังอันตะลิกเข ปะชัง มะมะ ราหุปะมุญจะสุริยันติ
กินนุ สัตตะระมาโนวะ ราหุ สุริยัง ปะมุญจะสิ
สังวิคคะรูโป อาคัมมะ กินนุ ภึโต วะ ติฎฐะสีติ
สัตตะธา เม ผะเล มุททา ชีวันโต นะ สุชังละเภ
พุทธะคาถา ภีคิโตมหิ โนเจ มุญเจยยะ สุริยันติ
นะโม พุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ เสยยะทิทัง หุลู
หุลู หุลู สะวาหายะ เหฎฐิมา จะ อุปะริมา จะ วิถาริกา จะ ติริยัญ จะ
สัพเพสัตตา สัพเพปานา สัพเพภูตา สัพเพปุคคะลา สัพเพอัตตะภาวะ
ปะริยาปันนา สัพพาอิตถิโย สัพเพปุริสา สัพเพอะริยา สัพเพอะนะริยา
สัพเพเทวา สัพเพมะนุสสา สัพเพวินิปาติกา สะจิตตะกา อะจิตตะกา
สะชีวิกา สัพเพอะเวราโหนตุ อัพพะยาปัชฌา โหนตุ อะนีฆา โหนตุ
ทีฑายุกา โหนตุ อะโรคา โหนตุ สัมปัตติ สะมิชฌันตุ สุขังอัตตานัง
ปะริหะรันตุ สัพเพมัง รักขันตุ จุปัตทะวา ฯ
ชะลัฏฐา วา ถะลัฐา วา อาสาโสปิ จะ อันตะลิเข
ปัพพะตัฏฐา สัมุททา จะ รักขันติ จะ ละตาสิโน
เตปิตัง อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
สุริยัง จันทะอังคารัง พุทธะพะฤ หัสสะปะติฏฐิตา
สุกะระโส ระราหูเกโส นะวัคคะระหา จะ สัพพะโส
เตสังพาเลนะ เตเสนะ อานุภาเวนะ เตน จะ
เตปิ ตัง อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
เจตะระวิสาขะเชฎเฐ จะ อาสาเธ สะวะเน ตะถา
ภัททะปาเท จะ อาสุชเช กัตติเก มิคะสิริเก
ปุสเส มาเฆ ผัคคุเณ จะ โลกังปาเลนติ ธัมมะตา
เอเต ทะวาทะสะ จะ มาเส อานุภาเวนะ มะหาภูตา
เตปิ ตัง อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
มูสิโก อุสะโภ พะยัคโฆ สะโส นาโค จะ สัปปะโก
อัสสา เมณโฑ กะปิ เจวะ กุกฎุโฎ สะวานะสุกะโร
เอเต ทะวาทะสะ นักขันตา โลกัง ปาเลนติ ธัมมะตา
เตปิ ตัง อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
อัสสะยุโช ภะระณี จะ กัตติกา โรหินีปิ จะ
มิคะสิรัญจะ อัทรัญ จะ ปุนัพเพสุ ปุสสาปิ จะ
อะกิเลโส จะ มาโฆ จะ ปุพพา จะ ผัคคุณี ตะถา
อุตตะระผัคคุณี เจวะ หัตถะจิตตา จะ สาติ จะ
วิสาขันลาธะเชฎฐะ มูละปุพพัตตะระสาฬะหะกา
เอกะวีสะติ นักขัตตา ปะภายันติ ทิเน ทิเน
เมสสะพะ ฤสะพะเมถุนา กะระกฏาสีหะกัญญะกา
ตุละพิจิกธะนูเจวะ มังกะรากุมภะมินนะภา
เอเต ทะวาทะสะ จะ ราสี อานุภาเวนะ เตนะ จะ
เตปิ ตัง อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
มา ขะโย มา ขะโย มัยหัง มา จะ โกจิ อุปัททะโว
ระตะนานิ จะ วะสันติ โชติกัสสะ ยะถา ฆะเร
มา ขะโย มา ขะโย มัยหัง มา จะ โกจิ อุปัททะโว
กาญจะนานิ จะ วัสสันตุ เมณฑะกัสสะ ยะถา ฆะเร
มา ขะโย มา ขะโย มัยหัง มา จะ โกจิ อุปัททะโว
ธะนะสารานิ ปะวัสสันตุ ธะนัญชะยัสสะ ยะถา ฆะเร
สา ขะโย มา วะโย มัยหัง มา จะ โกจิ อุปัททะโว
ธะนะสารานิ ปะวัสสันตุ อุคคะตัสสะ ยะถา หะเร
มา ขะโย มา ขะโย มัยหัง มา จะ โกจิ อุปัททะโว
กาญจะนาชัลละสังกาเส โชติกัสสะ ยะถา ฆะเร
มา ขะโย มา ขะโย มัยหัง มา จะ โกจิ อุปัททะโว
สัพพะธะนานิ ปะวัสสันตุ จิตตะกัสสะ ยะถา ฆะเร
มา ขะโย มา ขะโย มัยหัง มา จะ โกจิ อุปัททะโว
กะหาปะณานิ ปะวัสสันตุ จิตตะกัสสะ ยะถา หะเร
อักขะรัสสาริ นามะ อสิ หิมะวันเต วะสิ ตะทา
สิทธิวิชชาธะรา สัพเพ เทวานัง ปูชิตา สะทา
พุทธา ปักเจกกะพุทธา จะ อะระหันตา อินทะเทวะตา
พรหมมะอิสิมุนี เจวะ ทะวาทะสะ รักขันติ สะทา
สิทธิวิชชาธะรา สัพเพ ทะวาทะสะ รักขันติ สะทา
พุทธะสาวัง คุณัง วิชชัง พะละเตชัญจะ วิริยัง
สิทธิกัมมะธัมมะสัจจัง นิพพานนัง โมกขะขุยหะกัง
ทานัง สีลัญจะ ปัญญาจะ นิกขัมมะปุญญัง ภาคะยัง ตะปัง
ยะสัง สุขัง สิริ รูปัง จะตุวีสะติ เทสะนา
เอเต โสฬะสะ ธัมมา พุทธา เทวา สะรันติ จะ
ปัจเจกะอะระหันตา จะ อินทา เทวา สะพรัหมะกา
อิสิ มุนี จะ ราชาโน ปุริโส จะ วิชชาธะรา
สัพเพ โลกาธิปะติเทวา โสฬะสะภะวะพรหมมุนา
อะหะโย จะ สัปปา เจวะ อัสโส เมณโฑ จะ กุกกุโฎ
โคมะหิงสา ตะถา หะตา ติรัจฉานาคะกัณฐะกา
กูโป ประปาโต โสพพะโภ จะ อุภะโต ภะวะโต ปิจะ
ภัตโต วัสสะตุ ราชา จะ โจระโก อัคคะโปตะโก
สัสสะมาราจะ นาโค จะ คะรุโฬ สุวะกินนะโก
มะหะโต เทวะเทโว จะ กุเวโร มะนุสโสปิ จะ
อะมะนุสโส จะ ยักโข จะ มะหายักโข จะ รักขะโส
มะหานาโค ปิสาเจวะ มัคโค กุมภัณฑะโกปิ จะ
สิทธิวิชชาธะรา สัพเพ เสมหัง ปิตัญจะ วายุกัง
อุปะกายะนิปาตัญ จะ สัพเพ จะ ปิยะมิตตะโก
สัพเพ สัตตา จะ ยักขา จะ เมตตะจิตตา สะทา ภะเว
เอกะปัญญา จะ สัพเพเต สัพเพ รักขันตุ ตัง สะทา
อะหัง ลาภัง จะ ลาภานัง สักกาโร ปูชิโต สะทา
สัพเพ เทวา มนุสสา จะ ปิยา รักขันตุ มัง สะทา
คามัง เทสัญจะ นะคะรัง นะที ภูมิ จะ ปัพพะตัง
วะนะสะมุททะมัฎฐานัง สัพเพ รักขันตุ ตัง สะทา
สิทธิพุทธา สิทธิธัมมา สิทธิสังฆา จะ อุตตะมา
สิทธิอัฎฐาระสะ มะหาเทวา จะตุโลกะปาลา จะ เทวะตา
สิทธิปัจเจกะสัมพุทธา สิทธิสัพพัญญูสาวะกา
สิทธิราโม สิทธิเทวา สิทธิยักโข จะ รักขะโส
สิทธิวิชชาธะรา สัพเพ สิทธิอิสิ มะเหสสุรา
สิทธิปัพพะตะเทวานัง สิทธิการะณะเทวะตา
สิทธิปาสาทะเทวานัง สิทธิสะรีระตุโย
พุทธะรูปัญจะ สัพเพสัง สัพพะรูปัญจะ เทวะตา
สิทธิติณณัง จะ รุกขานัง วะสิยะ ฆะระเทวะตา
สิทธิชะละถะละตา จะ สิทธิอากาสะเทวะตา
สิทธิมันี จะ ราชาโน สิทธิปุริสะลักขะโณ
สิทธิภูมิมัฎฐะเทวะตา สิทธิกัมมะภะลัง วะรัง
สิทธิปาทา จะ สัตตา จะ สิทธิปาทา จะตุปาทะกา
พะหุปาทา จะ สัตตา จะ สิทธิปักขา จะ วายุกัง
เอเตนะ สิทธิเตเชนะ ชะยะโสตถี ภะวันตุ เต (สวดให้ตัวเองว่า เม)
เอเตนะ สิทธิเตเชนะ มะมังรักขันตุ สัพพะทา
เอเตนะ สิทธิเตเชนะ สัพพะสิทธิ ภะวันตุ เต (สวดให้ตัวเองว่า เม)
สัพพะสัตตรู วิธังเสนตุ สัพพะโสตถี ภะวันตุ เต (สวดให้ตัวเองว่า เม)
โยสังฆามัง วะ คัจฉันโต สะรันโต ทิพพะมันตะระกัง
ชะยะพะลัง สุขัง ลาภัง สัพพะสัตตรู วิธังเสนตุ
ปุตตะกามา สัพเพ ปุตตัง ธะนะกามา สัพเพ ธะนัง
อะธิการัง ละเภยยาหัง ปุริโส ปัณฑิตโตปิ จะ
ราชา อิตถี จะ เศษฐี จะ ปุริโส ปัณฑิตโตปิ จะ
สีโห พะยัคโฆ วะราโห จะ อัสสะเมณโฑ จะ สุภะโร
โคมะหิงสา ตะถา หัตถี ติรัจฉานานุกัณฐะกา
สัพเพ สัตตรู อัญญะโลหัง ตามะพะกัง สัพพะติปุกัง
อัตถิ อัเญ จะ กุรุเต จักกะรานักขาปะริสะกัง
โกชะโน ทัณฑะนาสยะ สัณหัง อัคคิ จะ วายุกัง
ขัคคะเสลัญจะมัตติกัง ยันตะระภาสานะสาตตตะระกัง
อัญเญ จะ ตุมหากัง กัตตะวา มันตะระมายา นิโยชิตัง
เอเตนะ สิทธิเตเชนะ สัพพะสิทธี ภะวันตุ เต (สวดให้ตัวเองว่า เม)
ทุกขะโรคะภะยัง เวรา โสกาสันตุ จุปัททะวา
อันตะรายานิ อะเนกานิ วินัสสันตุ จะ เตชะสา
ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง โสตถี ภาคะยัง สุขังพะลัง
สิริอายุ จะ วัณโณจะโภคังวุฑฒิ จะยะสะวาโหมิสัพพะทาสะวาหายะฯ
ที่มีขีกเส้นไต้ไว้ถ้าเป็นการสวดให้ตัวเองให้สวดว่า เม สวดให้คนอื่นให้ว่า เต
ได้แปลจากภาษาบาลีเป็นภาษาไทยโดยพระครูอมรศีลวสุทธิ์
เมตตาพรหมะวิหาระภาวะนา (เมมตาใหญ่)
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (ว่าสามครั้งก่อนสวด)
เอวะเม สุตัง เอกัง สะมะยัง ภะคะวาฯ สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ ฯอาราเมฯ ตัตตะระโข ภะคะวาฯ ภิกขู อามัเตสิฯภิกขะโวติภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุงฯ ภะคะวา เอตะทะโว จะฯ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา ฯอาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ฯ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฎฐิตายะ ฯ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะฯ เอกา ทะสา นิสังสา ปาฎิกังขาฯ กะตะเมเอกาทะสะ สุขัง สุปะติ สุขังปะฏิพุชฌะติ นะ ปาปะกัง สุปินนัง ปัสสะติ มะนุสสานังปิโย โหติ อะมะนุสสานังปิโยโหติ เทวะตารักขันติ นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วาสัตถัง วา กะมะติ ตุวะฎัง จิตตัง สะมาธิยะติ มุขะวัณโณ วิปะสีทะติ อะสัมมุฬะโห การังกะโรติ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา ฯอาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ฯ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฎฐิตายะ ฯ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะฯ เอกา ทะสา นิสังสา ปาฎิกังขา ฯ อัตถิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ อัตถิ โอธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ อัตถิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ กะติหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ กะตีหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯกะตะเมหิปัญจะหากาเรหิอะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
(๑) สัพเพ สัตตา อะเวราอัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๒) สัพเพ ปานา อะเวราอัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๓) สัพเพ ภูตา อะเวราอัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๔) สัพเพปุคคะลาอะเวราอัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๕) สัพเพอัตตะภาวะปะริยาปันนาอะเวราอัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตูติฯ
อิเมหิปัญจะหากาเรหิ อะโณธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ กะตะเมหิ สัตตะหากาเรหิ
โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
(๖) สัพพาอิตถิโยอะเวราอัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๗) สัพเพ ปุริสาอะเวราอัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๘) สัพเพ อะริยา อะเวราอัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๙) สัพเพ อะนะริยา อะเวราอัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๑๐) สัพเพ เทวา อะเวราอัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๑๑) สัพเพ มะนุสสาอะเวราอัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๑๒) สัพเพวินิปาติกาอะเวราอัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตูติฯ อิเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ กะตะเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ สัตตาอะเวราอัพพะ
ยาปัชฌา อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ สัตตาอะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ สัตตาอะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ สัตตาอะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๕) สัพเพ เหฎฐิมายะ ทิสายะ สัตตาอะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๖) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ สัตตาอะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ ปานาอะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ ปานาอะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ ปานาอะเวราอัพพะ
ยาปัชฌา อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ ปานาอะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๕) สัพเพ เหฎฐิมายะ ทิสายะ ปานาอะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๖) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปานาอะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ ภูตาอะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ ภูตาอะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ ภูตาอะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ ภูตาอะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๕) สัพเพ เหฎฐิมายะ ทิสายะ ภูตาอะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๖) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ภูตาอะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะปุคคะลาอะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะปุคคะลาอะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนุทิสายะปุคคะลาอะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนุทิสายะปุคคะลาอะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๕) สัพเพ เหฎฐิมายะ ทิสายะ ปุคคะลาอะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๖) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุคคะลาอะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะอัตตะภาวะปะริปันนาอะเว
ราอัพพะยาปัชฌา อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปัน
นาอะเวราอัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปัน
นาอะเวอัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปัน
นาอะเวราอัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๕) สัพเพ เหฎฐิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนาอะเวรา
อัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๖) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนาอะเวรา
อัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๑) สัพพา ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๒) สัพพา ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๓) สัพพา อุตตะรายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ อิตถิโยอะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๔) สัพพา ทักขิณายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ อิตถิโยอะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๕) สัพพา เหฎฐิมายะ ทิสายะ อิตถิโยอะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๖) สัพพา อุปะริมายะ ทิสายะ อิตถิโยอะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌา อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๕) สัพเพ เหฎฐิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๖) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌา อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ อะริยา
อะเวราอัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ อะริยา
อะเวราอัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๕) สัพเพ เหฎฐิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๖) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา
อะเวราอัพพะยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๕) สัพเพ เหฎฐิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๖) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๕) สัพเพ เหฎฐิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๖) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ เทวา อะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๕) สัพเพ เหฎฐิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๖) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวราอัพพะ
ยาปัชฌาอะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๕) สัพเพ เหฎฐิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตุ
(๖) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวราอัพพะยาปัชฌา
อะนีฆาสุขีอัตตานังปะริหะรันตูติ ฯ
อิเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
สัพเพสัง สัตตานังปีฬะนัง วัชเชตตะวาฯ อะปีฬะนายะ อุปะฆาตัง วัชเชตตะวาฯ อะนุปะฆาเตนะ สันตาปัง วัชเชตตะวา น อะสันตาเปนะ ปะริยาทานัง วัชเตตะวา ฯอะปะริยาทาเนนะ วิเหสัง วัชเชตตะวาฯ อะวิเหสายะ สัพเพ สัตตา อะเวริโน โหนตุฯ มาเวริโน สุขิโน โหนตุฯ มาทุกขิโน สุขิตัตตา โหนตุ ฯ มาทุดขิตัตตาติฯ อิเมหิ อัฎฐะหากาเรหิ สัพเพสัตเต ฯ เมตตายะตีติฯ เมตตาตัง ธัมมัง เจตะยะตีติฯ เจโตสัพพะยาปาทะปะริยุฎฐาเนหิฯ มุตจะตีติฯ วิมุตติ เมตตาจะ เจโตวิมุตติ ฯ จาติ เมตตาเจโตวิมุตติฯฯฯ
พระมหาทิพย์พรมนต์และเมตตาภาวนา พิมพ์จากฉบับเดิมเพียงแต่ย่นย่อจากทิสาและอนุทิสามารวมกันไว้ในข้อเดียว เพราะถ้าจะทำตามเดิมจริงๆ จะยาวมากเห็นว่ามีคำเดียวๆเหมือนๆกันอยู่ก็เลยเอามารวมกันไม่แยกเป็น ๒ หัวข้อ ถึงอย่างไรก็ตามเท่าที่สวดมาก็ได้ผลเป็นอย่างมหาศาลอยู่ เพราะถ้าไม่สวดเป็นประจำจะไม่มีอะไรมาเลย พอสวดตอนเย็นเท่านั้นแหละ ตอนเช้าก็จะมีมาให้เห็นไม่มากก็น้อย ได้ทดรองดูหลายครั้งแล้ว แม้แต่ท่านอื่นเอาไปสวดก็บอกว่าดีเป็นเสียงเดียวกัน แต่จะให้ดีมากให้สวดหลังเที่ยงคืนไป ๑๕ นาทีจะดีมากเลย ท่านใดเอาไปสวดแล้วได้ผลเป็นประการใดช่วยแจ้งให้ทราบด้วย ที่หมายเลขโทร ๐๘๗,๗๗๑,๖๓๖๔ พระครูอมรศีลวิสุทธิ์ เจ้าอาวาสวัดพระธาตุแก้งกอย บ้านโนนคูณ ตำบลโนนคูณ อำเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ ๓๖๑๘๐ ผู้พิมพ์แจกเป็นธรรมทาน
หมายเหตุ ทุกคนต้องการความสุขความสบายกันทั้งนั้นพร้อมด้วยเงินทองของใช้ แต่มักจะอยากเฉยๆและอยากได้แต่ผลไม่ทำเหตุที่จะให้มีจะให้ได้คือการสวดมนต์ก็ไม่อยากสวด แล้วมันจะได้จะดีมาอย่างไร เพราะเราไม่ทำเหตุไม่สร้างเหตุ แต่อยากได้ผลมันก็ไม่ได้ เพราะไม่ทำนาจะมีข้าวกินอย่างไรกัน?

.....................................................
ทำบุญตั้งแต่ยังมีชีวิตอยู่ ดีกว่าตายแล้วให้เขาทำบุญอุทิศหา รักษาศีลตั้งแต่ยังมีชีวิตอยู่ ดีกว่าตายแล้วให้เขาเคาะโลงลุกขึ่นมารักษาศีล เข้าวัดตั้งแต่ยังมีชีวิตอยู่ ดีกว่าตายแล้วให้เขาหามเข้าแล้วเผาเลย ฮิฮิฮิ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 ก.ค. 2009, 23:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 มิ.ย. 2008, 22:40
โพสต์: 1769

แนวปฏิบัติ: กินแล้วนอนพักผ่อนกายา
งานอดิเรก: ปลุกคน
สิ่งที่ชื่นชอบ: Tripitaka
ชื่อเล่น: สมสีสี
อายุ: 0
ที่อยู่: overseas

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
สามีของดิฉันเป้นหนี้บัตรเครดิตตั้งมากมาย
แต่สามีของดิฉันได้เสียชีวิตไปแล้ว
ดิฉันอยากทราบว่าสามีของดิฉันจะได้ชดใช้กรรมหรือผลกรรมนี้อย่างไร
และที่ไหน


1. ก่อนอื่นต้องเข้าใจว่า เราทั้งหลายต่างมี"กรรม"เป็นของตน ใครจะทำแทนกัน แบ่งกัน ทำให้กันไม่ได้ ทั้งสิ้น เพราะเหตุใด? เพราะกรรมคือเจตนาที่ตนนั่นเองตั้งไว้ หาได้เกิดร่วมแชร์กับใครๆได้ไม่ เหมือนการกินอาหาร ใครกินคนนั้นอิ่ม ไม่อาจกินแทนให้คนอื่นได้

2. ใครสร้างหนี้ เขาย่อมต้องชดใช้แน่นอน แม้ในทางโลกอาจยกเลิกหรือประนอมหนี้ให้ แต่ในทางธรรม การชดใช้ย่อมต้องเกิดมีและเป็นไปด้วยกระบวนการแห่งกรรม หาได้หายหรือลดไปตามอาการลดหย่อนด้วยเหตุผลตามวิถีโลกไม่ จึงว่า ความยุติธรรมใดๆเที่ยงตรงเท่ากรรมเป็นไม่มี..

3. อาการที่สามีต้องชดใช้กรรมอย่างไร ไม่ใช่วิสัยแห่งปุถุชนจะทราบแน่ชัด เพราะเหตุปัจจัยหลายๆอย่างรวมทั้งเจตนาหรือความคิดของสามีเมื่อยังมีชีวิตอยู่ว่าคิดจะชดใช้หรือโกง หากไม่คิดเบี้ยวแต่ก็ตายก่อนใช้คืนวิบากก็จะไม่แรงเท่าการคิดโกงที่ตั้งใจไว้ จากคำสอนในพุทธศาสนาอันเป็นความจริงสากลที่ใครๆปฏิเสธไม่ได้คือ ทำเหตุไรไว้ย่อมได้ผลตรงเช่นนั้น ก็พออนุมานเอาได้ว่า ในอัตภาพต่อไป เขาย่อมต้องเสียทรัพย์หรือต้องใช้หนี้ที่คนอื่นทิ้งไว้อย่างที่ภรรยากำลังประสบอยู่ หากเจตนามีว่าจะโกงหนี้ ในอัตภาพหน้าต่อๆไป เขาจะเข้าุึถึงความวิบัติด้วยทรัพย์ จะด้วยการถูกโกง ถูกหลอกหรือทรัพย์พินาศด้วยโจร ภัยธรรมชาติฯลฯเป็นต้น ทำมาค้าขายหรืออาชีพใดก็มีแต่ขาดทุนไม่เจริญก้าวหน้าหรือฟุบเพราะเศรษฐกิจตกต่ำ...นอกจากนี้ ยังเคยทราบมาจากเรื่องของคนที่ติดหนี้เขาตายแล้วไปเกิดเป็นวัวควายให้เขาใช้งานก็มี

อ้างคำพูด:
ดิฉันจะมีวิธีช่วยแก้กรรมนี้อย่างไรคะ


ดังกล่าวไว้ข้างต้นแล้ว การช่วยแก้กรรมให้คนอื่นไม่ใช่ฐานะที่จะเป็นได้..สิ่งที่คุณควรทำคือพยายามใช้หนี้ให้หมดสิ้น เพราะนี่คืออกุศลวิบากตรงๆของคุณเอง การบิดพลิ้วหรือไม่ชดใช้ จะเป็นความต่อเนื่องของการที่คุณจะต้องตามไปชดใช้หนี้คนอื่นๆอีกใน หลายอัตภาพต่อไป

และเร่งเจริญกุศลให้ถึงพร้อมทั้งทาน ศีลภาวนา ตามคำแนะนำของกัลยาณมิตรทั้งหลายที่แนะไว้เเล้ว

.....................................................
ศีล ๕ รักษาตนไม่ให้เกิดในอบายภูมิ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 7 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 13 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร