วันเวลาปัจจุบัน 19 ก.ค. 2025, 22:51  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 24 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ก.ค. 2016, 07:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


รูปภาพ

มีคนเขาถามในพันทิบครับว่า ....ความไม่ยินดียินร้ายเป็นอย่างไร
ผมไปเห็นเขาได้แต่ปลงแล้วพรึมพร่ำในใจว่า ทำไมหนอเหตุใดหนอ
จึงทำให้ชาวพุทธไทยถอยหลังลงคลองได้ขนาดนี้ นี่ไม่ใช่ใดอื่นมันเป็นเพราะ
มีผู้ไม่รู้แก่นแทัของพระธรรม ไม่เข้าใจพุทธบัญญัติ แต่เป็นเพราะอาศัยว่าตนมีตำแหน่ง
ในวงการสงฆ์ ก็เลยอาศัยความมีหน้ามีตานี่ ....เอาพุทธพจน์มาละเลงตามใจชอบ

นี่ถึงขนาดมีโมฆะบุรุษบางคน เอาสถานะของท่านไปข่มขู่ด่าทอคนที่ไม่เห็นด้วย
อาการแบบนี้มันบ่งบอกให้รู้ว่า กำลังยกเอาสมมติสงฆ์ขึ้นมาเป็นศาสดาโดยไม่รู้ตัว

ใครเขาแสดงความเห็นด้วยปัญญาของตนเอง ก็เที่ยวด่าเขาบ้า หาว่าด้นเดาเอาเอง
แต่ที่ถึงเวลาตัวเอง แทนที่จะอ้างอิงพระไตรปิฎกหรือจะเป็นอรรถกถาก็ได้ กลับไม่ครับ
ดันไปอ้างเอาตำราที่แต่งจากสมมติสงฆ์
แค่บอกว่า เขาแปลแบบโน้นแบบนี้ ผมก็ตลกจนหัวเราะออกมาเป็นเสียงไซเรนรถปอเต็กตึ๊งแล้ว

แม้คำที่เป็นโวหารง่ายๆยังไม่มีปัญญาเทียบเคียงพุทธพจน์ ผลของการมั่วพระพุทธพจน์
ทำให้คนรุ่นหลังมีแต่ความสับสน นี่เป็นเพราะการมั่วพระพุทธพจน์ของสมมติสงฆ์ นั้นเอง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ก.ค. 2016, 08:24 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ม.ค. 2014, 11:29
โพสต์: 64

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


การไม่ยินดียินร้าย นั้นต้องดูว่า มีเหตุจากอะไร
บุคคล ผู้ยังไม่รู้ เมื่อมีผัสสะมากระทบ ก็ไม่ยินดียินร้าย(ไม่รู้ไม่ชี้) คือยังติดอยู่กับ อวิชชา
บุคคล ผู้มีปัญญา มีสติ เมื่อมีผัสสะมากระทบ ก็ รู้อารมณ์นั้นทั้งยินดีและยินร้าย แล้วละเป็นอุเบกขา เป็นผู้มีวิชชา

การจะนำไปปรับใช้ให้เป็นคุณในชีวิต คือการเจริญสติ
จากปุถุชน เจริญสติในชีวิตประจำวัน ด้วยการมีสติอยู่กับงานที่ทำในปัจจุบัน ตามดูอารมณ์ที่เกิดขึ้นด้วยใจเป็นกลาง ให้เห็นอารมณ์ที่เกิดขึ้น แล้วละ มันด้วยตนเอง ทำบ่อยๆ เนืองๆ

==รออ่าน คุณโฮฮับแก้ค่ะ==


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ก.ค. 2016, 09:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ทำใจเป็นกลาง ไม่ยินดี ยินร้าย พูดกันบ่อย ได้ยินบ่อย ว่าต้องยังงั้นซี ยังงี้เซต ว่ากันไป :b1:

ถ้าจะให้แน่ใจตัวเองต้องประสบเหตุการณ์จริง ตย. เช่น ปะกับเสือกับจระเข้ต่อหน้าต่อตา แล้วมีใจเป็นกลางได้ ไม่ยินดี ยินร้ายได้ โอเคช๊อกโกแล๊ตเลย :b32:

ตย. สถานการณ์จริง


ดิฉันฝึกหัดนั่งสมาธิวิปัสสนาแนวทาง (เขาระบุที่ แต่ตัดออก) คือนั่งดูลมหายใจเข้าออกเฉยๆ ไม่บริกรรมและให้ดูเวทนาที่เกิดในร่างกายแล้วให้มีอุเบกขา

คอร์สแรกที่ดิฉันไปศึกษาเรียนรู้เป็นเวลา10 วัน และหลังจากนั้นดิฉันก็กลับมาปฎิบัติที่บ้าน สม่ำเสมอ วันละหลายครั้ง บางทีก็หลายชั่วโมงติดต่อกัน

ล่วงเข้ามาประมาณเดือนที่3 ดิฉันมีอาการ ร้อนที่ร่างกายทุกส่วน และเกิดอาการปวดศีรษะเหมือนมีเข็มเป็น ร้อยๆเล่มอยู่ในหัว บางที แข็ง ตึง มึน ทึบอยู่ในหัว จนยากที่จะอธิบาย จนขนาดต้องไปเอกซ์เรย์แต่ไม่มีอะไรผิดปรกติ

อาการมันลงมาที่มือข้างซ้าย และ กรามบน ขมับ 2 ข้าง เหมือนมีกระแสไฟฟ้าวิ่งอยู่ตลอดเวลาเป็นที่ทรมานมาก

ระยะ หลังมาดิฉันก็เลยนั่งบ้างไม่นั่งบ้าง เพราะปวดหัวเหลือเกิน บาง อาการไม่สามารถบอกมาเป็นตัวอักษรได้ว่ารู้สึกอย่างไร อาการเป็นตลอด เวลา 2 - 4 ชั่วโมง ทั้งหลับทั้งตื่น ไม่รู้จะทำอย่างไร ก็ไปหาหมอฝังเข็ม ฝังมา 9 ครั้ง ไม่มีทีท่าว่าจะทุเลา อาการยังมี ตลอด ดิฉันก็ได้แต่อุเบกขา ทำใจไป คิดไปต่างๆนานา เวลานั่งก็ขออุทิศให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง

ตอนนี้นับระยะเวลาเป็นมากว่า 2 ปี ได้แต่หวังว่าผู้รู้ทั้งหลายคงช่วยอนุเคราะห์คนมีกรรมคนนี้ด้วย

ขอได้โปรดเมตตาช่วยด้วยนะคะ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ก.ค. 2016, 09:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ไหนก็ไหนแล้ว เอาเสืออีกสักตัวนะ :b1: แต่ยังมีอีกเยอะ


ผมก็นั่งตามลมหายใจพุทโธไป

วันแรกๆก็ไม่เป็นอะไร พอวันที่สามนั่งไปซักพักประมาณสิบนาทีเริ่มมีอาการเหวี่ยงแบบเหวี่ยงหมุนจน เวียนหัวจึงนั่งต่อไม่ได้ลืมตาขึ้นมานั่งดูพระรูปอื่น

เป็นอย่างนี้อยู่เกือบตลอด กลับมาที่กุฏิก่อนจะจำวัดก็นั่งก็เป็นอีก

จนมาถามพระพี่เลี้ยงท่านบอกเหมือนจิตกำลังจะได้เข้าสู่ความสงบให้ผ่านจุดนี้ไปให้ได้ แต่มันก็ได้แบบแปปๆแล้วก็หมุนอีกหมุนอีก

จนลาสิกขามาก็เริ่มมาหาอ่านเองจนได้อ่านบันทึกกรรมฐานของเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช ให้พิจารณา กาย เวทนา จิต ธรรม

คราวนี้ก็ทำตามหนังสือ หายใจตอนแรกก็ยาว ก็ตามไปซักพัก เริ่มพิจารณาตามสติปัฐฐาน คราวนี้หมุนเร็วเลยหมุนแรงมากจนรู้สึกจะอาเจียนเลย

ผมก็พิจารณาว่าเป็นทุกขเวทนา ก็ดีขึ้นแปปก็หมุนอีกเรื่อยๆ จนตอนนี้ยังแก้ไม่ได้เลยครับ ไม่รู้ว่าจะทำยังไง ล่าสุดเมื่อคืนหมุนจนจะอ้วกจนถอนสมาธิออกมา ยังมีอาการเวียนหัวจะอ้วกมาอีกซักสิบห้านาทีค่อยดีขึ้น

คำถามครับ

1. ผมควรแก้ปัญหานี้ยังไงดี ฝืนนั่งไปเรื่อยๆจนหายหรือต้องกำหนดอะไรยังไง

2. จุดมุ่งหมายจริงๆ คือวิปัสสนากรรมฐานคืออะไรครับ ไม่ได้โอ้อวดว่าตัวเองเก่งนะครับ พอดีผมเรียนแพทย์เลยเข้าใจพวกสรีระร่างกายมนุษย์อยู่แล้ว เมื่อมาเรียนรู้ทางธรรมพิจารณาตามขันธ์ 5 ก็เข้าใจว่ามันไม่ได้มีตัวตนจริงๆของเรา เหมือนเท่าที่อ่านการฝึกวิปัสสนาทำให้เราเข้าใจว่าทุกอย่างมีเกิดดับของมัน เป็นธรรมดา ไม่ให้เรายึดติด แต่ถ้าผมอ่านแล้วเข้าใจแล้วจะทำไปเพื่ออะไร หรือว่าให้จิตเราแข็งแกร่ง จะได้มีสติรู้เท่าทันทุกการกระทำ

หลังสึกออกมาทุกวันนี้ เวลาจะโกรธใครก็เหมือนมีสติมาห้ามทัน แต่ก็ยังมีหลุดบ้าง ซึ่งก่อนหน้านี้จะตอบโต้แทบจะทันทีเพราะเป็นคนใจร้อน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ก.ค. 2016, 09:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับใช้พุทธพจน์ใช้อรรถกถาฎีกาอนุฎีกาแก้ซิ ห้ามใช้โวหารกับฎีกูนะ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ก.ค. 2016, 10:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Duangrat เขียน:
การไม่ยินดียินร้าย นั้นต้องดูว่า มีเหตุจากอะไร
บุคคล ผู้ยังไม่รู้ เมื่อมีผัสสะมากระทบ ก็ไม่ยินดียินร้าย(ไม่รู้ไม่ชี้) คือยังติดอยู่กับ อวิชชา
บุคคล ผู้มีปัญญา มีสติ เมื่อมีผัสสะมากระทบ ก็ รู้อารมณ์นั้นทั้งยินดีและยินร้าย แล้วละเป็นอุเบกขา เป็นผู้มีวิชชา


จะพูดแนวพุทธพจน์และพุทธบัญญัติให้ฟังก่อน
ไอ้ความยินดียินร้าย.....มันเป็นโวหารของชาวบ้านทั่วไป

ถ้าเราจะเอาโวหารนี้มาใช้กับธรรมะ มันก็ต้องเอาเปรียบเทียบกับพุทธพจน์
ต้องพิจารณาว่า ไอ้"ความยินดียินร้าย" มันเป็นสภาวธรรมใดในกายใจพุทธพจน์บัญญัติว่ากระไร

โดยแท้จริงแล้ว สภาวธรรมที่เกิดภายในกายใจ ท่านบัญญัติในความยินดีว่า....โลภะ
ส่วนความยินร้ายก็คือ.....โทสะ บุคคลจะเกิดความยินดีและยินร้ายพร้อมกันไม่ได้

หลักการวิปัสสนาก็คือ ถ้ามีอะไรมากระทบกายใจ(ทวาร)เรา เช่น....
เช่นเห็นภาพที่สวยๆงาม ได้ยินเสียงไพเราะ ได้ลิ่มรสอาหารอร่อย ได้กลิ่นหอมและได้สัมผัสที่อ่อนนุ่ม
เหล่านี้ ถ้ากล่าวในสำนวนโวหารของชาวบ้าน......ก็คือความยินดี
แต่ถ้ากล่าวในทางธรรมเราต้องกล่าวเป็นพุทธพจน์ว่า.....โลภะ

ตรงข้ามเห็นภาพที่น่ารังเกียจ ได้ยินเสียงที่อื่ออึง ได้ลิ่มรสที่ไม่อร่อย ได้กลิ่นเหม็น และสัมผัสที่แข็งกระด้าง
เหล่านี้ ถ้ากล่าวเป็นพุทธพจน์ก็คือ โทสะ


นี้คือวิปัสสนาที่เราจะต้องรู้ทัน ....รู้ทันยินดียินร้าย ก็คือรู้ทันโทสะ โลภะ หรือโมหะ
ที่ว่าต้องรู้ทัน หมายความว่า เมื่อมีเหตุปัจจัยให้มันเกิด มันก็ต้องเกิด
เมื่อเกิดแล้วเรารู้ด้วยสติปัญญา(สติปัฏฐาน)เพื่อปล่อยวาง โทสะ โลภะและโมหะนั้น

อนึ่งโทสะ โลภะและโมหะ.....ไม่ใช่กิเลสอย่างที่เราเข้าใจกัน
โทสะ โลภะ โมหะ..... มันเป็นธรรมชาติในกายใจ ที่เกิดตามเหตุจากธรรมชาตินอกกายใจ...
เกิดแล้วก็ดับไป

ตัวกิเลสแท้ๆท่านเรียกว่า สังโยชน์
สังโยชน์นี้เป็นสิ่งที่ซึบซับอยู่ในกายใจของบุคคล เรียกว่าอุปกิเลส
อุปกิเลสจะแสดงออกเมื่อมีธรรมชาติภายนอกมากระทบ (ปฏิจจฯ)


สิ่งที่คุณDuangratกล่าวคือ ปัญญาและสตินั้น กล่าวได้ถูกต้องครับ
เพียงแต่จะเสริมว่า มันเป็นกระบวนการในโพธิปักขิยธรรมที่เรียกว่า สติปัฏฐาน
ส่วนอุเบกขานั้น เป็นผลสืบเนื่องจากสติปัฏฐาน เรียกว่า โพชฌงค์ครับ

Duangrat เขียน:

การจะนำไปปรับใช้ให้เป็นคุณในชีวิต คือการเจริญสติ
จากปุถุชน เจริญสติในชีวิตประจำวัน ด้วยการมีสติอยู่กับงานที่ทำในปัจจุบัน ตามดูอารมณ์ที่เกิดขึ้นด้วยใจเป็นกลาง ให้เห็นอารมณ์ที่เกิดขึ้น แล้วละ มันด้วยตนเอง ทำบ่อยๆ เนืองๆ

==รออ่าน คุณโฮฮับแก้ค่ะ==


ถูกต้องครับปุถุชน ทำได้แค่เจริญสติ มันยังไม่สามารถใช้ปัญญาได้ นั้นก็เพราะปุถุชนยังไม่มีนั้นเอง
การเจริญสติของปุถุชนนั้น จะต้องมีสิ่งที่หมายรู้ไว้ก่อนนะครับ ไม่ใช่มาบอกว่า เจริญสติ ทั้งๆที่ไม่รู่ว่า
มันคืออะไร

อย่างเช่น ต้องรู้ล่วงหน้าว่า ความพอใจหรือไม่พอใจในสิ่งที่ได้พบเจอ มันเป็นเพียงธรรมชาติ
เมื่อเห็นแล้วหรือฟังแล้ว มันก็จะดับไป แต่ถ้าเราเก็บเอามาคิด ตัวเรานั้นแหล่ะจะไม่สบายกาย ไม่สบายใจเอง
ใหม่ๆมันก็จะเป็นแบบนี้ ต่อไปเมื่อชำนาญ มันก็เหลือแค่...รู้แล้วไม่คิด

นี่คือการหมายรู้ไว้เป็นความจำ เมื่อเกิดเหตุการณ์ใดขึ้น จะเกิดการระลึกรู้(สติ)
ในสิ่งนั้นออกมาเพื่อดับอารมณ์ที่จะขึ้นนั้นเอง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ก.ค. 2016, 10:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โฮฮับใช้พุทธพจน์ใช้อรรถกถาฎีกาอนุฎีกาแก้ซิ ห้ามใช้โวหารกับฎีกูนะ :b32:

สอนกี่ครั้งแล้วว่า จะขอความรู้จากใคร มันต้องใช้วาจาอ่อนน้อม
พูดจาแบบนี้ เหมาะที่จะไปขอส่วนบุญ ไม่ใช่มาขอความรู้

รูปภาพ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ก.ค. 2016, 14:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
รูปภาพ

มีคนเขาถามในพันทิบครับว่า ....ความไม่ยินดียินร้ายเป็นอย่างไร
ผมไปเห็นเขาได้แต่ปลงแล้วพรึมพร่ำในใจว่า ทำไมหนอเหตุใดหนอ
จึงทำให้ชาวพุทธไทยถอยหลังลงคลองได้ขนาดนี้ นี่ไม่ใช่ใดอื่นมันเป็นเพราะ
มีผู้ไม่รู้แก่นแทัของพระธรรม ไม่เข้าใจพุทธบัญญัติ แต่เป็นเพราะอาศัยว่าตนมีตำแหน่ง
ในวงการสงฆ์ ก็เลยอาศัยความมีหน้ามีตานี่ ....เอาพุทธพจน์มาละเลงตามใจชอบ

นี่ถึงขนาดมีโมฆะบุรุษบางคน เอาสถานะของท่านไปข่มขู่ด่าทอคนที่ไม่เห็นด้วย
อาการแบบนี้มันบ่งบอกให้รู้ว่า กำลังยกเอาสมมติสงฆ์ขึ้นมาเป็นศาสดาโดยไม่รู้ตัว

ใครเขาแสดงความเห็นด้วยปัญญาของตนเอง ก็เที่ยวด่าเขาบ้า หาว่าด้นเดาเอาเอง
แต่ที่ถึงเวลาตัวเอง แทนที่จะอ้างอิงพระไตรปิฎกหรือจะเป็นอรรถกถาก็ได้ กลับไม่ครับ
ดันไปอ้างเอาตำราที่แต่งจากสมมติสงฆ์
แค่บอกว่า เขาแปลแบบโน้นแบบนี้ ผมก็ตลกจนหัวเราะออกมาเป็นเสียงไซเรนรถปอเต็กตึ๊งแล้ว

แม้คำที่เป็นโวหารง่ายๆยังไม่มีปัญญาเทียบเคียงพุทธพจน์ ผลของการมั่วพระพุทธพจน์
ทำให้คนรุ่นหลังมีแต่ความสับสน นี่เป็นเพราะการมั่วพระพุทธพจน์ของสมมติสงฆ์ นั้นเอง

โฮฮับ เขียน:
รูปภาพ

มีคนเขาถามในพันทิบครับว่า ....ความไม่ยินดียินร้ายเป็นอย่างไร
ผมไปเห็นเขาได้แต่ปลงแล้วพรึมพร่ำในใจว่า ทำไมหนอเหตุใดหนอ
จึงทำให้ชาวพุทธไทยถอยหลังลงคลองได้ขนาดนี้ นี่ไม่ใช่ใดอื่นมันเป็นเพราะ
มีผู้ไม่รู้แก่นแทัของพระธรรม ไม่เข้าใจพุทธบัญญัติ แต่เป็นเพราะอาศัยว่าตนมีตำแหน่ง
ในวงการสงฆ์ ก็เลยอาศัยความมีหน้ามีตานี่ ....เอาพุทธพจน์มาละเลงตามใจชอบ

นี่ถึงขนาดมีโมฆะบุรุษบางคน เอาสถานะของท่านไปข่มขู่ด่าทอคนที่ไม่เห็นด้วย
อาการแบบนี้มันบ่งบอกให้รู้ว่า กำลังยกเอาสมมติสงฆ์ขึ้นมาเป็นศาสดาโดยไม่รู้ตัว

ใครเขาแสดงความเห็นด้วยปัญญาของตนเอง ก็เที่ยวด่าเขาบ้า หาว่าด้นเดาเอาเอง
แต่ที่ถึงเวลาตัวเอง แทนที่จะอ้างอิงพระไตรปิฎกหรือจะเป็นอรรถกถาก็ได้ กลับไม่ครับ
ดันไปอ้างเอาตำราที่แต่งจากสมมติสงฆ์
แค่บอกว่า เขาแปลแบบโน้นแบบนี้ ผมก็ตลกจนหัวเราะออกมาเป็นเสียงไซเรนรถปอเต็กตึ๊งแล้ว

แม้คำที่เป็นโวหารง่ายๆยังไม่มีปัญญาเทียบเคียงพุทธพจน์ ผลของการมั่วพระพุทธพจน์
ทำให้คนรุ่นหลังมีแต่ความสับสน นี่เป็นเพราะการมั่วพระพุทธพจน์ของสมมติสงฆ์ นั้นเอง


คืออาการที่ไม่มีปฎิกิริยาตอบสนองทั้งในด้านดีและไม่ดี

เช่น ยืนมองคนทะเลาะกัน

เขาไม่ได้เอ่ยชื่อเรา ก็ไม่รู้สึกยินดียินร้ายอะไร
แต่ตราบใดใส่ชื่อเราลงไป จะมีปฎิกิริยาขึ้นมาทันที

หรือ เราชอบทีมฟุตบอลไทย

แต่รอบชิงเป็นทีมเกาหลีเจอญี่ปุ่น เราก็รู้สึกเฉยๆไม่ยินดียินร้ายอะไร
แต่หากเป็นทีมไทยเข้าชิงเมื่อไหร่ ก็ดีใจสุดๆถ้าชนะ หรือไม่ก็เสียใจสุดๆถ้าแพ้
ประมาณนี้ครับ

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ก.ค. 2016, 14:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โฮฮับใช้พุทธพจน์ใช้อรรถกถาฎีกาอนุฎีกาแก้ซิ ห้ามใช้โวหารกับฎีกูนะ :b32:

สอนกี่ครั้งแล้วว่า จะขอความรู้จากใคร มันต้องใช้วาจาอ่อนน้อม
พูดจาแบบนี้ เหมาะที่จะไปขอส่วนบุญ ไม่ใช่มาขอความรู้






ทีนี้กราบเลย กราบ 1 กราบ 2 กราบ 3 กราบทั้งวันเอ้า ตอบหน่อยเถอะ :b8:

รูปภาพ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ก.ค. 2016, 15:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
โฮฮับ
จะพูดแนวพุทธพจน์และพุทธบัญญัติให้ฟังก่อน
ไอ้ความยินดียินร้าย.....มันเป็นโวหารของชาวบ้านทั่วไป

ถ้าเราจะเอาโวหารนี้มาใช้กับธรรมะ มันก็ต้องเอาเปรียบเทียบกับพุทธพจน์
ต้องพิจารณาว่า ไอ้"ความยินดียินร้าย" มันเป็นสภาวธรรมใดในกายใจพุทธพจน์บัญญัติว่ากระไร

โดยแท้จริงแล้ว สภาวธรรมที่เกิดภายในกายใจ ท่านบัญญัติในความยินดีว่า....โลภะ
ส่วนความยินร้ายก็คือ.....โทสะ บุคคลจะเกิดความยินดีและยินร้ายพร้อมกันไม่ได้



ท่านอาจารย์โฮฮับขอรับ :b8:

ไอ้เจ้า โลภะ โทสะ เป็นกิเลสมั้ยขอรับ เป็น ไม่เป็น ขอรับท่านอาจารย์โฮ :b8:

อ้างคำพูด:
พิจารณาว่า ไอ้"ความยินดียินร้าย" มันเป็นสภาวธรรมใดในกายใจพุทธพจน์บัญญัติ

สภาวธรรมใด ในกายใจพุทธพจน์บัญญัติ



ตั้งแต่กรัชกายศึกษาพุทธศาสนามาก็ดลแล๊ว ยังไม่เคยเห็น ไม่เคยได้ยิน ไม่เคยได้ดม ไม่เคยได้ลิ้ม ไม่เคยได้สัมผัส ไม่เคยได้ทราบเลย “สภาวธรรมในกายใจพุทธพจน์บัญญัติ” มันเป็นโวหารของท่านอาจารย์โฮหรือของใครกันขอรับ ฮงหมักๆ :b32:

ความยินดี = อิฏฐารมณ์ คือ อารมณ์ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ

ความยินร้าย = อนิฏฐารมณ์ คือ อารมณ์ที่ไม่น่าปรารถนา


การฝึกหัดปฏิบัติพัฒนาจิตเพื่อไม่ให้เกิดความยินดี ยินร้าย ต่อ อิฏฐารมณ์ – อนิฏฐารมณ์ เป็นต้นนั้น

ขณะ
ตาเห็นรูป ว่าในใจ เห็นหนอๆๆ

หูได้ยินเสียง เสียงหนอๆๆ

จมูกได้กลิ่น กลิ่นหนอๆๆ

ลิ้นลิ้มรส เปรี้ยว หวาน มัน เค็ม ว่าในใจไปตามที่เป็นที่รู้สึก เช่น เค็มหนอๆๆ เป็นตัวอย่าง

กายสัมผัส (โผฏฐัพพะ) - เย็น ร้อน แข็ง อ่อน นุ่ม นิ่ม ว่าไปตามนั้น เช่น รู้สึกร้อนๆ ร้อนหนอๆๆ เป็นตัวอย่าง

ใจคิด เรื่องอะไรยังไง ว่าไปตามนั้น คิดหนอๆๆ ฟุ้งซ่านหนอๆๆ รำคาญหนอๆ ชอบหนอๆๆ ไม่ชอบหนอๆ ยินดีหนอ ๆ

พอได้ไหมขอรับท่านอาจารย์โฮฮับที่เคารพ :b8:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ก.ค. 2016, 17:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


:b12:
กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โฮฮับใช้พุทธพจน์ใช้อรรถกถาฎีกาอนุฎีกาแก้ซิ ห้ามใช้โวหารกับฎีกูนะ :b32:

สอนกี่ครั้งแล้วว่า จะขอความรู้จากใคร มันต้องใช้วาจาอ่อนน้อม
พูดจาแบบนี้ เหมาะที่จะไปขอส่วนบุญ ไม่ใช่มาขอความรู้






ทีนี้กราบเลย กราบ 1 กราบ 2 กราบ 3 กราบทั้งวันเอ้า ตอบหน่อยเถอะ :b8:

รูปภาพ

:b32: :b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2016, 08:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:

ท่านอาจารย์โฮฮับขอรับ :b8:

ไอ้เจ้า โลภะ โทสะ เป็นกิเลสมั้ยขอรับ เป็น ไม่เป็น ขอรับท่านอาจารย์โฮ :b8: :


ไม่ใช่! โลภะ โทสะหรือแม้แต่โมหะ กิเลสคือสังโยชน์แต่ถ้าเป็นกิเลสในกายใจเราเรียก...อุปกิเลส

กรัชกาย เขียน:
ตั้งแต่กรัชกายศึกษาพุทธศาสนามาก็ดลแล๊ว ยังไม่เคยเห็น ไม่เคยได้ยิน ไม่เคยได้ดม ไม่เคยได้ลิ้ม ไม่เคยได้สัมผัส ไม่เคยได้ทราบเลย “สภาวธรรมในกายใจพุทธพจน์บัญญัติ” มันเป็นโวหารของท่านอาจารย์โฮหรือของใครกันขอรับ ฮงหมักๆ :b32:


ไอ้ที่กรัชกายเรียน เขาไม่เรียกพุทธศาสนา แต่เป็นการเรียนภาษา
ซึ่งภาษาที่ว่า จะว่าบาลีก็ไม่ใช่ เพียงครูผู้แต่งตำรา แต่งจากความเข้าใจผิดของตน(มั่ว)

ก็ด้วยเหตุนี้เวลาใครเขาเอาพุทธพจน์แท้ๆมากล่าว...กรัชกายจะงงเป็นไก่ตาแตก
ถ้ากรัชกายคิดว่าไอ้ที่กรัชกายไปท่องจำมามันถูกต้อง....มันก็ต้องรู้จักโต้แย้งด้วยลักษณะ
ที่ว่าของตนใช่ ของพี่โฮไม่ใช่อย่างไร.....ไม่ใช่มาเซ้าซี้ไล่ถามว่านั้นคืออะไรนี้คืออะไร

พอเขาอธิบายไอ้ที่ถามให้ฟัง ก็มาอีหรอบเดิมเอาภาษาตำรามาอ้างอีก....ก็เขาบอกว่า
ตำราเล่มนั้นมันมั่ว ก็ยังดันทุรังเอามั่วซ้ำหนักเข้าไปอีก

แล้วไอ้ที่ถามว่า "คหนี้มันเป็นโวหารของใคร"......มันถามด้วยความสิ้นคิด
ท่านไม่ให้ยึดมั่นในตัวบุคคล ก็ยังมาทลึ่งถามด้วยความไร้สติ



กรัชกาย เขียน:

ความยินดี = อิฏฐารมณ์ คือ อารมณ์ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ
ความยินร้าย = อนิฏฐารมณ์ คือ อารมณ์ที่ไม่น่าปรารถนา


มันจะแปลกลับไปกลับมาทำไม ยินดีกับอิฏฐารมณ์ มันก็อันเดียวกัน
ความยินร้ายกับอนิฏฐารมณ์ นี้ก็เหมือนกัน....คนไทยเขาพูด "ยินดี" คนมคธ เขาก็พูด"อิฏฐารมณ์"
คนไทยพูด"ยินร้าย" คนมคธเขาก็พูด"อนิฏฐารมณ์"
มันก็เหมือนกับที่คนไทยพูด "ยินดีต้อนรับ" ฝรั่งมันก็พูด "welcome"

มันเป็นภาษาพูดหรือโวหารที่ใช่สื่อสารกันตามปกติ......มันไม่ใช่ภาษาธรรม

พูดให้เข้าใจ....

ยินดีก็คือ..............โลภะ
นิฏฐารมณ์ก็คือ........โลภะ

ยินร้ายก็คือ..............โทสะ
อนิฏฐารมณ์ก็คือ.........โทสะ

นี่แบบนี่จึงจะเป็นภาษาธรรม

กรัชกาย เขียน:
การฝึกหัดปฏิบัติพัฒนาจิตเพื่อไม่ให้เกิดความยินดี ยินร้าย ต่อ อิฏฐารมณ์ – อนิฏฐารมณ์ เป็นต้นนั้น

ขณะ
ตาเห็นรูป ว่าในใจ เห็นหนอๆๆ

หูได้ยินเสียง เสียงหนอๆๆ

จมูกได้กลิ่น กลิ่นหนอๆๆ

ลิ้นลิ้มรส เปรี้ยว หวาน มัน เค็ม ว่าในใจไปตามที่เป็นที่รู้สึก เช่น เค็มหนอๆๆ เป็นตัวอย่าง

กายสัมผัส (โผฏฐัพพะ) - เย็น ร้อน แข็ง อ่อน นุ่ม นิ่ม ว่าไปตามนั้น เช่น รู้สึกร้อนๆ ร้อนหนอๆๆ เป็นตัวอย่าง

ใจคิด เรื่องอะไรยังไง ว่าไปตามนั้น คิดหนอๆๆ ฟุ้งซ่านหนอๆๆ รำคาญหนอๆ ชอบหนอๆๆ ไม่ชอบหนอๆ ยินดีหนอ ๆ

พอได้ไหมขอรับท่านอาจารย์โฮฮับที่เคารพ :b8:


มันเลอะเทอะ! ธรรมท่านมีไว้ให้พิจารณาหาเหตุแห่งธรรมแล้วดับมันเสีย
ผู้ปฏิบัติธรรมไม่ใช่หุ่นยนต์นะเว้ยเฮ้ย ถึงจะได้บ่นแต่เห็นหนอๆๆ ....ปัญญาอ่อนจริงๆ

การที่บุคคลเกิดเห็นภาพ ท่านให้หาที่มาของการเห็นภาพ.....ไม่ใช่พร่าว่าเห็นหนอ
พูดแค่นี้แหล่ะพูดยาวแล้วเสียของเปล่าๆ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2016, 08:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:

ท่านอาจารย์โฮฮับขอรับ :b8:

ไอ้เจ้า โลภะ โทสะ เป็นกิเลสมั้ยขอรับ เป็น ไม่เป็น ขอรับท่านอาจารย์โฮ :b8: :


ไม่ใช่! โลภะ โทสะหรือแม้แต่โมหะ กิเลสคือสังโยชน์แต่ถ้าเป็นกิเลสในกายใจเราเรียก...อุปกิเลส

กรัชกาย เขียน:
ตั้งแต่กรัชกายศึกษาพุทธศาสนามาก็ดลแล๊ว ยังไม่เคยเห็น ไม่เคยได้ยิน ไม่เคยได้ดม ไม่เคยได้ลิ้ม ไม่เคยได้สัมผัส ไม่เคยได้ทราบเลย “สภาวธรรมในกายใจพุทธพจน์บัญญัติ” มันเป็นโวหารของท่านอาจารย์โฮหรือของใครกันขอรับ ฮงหมักๆ :b32:


ไอ้ที่กรัชกายเรียน เขาไม่เรียกพุทธศาสนา แต่เป็นการเรียนภาษา
ซึ่งภาษาที่ว่า จะว่าบาลีก็ไม่ใช่ เพียงครูผู้แต่งตำรา แต่งจากความเข้าใจผิดของตน(มั่ว)

ก็ด้วยเหตุนี้เวลาใครเขาเอาพุทธพจน์แท้ๆมากล่าว...กรัชกายจะงงเป็นไก่ตาแตก
ถ้ากรัชกายคิดว่าไอ้ที่กรัชกายไปท่องจำมามันถูกต้อง....มันก็ต้องรู้จักโต้แย้งด้วยลักษณะ
ที่ว่าของตนใช่ ของพี่โฮไม่ใช่อย่างไร.....ไม่ใช่มาเซ้าซี้ไล่ถามว่านั้นคืออะไรนี้คืออะไร

พอเขาอธิบายไอ้ที่ถามให้ฟัง ก็มาอีหรอบเดิมเอาภาษาตำรามาอ้างอีก....ก็เขาบอกว่า
ตำราเล่มนั้นมันมั่ว ก็ยังดันทุรังเอามั่วซ้ำหนักเข้าไปอีก

แล้วไอ้ที่ถามว่า "คหนี้มันเป็นโวหารของใคร"......มันถามด้วยความสิ้นคิด
ท่านไม่ให้ยึดมั่นในตัวบุคคล ก็ยังมาทลึ่งถามด้วยความไร้สติ



กรัชกาย เขียน:

ความยินดี = อิฏฐารมณ์ คือ อารมณ์ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ
ความยินร้าย = อนิฏฐารมณ์ คือ อารมณ์ที่ไม่น่าปรารถนา


มันจะแปลกลับไปกลับมาทำไม ยินดีกับอิฏฐารมณ์ มันก็อันเดียวกัน
ความยินร้ายกับอนิฏฐารมณ์ นี้ก็เหมือนกัน....คนไทยเขาพูด "ยินดี" คนมคธ เขาก็พูด"อิฏฐารมณ์"
คนไทยพูด"ยินร้าย" คนมคธเขาก็พูด"อนิฏฐารมณ์"
มันก็เหมือนกับที่คนไทยพูด "ยินดีต้อนรับ" ฝรั่งมันก็พูด "welcome"

มันเป็นภาษาพูดหรือโวหารที่ใช่สื่อสารกันตามปกติ......มันไม่ใช่ภาษาธรรม

พูดให้เข้าใจ....

ยินดีก็คือ..............โลภะ
นิฏฐารมณ์ก็คือ........โลภะ

ยินร้ายก็คือ..............โทสะ
อนิฏฐารมณ์ก็คือ.........โทสะ

นี่แบบนี่จึงจะเป็นภาษาธรรม

กรัชกาย เขียน:
การฝึกหัดปฏิบัติพัฒนาจิตเพื่อไม่ให้เกิดความยินดี ยินร้าย ต่อ อิฏฐารมณ์ – อนิฏฐารมณ์ เป็นต้นนั้น

ขณะ
ตาเห็นรูป ว่าในใจ เห็นหนอๆๆ

หูได้ยินเสียง เสียงหนอๆๆ

จมูกได้กลิ่น กลิ่นหนอๆๆ

ลิ้นลิ้มรส เปรี้ยว หวาน มัน เค็ม ว่าในใจไปตามที่เป็นที่รู้สึก เช่น เค็มหนอๆๆ เป็นตัวอย่าง

กายสัมผัส (โผฏฐัพพะ) - เย็น ร้อน แข็ง อ่อน นุ่ม นิ่ม ว่าไปตามนั้น เช่น รู้สึกร้อนๆ ร้อนหนอๆๆ เป็นตัวอย่าง

ใจคิด เรื่องอะไรยังไง ว่าไปตามนั้น คิดหนอๆๆ ฟุ้งซ่านหนอๆๆ รำคาญหนอๆ ชอบหนอๆๆ ไม่ชอบหนอๆ ยินดีหนอ ๆ

พอได้ไหมขอรับท่านอาจารย์โฮฮับที่เคารพ :b8:


มันเลอะเทอะ! ธรรมท่านมีไว้ให้พิจารณาหาเหตุแห่งธรรมแล้วดับมันเสีย
ผู้ปฏิบัติธรรมไม่ใช่หุ่นยนต์นะเว้ยเฮ้ย ถึงจะได้บ่นแต่เห็นหนอๆๆ ....ปัญญาอ่อนจริงๆ

การที่บุคคลเกิดเห็นภาพ ท่านให้หาที่มาของการเห็นภาพ.....ไม่ใช่พร่าว่าเห็นหนอ
พูดแค่นี้แหล่ะพูดยาวแล้วเสียของเปล่าๆ



อ้างคำพูด:
ไม่ใช่โลภะ โทสะหรือแม้แต่โมหะ กิเลสคือสังโยชน์ แต่ถ้าเป็นกิเลสในกายใจเราเรียก..อุปกิเลส


วนเหมือนงูกินหางนะท่านศาสดาโฮ คิกๆๆ โลภะ โทสะ โมหะ ไม่ใช่กิเลส

กิเลส คือ สังโยชน์ เออ อยากให้เป็นอะไรก็เอานะ :b13:

เอานะในเมื่อสังโยชน์เป็นกิเลสแล้วก็แสดงว่าเป็นเหตุปัจจัยให้จิตเกิดนะ (จำได้นะ) ถ้ายังงั้น ก็ไม่ควรกำจัดสังโยชน์เพื่อให้จิตบริสุทธิ์ เพราะจะทำให้จิตหายไปด้วยซี่งั้น :b32:

ถามเท่านี้พอ เพราะมันจะเละไปมากกว่านี้

มีสาระนะขอรับ คุณ Duangrat :b13:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2016, 12:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:

อ้างคำพูด:
ไม่ใช่โลภะ โทสะหรือแม้แต่โมหะ กิเลสคือสังโยชน์ แต่ถ้าเป็นกิเลสในกายใจเราเรียก..อุปกิเลส


วนเหมือนงูกินหางนะท่านศาสดาโฮ คิกๆๆ โลภะ โทสะ โมหะ ไม่ใช่กิเลส

กิเลส คือ สังโยชน์ เออ อยากให้เป็นอะไรก็เอานะ :b13:

เอานะในเมื่อสังโยชน์เป็นกิเลสแล้วก็แสดงว่าเป็นเหตุปัจจัยให้จิตเกิดนะ (จำได้นะ) ถ้ายังงั้น ก็ไม่ควรกำจัดสังโยชน์เพื่อให้จิตบริสุทธิ์ เพราะจะทำให้จิตหายไปด้วยซี่งั้น :b32:

ถามเท่านี้พอ เพราะมันจะเละไปมากกว่านี้

มีสาระนะขอรับ คุณ Duangrat :b13:


เอาความเข้าคอกยังง่ายกว่าพูดธรรมให้กรัชกายฟัง

บอกว่าจิตเกิดจากกิเลส ยังจะมาเอาจิตบริสุทธิ์อีกแน่ะ

เมื่อไม่มีกิเลส มันก็ไม่มีจิต.....เมื่อไม่มีจิต ความบริสุทธิ์ก็คือกายใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2016, 14:30 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ม.ค. 2014, 11:29
โพสต์: 64

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:

ถามเท่านี้พอ เพราะมันจะเละไปมากกว่านี้

มีสาระนะขอรับ คุณ Duangrat :b13:




ช่ายค่ะ มีสาระทุกคำตอบ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 24 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร