วันเวลาปัจจุบัน 22 ก.ค. 2025, 06:28  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 3 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2016, 10:00 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ม.ค. 2015, 21:55
โพสต์: 1239

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


พระพุทธเจ้าสอนว่าฟังแล้วไม่พึงเชื่อ ไม่พึงคัดค้าน แต่ควรพิสูจน์ว่าดีมีประโยชน์ ไม่เดือดร้อน ก็พึงนำไปใช้ ถ้าไม่ดี ไม่มีประโยชน์ก็วางลงไว้ ไม่ต้องไปทะเลาะกัน คนที่ฟังแล้วคัดค้านมีถึง 95%
คนที่ฟังแล้วเชื่อมีอยู่แค่ 4% แต่ฟังแล้วพิสูจน์มีอยู่ % เดียว แล้วจะไม่วุ่นวายเดือดร้อนก็ให้รู้ไป ผู้รู้ทันเท่านั้นจึงเข้าใจสิ่งเหล่านี้ได้ จะคิดหนอๆ

จากสายสืบสั่งสอนนิสัยศาสตร์


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2016, 13:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


รูปภาพ


อย่าเลอะเทอะครับ พระพุทธเจ้าไม่ได้สอนคณิตศาสตร์


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2016, 18:23 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ม.ค. 2015, 21:55
โพสต์: 1239

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


พระพุทธเจ้าเอาเล็บตักฝุ่นที่พื้นปฐพี และถามภิกษุว่าฝุ่นที่ติดปลายเล็บกับฝุ่นที่พื้นปฐพีอันไหนมากกว่ากัน พระภิกษุก็กราบทูลว่าฝุ่นในพื้นปฐพีมีมากพระเจ้าค่ะ ฝุ่นที่ติดปลายเล็บจะทำอะไรได้ พระพุทธเจ้าก็ทรงตรัสว่าฉันใดก็ฉันนั้นแหละ คนที่รู้ไม่ทันตามความเป็นจริงต้องตกนรกและเดือดร้อนมีมากเท่ากับฝุ่นในพื้นปฐพี เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้าเรียนจบทุกศาสตร์ในโลกนี้และเหนือกว่าทุกศาสตร์ในโลกนี้ถึงขั้นว่ามีความรู้เป็นอจิณไตยเกินกว่าความคิดอันน้อยนิดจะติดตามไปถึง ไม่ควรไปวัดขีดความรู้ของพระพุทธเจ้าด้วยขีดความรู้ของตนเอง เพราะจะทำให้วิกลจริตไป
จะคิดหนอๆ

จากสายสืบสั่งสอนนิสัยศาสตร์


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 3 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร