วันเวลาปัจจุบัน 20 ก.ค. 2025, 08:14  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 132 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 4, 5, 6, 7, 8, 9  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2016, 07:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




ปฏิจจ.jpg
ปฏิจจ.jpg [ 88.51 KiB | เปิดดู 1970 ครั้ง ]
[๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า แรกตรัสรู้ ประทับอยู่ ณ ควงไม้โพธิพฤกษ์
ใกล้ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ในอุรุเวลาประเทศ. ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งด้วยบัลลังก์เดียว
เสวยวิมุตติสุข ณ ควงไม้โพธิพฤกษ์ตลอด ๗ วัน และทรงมนสิการปฏิจจสมุปบาทเป็นอนุโลม
และปฏิโลม ตลอดปฐมยามแห่งราตรี ว่าดังนี้:
ปฏิจจสมุปบาท อนุโลม
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร
เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ
เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป
เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ
เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา
เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา
เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน
เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ
เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ
เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส
เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมเกิด ด้วยประการฉะนี้.

เวทนามีอย่างเดียว ไม่ได้มี๓อย่างตามที่คุณเช่นนั้นแกเพ้อครับ :b32:
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2016, 13:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




บาลี.jpg
บาลี.jpg [ 74.69 KiB | เปิดดู 1959 ครั้ง ]
หวังว่าหลายท่านคงพอจะเข้าใจกันได้บ้างแล้วว่า ......ทำไมผมถึงได้บอกว่าสัญลักษณ์ "ฯ"
ต้องออกเสียงตามบาลีว่า "เปยฺยาล" ภาษาไทยว่า " ไปยาลน้อย"
ความหมายโดยรวมทั้งไทยและบาลีก็คือ....."ย่อ"

วิธีการอ่านหรือพิจารณา ถ้ามีสัญลักษณ์"ฯ" อยู่หลังคำใด เช่น เวทนา ฯ
ก็ให้เข้าใจว่า ท่านกำลังสื่อให้รู้ว่า ในพระธรรมบาลีวรรคนั้น มีอะไรเป็นประธาน
และเมื่อรู้แล้ว ก็ให้รู้อีกว่า มันยังมีลายละเอียดของตัวประธานอีก

ในที่นี้ท่านว่า "เวทนา ฯ" ก็ต้องรู้ลักษณะของเวทนามาก่อน จึงจะเข้าใจธรรมวรรคนี้
และลายละเอียดหรือเนื้อหาที่ถูกย่อมาก็คือ.....ปฏิจจสมุปบาท

เหตุนี้ คำว่า "เวทนา ฯ" จึงมีความหมายว่า
ย่อมาจากเนื้อหาในปฏิจจสมุปบาท


และในวรรคที่สองของบาลีก็เช่นกัน คำว่า " เวทนํ เวเทติ" เป็นประธานของวรรคนี้
ท่านบํญญัติโดย"ย่อ" คำว่า " เวทนํ เวเทติ " ยังมีลายละเอียดมากกว่าบัญญััติที่เห็น
ผู้ปฏิบัติจะรู้และเข้าใจถึงลักษณะของบัญญัติ ที่ว่า เวทนานัง( เวทนํ)และรู้ว่าอาการที่เรียกว่า "เวเทติ"
มาก่อน จึงจะรู้และเข้าใจธรรมวรรคนี้
ซึ่งโดยรวมมันก็คือ ความยึดมั่นจนเกิดเป็นเวทนาขันธ์ (เวทนานัง)
ส่วนเวเทติ ก็คือ ความคิดปรุงแต่ง อันสืบเนื่องจากเวทนานัง(ขันธ์)
ที่เรารู้สึกสุข ทุกข์ เฉยๆ ล้วนเป็น เวเทติ(ปรุงแต่ง) ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2016, 17:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
[๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า แรกตรัสรู้ ประทับอยู่ ณ ควงไม้โพธิพฤกษ์
ใกล้ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ในอุรุเวลาประเทศ. ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งด้วยบัลลังก์เดียว
เสวยวิมุตติสุข ณ ควงไม้โพธิพฤกษ์ตลอด ๗ วัน และทรงมนสิการปฏิจจสมุปบาทเป็นอนุโลม
และปฏิโลม ตลอดปฐมยามแห่งราตรี ว่าดังนี้:
ปฏิจจสมุปบาท อนุโลม
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร
เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ
เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป
เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ
เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา
เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา
เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน
เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ
เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ
เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส
เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมเกิด ด้วยประการฉะนี้.

เวทนามีอย่างเดียว ไม่ได้มี๓อย่างตามที่คุณเช่นนั้นแกเพ้อครับ :b32:

โฮฮับ .....
เมื่อจะบิดเบือนพุทธพจน์ เพื่อสนับสนุนความไม่รู้ภาษาของโฮฮับ ถึงกับแสดงว่า "เวทนามีอย่างเดียว ไม่ได้มีสามอย่าง"

เมื่อพระพุทธองค์ แสดง ผัสสะเป็นปัจจัยจึงมีเวทนา
พระพุทธองค์ ได้จำแนก ชนิดของของผัสสะตามอายตนะ ไว้ 6 ประการ
และ พระพุทธองค์ ก็ยังได้จำแนก ชนิดของ เวทนา เป็นสามประการ ซึ่งมีผัสสะเป็นเหตุเป็นปัจจัย เป็นมูล

Quote Tipitaka:
[๕] พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ปฏิจจสมุปบาท
เป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร เพราะสังขาร
เป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป เพราะนามรูป
เป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ เพราะผัสสะ
เป็นปัจจัย จึงมีเวทนา
เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา เพราะตัณหาเป็นปัจจัย
จึงมีอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ
เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชราและมรณะ โสกปริเทวทุกข์โทมนัสและอุปายาส
ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้ ฯ
[๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ชราและมรณะเป็นไฉน ความแก่ ภาวะของ
ความแก่ ฟันหลุด ผมหงอก หนังเหี่ยว ความเสื่อมแห่งอายุ ความแก่
หง่อมแห่งอินทรีย์ ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ นี้เรียกว่าชรา ก็มรณะ
เป็นไฉน ความเคลื่อน ภาวะของความเคลื่อน ความทำลาย ความอันตรธาน
มฤตยู ความตาย กาลกิริยา ความแตกแห่งขันธ์ ความทอดทิ้งซากศพ ความขาด
แห่งชีวิตินทรีย์ จากหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ นี้เรียกว่ามรณะ ชราและ
มรณะ ดังพรรณนามาฉะนี้ เรียกว่า ชราและมรณะ ฯ
..................
[๑๑] ก็เวทนาเป็นไฉน เวทนา ๖ หมวดเหล่านี้คือ จักขุสัมผัสสชา-
*เวทนา โสตสัมผัสสชาเวทนา ฆานสัมผัสสชาเวทนา ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา
กายสัมผัสสชาเวทนา มโนสัมผัสสชาเวทนา นี้เรียกว่าเวทนา ฯ

[๑๒] ก็ผัสสะเป็นไฉน ผัสสะ ๖ หมวดเหล่านี้คือ จักขุสัมผัส
โสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส กายสัมผัส มโนสัมผัส นี้เรียกว่าผัสสะ ฯ
..............
[๑๗] ก็อวิชชาเป็นไฉน ความไม่รู้ในทุกข์ ความไม่รู้ในเหตุเกิดแห่ง-
*ทุกข์ ความไม่รู้ในความดับทุกข์ ความไม่รู้ในปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับทุกข์
นี้เรียกว่าอวิชชา ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร เพราะ
สังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ... ดังพรรณนามาฉะนี้ ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์
ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้ ฯ
[๑๘] ก็เพราะอวิชชานั่นแหละดับด้วยการสำรอกโดยไม่เหลือ สังขารจึง
ดับ เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ ... ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมี
ด้วยประการอย่างนี้ ฯ
http://84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=16&A=33&Z=87&pagebreak=0


Quote Tipitaka:
[๓๘๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เวทนา ๓ นี้เกิดแต่ผัสสะ มีผัสสะเป็นมูล
มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย

เวทนา ๓ เป็นไฉน เวทนา ๓ คือ
สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา


ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะ
อาศัยผัสสะอันเป็นปัจจัยแห่งสุขเวทนา ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น ชื่อว่า
สุขเวทนา เกิดขึ้นเพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้น ย่อมดับไป
สงบไป เพราะผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแลดับไป

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทุกขเวทนาย่อมเกิดขึ้น เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา
ความเสวยอารมณ์ อันเกิดแต่ผัสสะนั้น ชื่อว่าทุกขเวทนา เกิดขึ้นเพราะอาศัยผัสสะ
อันเป็นตั้งแห่งทุกขเวทนานั้น ย่อมดับไป สงบไป เพราะผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่ง
ทุกขเวทนานั้นแลดับไป

อทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา
ความเสวยอารมณ์อันเกิดแก่ผัสสะนั้น ชื่อว่าอทุกขมสุขเวทนา
เกิดขึ้นเพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้น ย่อมดับไป สงบไป เพราะผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ฯ

[๓๙๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะไม้สองอันเสียดสีกัน เพราะการ
เสียดสีกันจึงเกิดไออุ่น จึงเกิดไฟ เพราะแยกไม้สองอันนั้นแหละออกจากกัน
ไออุ่นที่เกิดเพราะการเสียดสีนั้นย่อมดับไป สงบไป ฉันใด ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เวทนา ๓ นี้ก็ฉันนั้นเหมือนกันแล เกิดแต่ผัสสะ มีผัสสะเป็นมูล มีผัสสะเป็น
เหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาอันเกิดแต่ผัสสะ เกิดขึ้นเพราะอาศัยผัสสะที่เกิด
แต่ปัจจัยนั้น ย่อมดับเพราะผัสสะที่เกิดแต่ปัจจัยนั้นดับไป ฯ
http://84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=18&A=5763&Z=5791&pagebreak=0


หยุดแสดงความโง่ ได้แล้วโฮฮับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2016, 18:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
[๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า แรกตรัสรู้ ประทับอยู่ ณ ควงไม้โพธิพฤกษ์
ใกล้ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ในอุรุเวลาประเทศ. ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งด้วยบัลลังก์เดียว
เสวยวิมุตติสุข ณ ควงไม้โพธิพฤกษ์ตลอด ๗ วัน และทรงมนสิการปฏิจจสมุปบาทเป็นอนุโลม
และปฏิโลม ตลอดปฐมยามแห่งราตรี ว่าดังนี้:
ปฏิจจสมุปบาท อนุโลม
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร
เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ
เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป
เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ
เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา
เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา
เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน
เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ
เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ
เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส
เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมเกิด ด้วยประการฉะนี้.

เวทนามีอย่างเดียว ไม่ได้มี๓อย่างตามที่คุณเช่นนั้นแกเพ้อครับ :b32:

โฮฮับ .....
เมื่อจะบิดเบือนพุทธพจน์ เพื่อสนับสนุนความไม่รู้ภาษาของโฮฮับ ถึงกับแสดงว่า "เวทนามีอย่างเดียว ไม่ได้มีสามอย่าง"

เมื่อพระพุทธองค์ แสดง ผัสสะเป็นปัจจัยจึงมีเวทนา
พระพุทธองค์ ได้จำแนก ชนิดของของผัสสะตามอายตนะ ไว้ 6 ประการ
และ พระพุทธองค์ ก็ยังได้จำแนก ชนิดของ เวทนา เป็นสามประการ ซึ่งมีผัสสะเป็นเหตุเป็นปัจจัย เป็นมูล


รูปภาพ


เวทนาเป็นอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าเวทนานี้จักได้เป็นอัตตาแล้ว เวทนานี้ไม่พึง
เป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในเวทนาว่า เวทนาของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด เวทนาของ
เราจงอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะเวทนาเป็นอนัตตา ฉะนั้น เวทนาจึง
เป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลย่อมไม่ได้ในเวทนาว่า เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนั้นเถิด เวทนา
ของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย.

http://www.84000.org/tipitaka/pitaka1/v ... =479&Z=575

ความหมายของอนัตตา คือไม่ใช่ตัวตน เกิดขึ้นแล้วก็ดับไป
เวทนาเป็นอนัตตา มันไม่ใช่ตัวตน ......แต่ดันมีชาวพุทธจากโลกไหนไม่รู้มาบอกว่า เวทนามี๓อย่าง
:b32:

ถามต่อ.....

รูปภาพ

ภ. เวทนาเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่ง
นั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?
ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.

http://www.84000.org/tipitaka/pitaka1/v ... =479&Z=575

เวทนาไม่เที่ยง แต่มีมนุษย์วิปริตชอบคลุกคลีทุกข์ ก็เลยฟุ้งซ่านปรุงแต่ง
บอกว่า....เวทนามี๓อย่าง
:b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2016, 18:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ .....
เมื่อจะบิดเบือนพุทธพจน์ เพื่อสนับสนุนความไม่รู้ภาษาของโฮฮับ ถึงกับแสดงว่า "เวทนามีอย่างเดียว ไม่ได้มีสามอย่าง"


ไอ้ที่คุณอ้างนะมันใช่พุทธองค์ที่ไหนกัน คุณอ้างจากพระสูตรแปล
ซึ่งผู้แปลเป็นใครก็ไม่รู้อาศัยว่า เป็นพระสงฆ์ในนิกายเถรวาท บวชมานาน
มีดีกรีและพัดยศ.....ซึ่งล้วนเป็นเรื่องทางโลกทั้งนั้น

มีเยียงอย่างที่ไหน สถาพธรรมที่แท้จริงมันเป็นอนัตตา ดันแปลมาได้ว่า ธรรมมีสามอย่าง
แค่นี้ก็รู้แล้ว ว่าไตรลักษณ์ยังไม่เกิดเลย ดันอวดเก่งมาแปลบาลี

เช่นนั้น เขียน:
เมื่อพระพุทธองค์ แสดง ผัสสะเป็นปัจจัยจึงมีเวทนา
พระพุทธองค์ ได้จำแนก ชนิดของของผัสสะตามอายตนะ ไว้ 6 ประการ
และ พระพุทธองค์ ก็ยังได้จำแนก ชนิดของ เวทนา เป็นสามประการ ซึ่งมีผัสสะเป็นเหตุเป็นปัจจัย เป็นมูล

อย่าซี้ซั่วอ้างพุทธองค์ดีกว่า อ้างไปเรื่อยอ้างสะเป่ะสปะ!!
พระพุทะองค์ทรงตรัสว่า...สัพเพสังขารา อนิจจัง สัพเพสังขารา ทุกขัง สัพเพธรรมา อนัตตา
แต่คุณดันอ้างว่า ผัสสะมี๖ เวทนามี๓ มันจะเป็นไปได้ไง ในเมื่อ ผัสสะและเวทนามันเป็นอนัตตา

มันเป็นเพราะคุณไม่รู้เรื่องไม่มีไตรลักษณ์ ก็เลยหยิบบัญญัติมามั่ว
อ่านบัญญัติไม่แตก ท่องเป็นนกแก้ว นกขุนทอง

จะสอนให้เอาไปสำเหนียกด้วยนะครับ

ผัสสะและเวทนามันเป็น ปฏิจจสมุปบาท อิทัปปจยตา มันเป็นกฎของธรรมชาติ
ทั้งผัสสะและเวทนาเมื่อมันมากระทบกายใจ(ทวารทั้ง๖) เมื่อกระทบแล้วมันก็ดับไป(ทันที)
นั้นเป็นเพราะมันเป็นอนัตตา ที่คุณมั่วบอกว่า จำแนกผัสสะไว้๖ประการ
ไอ้หกประการที่ว่า ไม่ใช่ผัสสะ แต่มันเป็นทวารทั้งหก
ผัสสะจะเกิดพร้อมกันไม่ได้ จะต้องเกิดครั้งละทวาร หรือเกิดที่ทวารเดียวแต่ผัสสะเกิดดับหลายครั้ง
ก็ในเมื่อมันเกิดดับที่ละทวารหรือที่ละครั้ง......มามั่วบอกว่า ผัสสะหกได้ไง

เวทนาก็เช่นกัน เเป็นลักษณะการเกิดแบบเดียวกับผัสสะ
แต่ดันมีพระสงฆ์ที่ไม่รู้ไตรลักษณ์มาแปลว่า เวทนามี๓ แถมมีนกแก้วนกขุนทองคอยส่งเสียงเจี๊ยวจ๊าวเชียร์ :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2016, 18:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
[๑๑] ก็เวทนาเป็นไฉน เวทนา ๖ หมวดเหล่านี้คือ จักขุสัมผัสสชา-
*เวทนา โสตสัมผัสสชาเวทนา ฆานสัมผัสสชาเวทนา ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา
กายสัมผัสสชาเวทนา มโนสัมผัสสชาเวทนา นี้เรียกว่าเวทนา ฯ

[๑๒] ก็ผัสสะเป็นไฉน ผัสสะ ๖ หมวดเหล่านี้คือ จักขุสัมผัส
โสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส กายสัมผัส มโนสัมผัส นี้เรียกว่าผัสสะ ฯ
..............
[๑๗] ก็อวิชชาเป็นไฉน ความไม่รู้ในทุกข์ ความไม่รู้ในเหตุเกิดแห่ง-
*ทุกข์ ความไม่รู้ในความดับทุกข์ ความไม่รู้ในปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับทุกข์
นี้เรียกว่าอวิชชา ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร เพราะ
สังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ... ดังพรรณนามาฉะนี้ ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์
ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้ ฯ
[๑๘] ก็เพราะอวิชชานั่นแหละดับด้วยการสำรอกโดยไม่เหลือ สังขารจึง
ดับ เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ ... ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมี
ด้วยประการอย่างนี้ ฯ
http://84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=16&A=33&Z=87&pagebreak=0[/quote-tipitaka]



เวทนา๖หมวด หมายถึงเวทนาเกิดได้ที่ไหนบ้าง ไอ้คำว่า"๖" หมายถึงทวารทั้ง๖
มันไม่ได้หมายถึงเวทนา๖หรือผัสสะ๖ ...ผัสสะมันเกิดดับที่ละครั้ง แล้วมันจะมี๖ผัสสะได้ไง
อีกทั้งผัสสะมันไม่เที่ยง(อนิจจัง) มันเกิดแล้วต้องดับ มันจะคงทนอยู่จนเป็นสองหรือหกไม่ได้


ผัสสะและเวทนาเกิดดับได้ที่ละทวารหรือแต่ละทวารเกิดดับได้หลายครั้ง...แต่ต้องเกิดและดับทันที
ผัสสะเป็นปัจจัยให้เกิดเวทนา หมายถึง ผัสสะเป็นปัจจัยให้เกิดสัมผัสที่ทวาร
เมื่อสัมผัสเกิด ผัสสะก็จะดับไปพร้อมๆกัน
และในสัมผัสผัสนั้นจะมีองค์ธรรมที่เรียกว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน...ประกอบกันอยู่
เรียกว่า สังขตธรรม

ในประเด็นที่เราถกกันอยู่ พระพุทธองค์ท่านแยกเอาเวทนาออกมาอธิบายต่างหาก
แต่ในความเป็นจริงนั้น เวทนาเกิดพร้อม รูป สัญญา สังขาร วิญญาน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2016, 18:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
เวทนา ๓ เป็นไฉน เวทนา ๓ คือ
สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา


ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะ
อาศัยผัสสะอันเป็นปัจจัยแห่งสุขเวทนา ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น ชื่อว่า
สุขเวทนา เกิดขึ้นเพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้น ย่อมดับไป
สงบไป เพราะผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแลดับไป

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทุกขเวทนาย่อมเกิดขึ้น เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา
ความเสวยอารมณ์ อันเกิดแต่ผัสสะนั้น ชื่อว่าทุกขเวทนา เกิดขึ้นเพราะอาศัยผัสสะ
อันเป็นตั้งแห่งทุกขเวทนานั้น ย่อมดับไป สงบไป เพราะผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่ง
ทุกขเวทนานั้นแลดับไป

อทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา
ความเสวยอารมณ์อันเกิดแก่ผัสสะนั้น ชื่อว่าอทุกขมสุขเวทนา
เกิดขึ้นเพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้น ย่อมดับไป สงบไป เพราะผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ฯ


สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา......สามตัวนี้ไม่ใช่เวทนา
ในบาลีเรียกทั้งสามนี้ว่า......เวทนานัง(
ซึ่งความหมายของเวทนานัง หมายถึง อัตตาที่เกิดจากความยึดมั่นในธรรมที่เป็นอนัตตา
นั้นก็คือ เวทนานั้นเอง ในเหตุนี้หมายความถึง เวทนานั้นได้ดับไปแล้ว เกิดเวทนานังมาแทนที่

ส่วนธรรมอนัตตาและเกิดดับนั้น บาลีท่านเรียก....เวทนา

เวทนากับเวทนานัง มันเป็นคนละเรื่องครับ อย่ามั่ว :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2016, 19:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


[๒๗๓] อัคคิเวสสนะ เวทนาสามอย่างนี้ คือ สุขเวทนา ๑ ทุกขเวทนา ๑ อทุกขม
สุขเวทนา ๑. อัคคิเวสสนะ สมัยใดได้เสวยสุขเวทนา ในสมัยนั้นไม่ได้เสวยทุกขเวทนา ไม่
ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา ได้เสวยแต่สุขเวทนาเท่านั้น. ในสมัยใดได้เสวยทุกขเวทนา ใน
สมัยนั้นไม่ได้เสวยสุขเวทนา ไม่ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา ได้เสวยแต่ทุกขเวทนาเท่านั้น. ใน
สมัยใดได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา ในสมัยนั้นไม่ได้เสวยสุขเวทนา ไม่ได้เสวยทุกขเวทนา ได้
เสวยแต่อทุกขมสุขเวทนาเท่านั้น. อัคคิเวสสนะ สุขเวทนาไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งขึ้น
อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น มีความสิ้นไป เสื่อมไป คลายไป ดับไปเป็นธรรมดา. แม้ทุกขเวทนาก็
ไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งขึ้น อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น มีความสิ้นไป เสื่อมไป คลายไป ดับไป
เป็นธรรมดา. แม้อทุกขมสุขเวทนาก็ไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งขึ้น อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น มีความ
สิ้นไป เสื่อมไป คลายไป ดับไปเป็นธรรมดา.
อัคคิเวสสนะ อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เมื่อ
เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมหน่ายทั้งในสุขเวทนา ทั้งในทุกขเวทนา ทั้งในอทุกขมสุขเวทนา เมื่อหน่าย
ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด ย่อมหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้น
แล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็น
อย่างนี้มิได้มี. อัคคิเวสสนะ ภิกษุผู้มีจิตหลุดพ้นแล้วอย่างนี้แล ย่อมไม่วิวาทแก่งแย่งกับใครๆ
โวหารใดที่ชาวโลกพูดกัน ก็พูดไปตามโวหารนั้น แต่ไม่ยึดมั่นด้วยทิฏฐิ.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... agebreak=0

สุขเวทนา ๑ ทุกขเวทนา ๑ อทุกขมสุขเวทนา ๑. เกิดจากปัจจััยปรุงแต่งขึ้นมา
ท่านเรียกว่า.....เวทนานัง ไม่ใช่เวทนา :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มิ.ย. 2016, 19:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะ
อาศัยผัสสะอันเป็นปัจจัยแห่งสุขเวทนา ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น ชื่อว่า
สุขเวทนา เกิดขึ้นเพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้น ย่อมดับไป
สงบไป เพราะผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแลดับไป

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทุกขเวทนาย่อมเกิดขึ้น เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา
ความเสวยอารมณ์ อันเกิดแต่ผัสสะนั้น ชื่อว่าทุกขเวทนา เกิดขึ้นเพราะอาศัยผัสสะ
อันเป็นตั้งแห่งทุกขเวทนานั้น ย่อมดับไป สงบไป เพราะผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่ง
ทุกขเวทนานั้นแลดับไป

อทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา
ความเสวยอารมณ์อันเกิดแก่ผัสสะนั้น ชื่อว่าอทุกขมสุขเวทนา
เกิดขึ้นเพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้น ย่อมดับไป สงบไป เพราะผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ฯ


http://84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=18&A=5763&Z=5791&pagebreak=0[/quote-tipitaka]

หยุดแสดงความโง่ ได้แล้วโฮฮับ


ไม่รู้ใครมันโง่กันแน่ ดูแล้วไม่ต่างจากนกแก้ว นกขุนทอง!!

ธรรมมันมีทั้งที่เกิดตามเหตุปัจจัยตามธรรมชาติ กับธรรมที่เกิดจากการปรุงแต่งของกายใจ
ในที่นี้ท่านกล่าวถึง ธรรมที่เกิดจากการปรุงแต่งของกายใจ

ผัสสะเป็นปัจจัยได้ทั้งธรรมที่ปรุงแต่งและธรรมที่ไม่ปรุงแต่ง
ผัสสะเป็นเหตุปัจจัยที่ไม่ปรุงแต่ง(เกิดจากธรรมชาติ) นั้นก็คือ....เวทนา
และผัสสะยังเป็นเหตุปัจจัยของธรรมที่ปรุงแต่ง (กายใจ) นั้นก็คือ....เวทนานัง หรือสุขเวทนา๑
ทุกขเวทนา๑ อทุกขมสุขเวทนา๑


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 มิ.ย. 2016, 05:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
แต่ดันมีชาวพุทธจากโลกไหนไม่รู้มาบอกว่า เวทนามี๓อย่าง


Quote Tipitaka:
[๓๘๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เวทนา ๓ นี้เกิดแต่ผัสสะ มีผัสสะเป็นมูล
มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย
เวทนา ๓ เป็นไฉน เวทนา ๓ คือ
สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ......

http://84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=18&A=5763&Z=5791&pagebreak=0


ไปไม่เป็น ก็เงียบๆ ไป ไม่มีใครบอกว่าโฮฮับ ไม่รู้ภาษา โง่ นะ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 มิ.ย. 2016, 08:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
แต่ดันมีชาวพุทธจากโลกไหนไม่รู้มาบอกว่า เวทนามี๓อย่าง


Quote Tipitaka:
[๓๘๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เวทนา ๓ นี้เกิดแต่ผัสสะ มีผัสสะเป็นมูล
มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย
เวทนา ๓ เป็นไฉน เวทนา ๓ คือ
สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ......

http://84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=18&A=5763&Z=5791&pagebreak=0


ไปไม่เป็น ก็เงียบๆ ไป ไม่มีใครบอกว่าโฮฮับ ไม่รู้ภาษา โง่ นะ


พูดไม่รู้ฟัง!!! :b32: ประเด็นมันอยู่ที่อีกฝ่ายเขาแย้งว่า....พระสูตรแปล
ผู้แปลท่านแปลมั่ว เป็นเพราะผู้แปลไม่รู้หลักแห่งไตรลักษณ์ ผลก็เลยเละตุ้มเป่ะ

ผมจะแนะนำให้ว่า จะโต้แย้งในประเด็นนี้ ไม่ใช่เอาสิ่งที่เป็นปัญหามาอ้าง
ก็มันเป็นปัญหาอยู่ ยังมั่วเอาสิ่งเป็เป็นปัญหามาอ้าง.....ไม่ได้รู้เรื่องรู้ราวอะไรเล้ย!

ผมว่าพระสูตรแปลมันแปลผิด ฉะนั้นคุณต้องเอาบาลีมาอ้าง
แล้วก็อธิบายตามความคิดเห็นของคุณ แบบนี้มันถึงจะถูก

ตลกจริงๆ อัยการบอกว่าโจรโขมยของ แต่ทนายดันแก้ต่างว่า โจรบอกว่าไม่ได้โขมย
ทนายมันต้องหาพยานคนอื่นมาอ้าง ไม่ใช่เอาโจรมาอ้าง เลอะเทอะ!


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 มิ.ย. 2016, 08:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
แต่ดันมีชาวพุทธจากโลกไหนไม่รู้มาบอกว่า เวทนามี๓อย่าง


Quote Tipitaka:
[๓๘๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เวทนา ๓ นี้เกิดแต่ผัสสะ มีผัสสะเป็นมูล
มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย
เวทนา ๓ เป็นไฉน เวทนา ๓ คือ
สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ......

http://84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=18&A=5763&Z=5791&pagebreak=0


ไปไม่เป็น ก็เงียบๆ ไป ไม่มีใครบอกว่าโฮฮับ ไม่รู้ภาษา โง่ นะ


พูดไม่รู้ฟัง!!! :b32: ประเด็นมันอยู่ที่อีกฝ่ายเขาแย้งว่า....พระสูตรแปล
ผู้แปลท่านแปลมั่ว เป็นเพราะผู้แปลไม่รู้หลักแห่งไตรลักษณ์ ผลก็เลยเละตุ้มเป่ะ


ผมจะแนะนำให้ว่า จะโต้แย้งในประเด็นนี้ ไม่ใช่เอาสิ่งที่เป็นปัญหามาอ้าง
ก็มันเป็นปัญหาอยู่ ยังมั่วเอาสิ่งเป็เป็นปัญหามาอ้าง.....ไม่ได้รู้เรื่องรู้ราวอะไรเล้ย!

ผมว่าพระสูตรแปลมันแปลผิด ฉะนั้นคุณต้องเอาบาลีมาอ้าง
แล้วก็อธิบายตามความคิดเห็นของคุณ แบบนี้มันถึงจะถูก

ตลกจริงๆ อัยการบอกว่าโจรโขมยของ แต่ทนายดันแก้ต่างว่า โจรบอกว่าไม่ได้โขมย
ทนายมันต้องหาพยานคนอื่นมาอ้าง ไม่ใช่เอาโจรมาอ้าง เลอะเทอะ!



โฮฮับ ผู้ที่แปลบาลีได้ชำระพระไตรปิฎกได้ ระดับปรมาจารย์ทางทางภาษานะ ต่ำกว่า ป.ธ. 9 ไม่มีสิทธิ์แปลหรอก คิกๆๆ

พูดเหมือนตัวเองรู้ภาษามคธ :b32: พูดเอาแต่ได้ใส่ร้ายนักปราชญ์ราชบัณฑิต คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 มิ.ย. 2016, 08:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
Quote Tipitaka:
[๓๘๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เวทนา ๓ นี้เกิดแต่ผัสสะ มีผัสสะเป็นมูล
มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย
เวทนา ๓ เป็นไฉน เวทนา ๓ คือ
สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ......

http://84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=18&A=5763&Z=5791&pagebreak=0


ไปไม่เป็น ก็เงียบๆ ไป ไม่มีใครบอกว่าโฮฮับ ไม่รู้ภาษา โง่ นะ


ก่อนอื่นต้องขอบอกให้คุณเช่นนั้นฉลาดขึ้นหน่อย ไอ้พระสูตรที่คุณเอามาอ้าง
ท่านเรียกว่า..."ผัสสมูลกสูตร" โดยนัยแห่งบัญญัติมีความหมายว่า....ธรรมอันมีผัสสะเป็นมูลเหตุ
ท่านไม่ได้หมายความว่า เวทนาสามอย่างตามที่คุณเช่นนั้นมั่ว


รูปภาพ

ติสฺโส อิมา ภิกฺขเว......ภิกษุธรรมทั้ง๓ประการนั้น ดังต่อไปนี้
เวทนา ผสฺสชา ผสฺสมูลกา ผสฺสนิทานา ผสฺสปจฺจยา ฯ .... อาการ๓ประการนี้ คือ
เวทนา ผสฺสชาผสฺสมูลกาผสฺสนิทานา๑ ...มีผสฺสปจฺจยา เป็นเหตุเป็นปัจจัย


ในบาลีวรรคนี้ ท่านเน้นเรื่อง....ผสฺสปจฺจยา ฯ
เราต้องรู้และเข้าใจ "ผสฺสปจฺจยา"เสียก่อนจึงจะเข้าใจผัสสมูลกสูตรบทนี้


ปล. ดูก็รู้ว่าคุณเช่นนั้นแกไม่รู้เรื่อง มั่วท่องเป็นนกแก้วนกขุนทอง :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 มิ.ย. 2016, 16:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:

ก่อนอื่นต้องขอบอกให้คุณเช่นนั้นฉลาดขึ้นหน่อย ไอ้พระสูตรที่คุณเอามาอ้าง
ท่านเรียกว่า..."ผัสสมูลกสูตร" โดยนัยแห่งบัญญัติมีความหมายว่า....ธรรมอันมีผัสสะเป็นมูลเหตุ
ท่านไม่ได้หมายความว่า เวทนาสามอย่างตามที่คุณเช่นนั้นมั่ว


รูปภาพ

ติสฺโส อิมา ภิกฺขเว......ภิกษุธรรมทั้ง๓ประการนั้น ดังต่อไปนี้
เวทนา ผสฺสชา ผสฺสมูลกา ผสฺสนิทานา ผสฺสปจฺจยา ฯ .... อาการ๓ประการนี้ คือ
เวทนา ผสฺสชาผสฺสมูลกาผสฺสนิทานา๑ ...มีผสฺสปจฺจยา เป็นเหตุเป็นปัจจัย


ในบาลีวรรคนี้ ท่านเน้นเรื่อง....ผสฺสปจฺจยา ฯ
เราต้องรู้และเข้าใจ "ผสฺสปจฺจยา"เสียก่อนจึงจะเข้าใจผัสสมูลกสูตรบทนี้


ปล. ดูก็รู้ว่าคุณเช่นนั้นแกไม่รู้เรื่อง มั่วท่องเป็นนกแก้วนกขุนทอง :b32:

โฮฮับ ไม่รู้ภาษา ก็คือไม่รู้ภาษา

Quote Tipitaka:
ติสฺโส อิมา ภิกฺขเว เวทนา
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เวทนา ๓ นี้
ผสฺสชา
เกิดแต่ผัสสะ
ผสฺสมูลกา
มีผัสสะเป็นมูล
ผสฺสนิทานา
มีผัสสะเป็นเหตุ
ผสฺสปจฺจยา ฯ
มีผัสสะเป็นปัจจัย
กตมา ติสฺโส ฯ
เวทนา ๓ เป็นไฉน
สุขา เวทนา ทุกฺขา เวทนา อทุกฺขมสุขา เวทนา ฯ
เวทนา ๓ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา


ประโยคนี้อ่านยังไง โฮฮับ :b17: :b17: :b17:
"ยานี้ดีกินแล้วแข็งแรงไม่มีโรคภัยเบียดเบียน"

โฮฮับ .... จะยืนกระต่ายสามขา ไปถึงไหน :b32: :b32: :b32:
อ้างคำพูด:
กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว เด็กวัดต้องการจะเอาใจหลวงพ่อ จึงจะทำกระต่ายย่างไปถวายพระหลวงพ่อ จึงไปจับกระต่ายมาย่าง
แต่กลิ่นของกระต่ายย่างนั้นหอม ยั่วยวนยิ่งนัก เด็กวัดจึงอดใจไม่ไหว จึงฉีกขากระต่ายย่างออกมากินไปหนึ่งข้าง
เมื่อนำกระต่ายไปถวายหลวงพ่อ หลวงพ่อเห็นกระต่ายเหลือเพียงสามขา จึงถามไปว่าใครแอบกินกระต่ายย่าง
เด็กวัดตอบว่ากระต่ายตัวนี้มีสามขาตั้งแต่แรกแล้ว ถึงหลวงพ่อจะซัำกถามเพียงใด เด็กวัดก็ยืนยันว่ากระต่ายตัวนี้มีสามขา ไม่ได้แอบกินกระต่ายจริงๆ
ทั้งหลายทั้งปวงนี้จึงเป็นที่มของ สำนวน ยืนกระต่ายสามขา

สำนวน ยืนกระต่ายสามขา มีความหมายว่า เป็นการยืนยันเหตุผลอย่างข้างคูๆ ในสิ่งที่รู้กันอยู่ว่าเป็นไปไม่ได้

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 มิ.ย. 2016, 17:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


รูปภาพ

กตมา ติสฺโส .....สิ่งใดเป็นอาการ๓ประการ
"" (ละไว้ฐานที่เข้าใจ) นั้นก็คือ เวทนา ผสฺสชา๑ ผสฺสมูลกา๑ ผสฺสนิทานา ๑

สุขา เวทนา..... ความสำราญใจ อันมีเวทนาและผัสสะเป็นที่เกิด
ทุกขา เวทนา.....ความไม่สบายใจ อันมีเวทนาและผัสสะเป็นที่เกิด
อทุกขมสุขเวทนา ...ความเมินเฉย อันมีเวทนาและผัสสะเป็นที่เกิด

นี้คือลักษณะประการที่ ๑

สุขา เวทนา.....ความสำราญใจ อันมีผัสสะเป็นที่ตั้ง ที่อาศัย
ทุกขา เวทนา...ความไม่สบายใจ อันมีผัสสะเป็นที่ตั้ง ที่อาศัย
อทุกขมสุขเวทนา...ความเมินเฉย อันมีผัสสะเป็นที่ตั้ง ที่อาศัย

นี่คือลักษณะประการที่ ๒

สุขา เวทนา........ความสำราญใจ อันมีผัสสะเป็นต้นเหตุ
ทุกขา เวทนา......ความไม่สบายใจ อันมีผัสสะเป็นต้นเหตุ
อทุกขมสุขเวทนา...ความเมินเฉย อันมีผัสสะเป็นต้นเหตุ

นี่คือลักษณะประการที่ ๓

สรุปคำว่า ติสฺโส อิมา ภิกฺขเว ก็คือ....เวทนา ผสฺสชา๑
ผสฺสมูลกา๑ ผสฺสนิทานา๑


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 132 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 4, 5, 6, 7, 8, 9  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร